Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรในป่าอีสาน

สมุนไพรในป่าอีสาน

Description: พืชสมุนไพร

Search

Read the Text Version

หนอนตายหยาก ช่ือพชื หนอนตายหยาก ช่ืออืน่ - ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Stemona tuberosa Lour. ชอ่ื วงศ์ Stemonaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้เถาเล้ือยลม้ ลุกเลือ้ ยพันต้นไม้อน่ื อายุหลายปี ลำ�ต้นใตด้ นิ มรี ากออก เปน็ พวงหลายสบิ ราก ลักษณะเป็นรูปกระสวย ยาวได้ถงึ 10-30 เซนติเมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับกัน ใบคล้ายรูปหัวใจ กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 6-10 เซนตเิ มตร แผ่นใบมันเปน็ คลื่นตามยาวของเสน้ ใบ ดอก เป็นดอกเดีย่ ว ออกท่ีซอกใบ กลีบดอก 4 กลีบ กลีบดอกด้านนอกสเี ขยี วอมเหลอื ง ดา้ นในสแี ดง ปลายโค้งออก ดา้ นนอก เกสรเพศผ้มู ี 4 อัน อบั เรณูสแี ดง เกสรเพศเมียมีรงั ไขเ่ หนอื วงกลีบผล เป็นผลแห้งแตกได้ ฝักเล็ก รูปรี ปลายแหลม กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ลำ�ตน้ บนดินจะโทรมชว่ งฤดูแล้ง พอฤดฝู นจะงอกใหม่ พร้อมทั้งออกดอก พบข้ึนใต้ร่มเงาในปา่ เบญจพรรณ และป่าดบิ แล้งทั่วไป สรรพคณุ สมนุ ไพรพน้ื บ้านอสี าน ใชร้ าก ตม้ น้ำ�ดื่ม ถ่ายพยาธติ วั จีด๊ นำ�รากผสม กับหญ้าหวายนาและชะอม ต้มนำ้ �ดื่ม ถา่ ยพยาธิตวั จี๊ด คั้นนำ้ �พอก แกห้ ดิ เหา ตำ�รายาไทย ใช้ราก รสเมาเบอ่ื ปรงุ ยารบั ประทาน แก้โรคผิวหนงั ผืน่ คนั นำ้ �เหลืองเสยี แกไ้ อและขับเสมหะ รมหวั ริดสดี วงให้ฝอ่ แห้งไป พอกทา แกโ้ รคผวิ หนงั ฆา่ หดิ เหา ฆา่ เชอื้ พยาธภิ ายใน แกม้ ะเรง็ ตบั ตำ�ผสมน้ำ�ฆา่ แมลง ตำ�ละเอยี ดแชน่ ้ำ�มนั มะพรา้ วใช้ฉดี ฆ่าแมลง หนอนศตั รูพืช ทบุ ละเอยี ดแชน่ ำ้ � ฟอกลา้ งผม ฆ่าเหา พอกแผลต่าง ๆ ฆ่าหนอน รากสดทุบใส่ปากไหปลารา้ ฆ่าหนอน และใช้ทำ�ลายหิดได้ นำ�รากมาโขลกบบี เอานำ้ �หยอดแผลวัวควายซ่ึง มีหนอนไช หนอนจะตายหมด ตำ�ใส่น้ำ�ข้าวทาแผลเน่าเป่ือยในววั ควาย ชว่ งทีอ่ อกดอกและติดผล มนี าคม ถงึ พฤษภาคม 97 ห

หมี่ ชื่อพืช หม่ี ชอื่ อืน่ หมีเหมน็ ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson. ชอ่ื วงศ ์ Lauraceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ตน้ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รปู วงรแี กมขอบขนานหรอื รปู ไขก่ ลบั หรอื คอ่ นขา้ งกลม มักออกเปน็ กล่มุ หนาแน่นท่ปี ลายก่ิง กวา้ ง 5-9 เซนตเิ มตร ยาว 10-20 เซนติเมตร ผิวใบด้านบนเกลีย้ งเป็นมัน ด้านล่างมขี น เนือ้ ใบค่อนข้างหนา มกี ลิน่ หอมเฉพาะตัว ดอกชอ่ ซี่ร่มออกท่ซี อกใบ แยกเพศอย่คู นละตน้ ดอกย่อย สีเหลอื ง ไม่มกี ลบี ดอก ช่อดอกเพศผู้มีดอกย่อย 8-10 ดอก กลบี รวมลดรูปเหลอื 1-2 กลบี หรอื ไมม่ เี ลย เกสรตวั ผมู้ ี 9-20 อนั ชอ่ ดอกเพศเมยี กลบี รวมลดรปู เหลอื เพียงเล็กน้อย หรอื ไม่มี ผลสดรูปทรงกลม ผิวมนั เรียบ ผลอ่อนสีเขียว แก่สมี ว่ ง เข้มเกอื บดำ� มีเมลด็ เดยี วแขง็ พบตามปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั ป่าดงดิบ สรรพคณุ ตำ�รายาพื้นบ้านอีสาน ใช้ราก รักษาอาการปวดกล้ามเน้ือ ฝนทาฝี เปลอื ก ฝนทาแก้ฝี ใบ ใชส้ ระผม ยอ้ มผา้ ให้สีเขยี ว ใชท้ ำ�กระทงห่อขนมตาล ตำ�รายาไทย ใชใ้ บ ขยี้กบั นำ้ � สระผม พอกศรี ษะ ฆา่ เหา ขบั ปัสสาวะ แกอ้ าการระคายเคอื งของผวิ หนงั ใบและเมลด็ มรี สฝาดเฝอ่ื น ตำ�พอกฝี แผลหนอง แก้ปวด ราก เป็นยาฝาดสมาน และบำ�รุงกำ�ลงั เปลอื กตน้ เป็นยาฝาดสมาน แก้บิด ท้องเสีย แก้ปวดมดลูก แก้เจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ ฝนทาแก้พิษ แมลงกัดตอ่ ย ผนื่ คันแสบร้อน บดเปน็ ผงผสมกบั นำ้ �หรอื นำ้ �นมทาแก้แผลอกั เสบ ใบ ผลดบิ ใหน้ ำ้ �มันเปน็ ยาถนู วดแกป้ วด ผลสกุ กนิ ได้ เมลด็ ตำ�เป็นยาพอกฝี ราก แกป้ วดกลา้ มเนื้อ ยาง มรี สฝาดร้อน ตำ�พอกทาแกฟ้ กชำ้ � แก้ช้ำ�บวม ช่วงทอ่ี อกดอก พฤษภาคม ถึง กรกฎาคม ช่วงที่ออกผล กรกฎาคม ถงึ สิงหาคม ห 98

หวา้ นา ชือ่ พชื หว้านา ชือ่ อืน่ - ชือ่ วิทยาศาสตร ์ Syzygium cinereum (Kurz) Chantar.&J.Parn ชือ่ วงศ ์ Myrtaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปขอบ ขนาน ขนาดกว้าง 3-8 เซนตเิ มตร ยาว 7-16 เซนตเิ มตร แผ่นใบหนาและ เหนยี ว ใบออ่ นสนี ำ้ �ตาลอมแดง ดอกชอ่ แบบชอ่ กระจกุ แยกแขนง ออกตามซอก ใบใกล้ปลายก่ิง ดอกเล็กสีเขียวอมเหลือง ดอกย่อย 30-40 ดอก เส้นผ่าน ศนู ย์กลางดอก 1-1.5 เซนติเมตร กลบี ดอก 4 กลบี เช่ือมเป็นถงุ ปิดดอกตมู และหลดุ เมอ่ื ดอกบาน กลบี มตี อ่ มเปน็ จดุ ๆ เกสรตวั ผจู้ ำ�นวนมาก สขี าว ปลาย สีเหลืองอ่อน ผลสดรูปทรงกลมแป้น ขนาด 1.3-1.5 เซนตเิ มตร สเี ขยี วแลว้ เปลย่ี นเป็นสชี มพู เมอ่ื สกุ มีสแี ดงเขม้ ถงึ มว่ งดำ� ปลายหรือกน้ ผลบุ๋ม รวมกัน เป็นพวง ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว มีรสฝาดเล็กน้อย ฉำ่ �น้ำ� รับประทานได้ มี 1 เมล็ด ทรงกลมแปน้ สีนำ้ �ตาลออ่ น สรรพคณุ ตำ�รายาไทย เปลอื กตน้ รสฝาด ตม้ น้ำ�ดม่ื รกั ษาโรคบดิ ตม้ อมแกป้ ากเปอื่ ย คอเปอ่ื ย เป็นเมด็ เนื่องจากร้อนใน แก้นำ้ �ลายเหนียว ใบ แกบ้ ดิ ผล แกท้ อ้ งรว่ ง เมล็ด รสฝาด แกท้ อ้ งรว่ ง และบดิ ถอนพิษแสลงใจ ลดนำ้ �ตาลในเลอื ด ตำ�เป็นผง แกป้ สั สาวะมาก เปลือกและใบ รสฝาด ตำ�เปน็ ยาอม ยากวาด รกั ษาปากคอเปอื่ ย เป็นเมด็ ตามลนิ้ และคอ แกน้ ้ำ�ลายเหนียว ช่วงท่อี อกดอก กมุ ภาพันธ์ ถึง มนี าคม ช่วงท่อี อกผล มนี าคม ถึง พฤษภาคม 99 ห

หางหมาจอก ช่อื พืช หางหมาจอก ชอ่ื อ่นื - ช่ือวิทยาศาสตร ์ Uraria crinita (L.) Desv. ex DC. ชือ่ วงศ ์ Leguminosae-Papilionoideae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม ลำ�ต้นต้ังตรง ใบประกอบแบบขนนก ปลายค่ี เรียงสลับ รปู วงรแี กมขอบขนาน แกมใบหอก กวา้ ง 3.5 เซนตเิ มตร ยาว 8-15 เซนตเิ มตร แผน่ ใบเหนียว ผวิ ใบมนั ดอกชอ่ กระจะ ออกทซ่ี อกใบหรอื ปลายกงิ่ ดอกยอ่ ย จำ�นวนมากเรียงตัวอัดกันแน่นเป็นแท่ง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 เซนตเิ มตร ยาว 15-20 เซนติเมตร กลบี ดอกมี 5 กลบี รูปดอกถ่ัว สขี าว ปนมว่ ง หรอื สมี ่วงแกมชมพู กา้ นดอกยอ่ ยมีขนยาว ปลายขนงอเป็นตะขอ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เกสรเพศผูม้ ี 10 อนั คอ่ นขา้ งแข็ง ผลเปน็ ฝกั รูปขอบขนาน แบน คอดเป็นข้อๆ พับงอไปมา เมื่อสุกสีดำ� ไม่แตก พบตามป่าดงดิบเขา ป่าเบญจพรรณทั่วไป สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใช้ราก รสจืด ฝนกับสุรา หรือน้ำ�มะนาวรบั ประทาน และทาแก้พิษงู พิษขบกัด รากผสมรากแกลบหนู รากกาสามปีกใหญ่ รากกาสามปกี เล็ก และรากโมกมนั ตม้ นำ้ �ดม่ื แกอ้ าการทางประสาท ฝนน้ำ�ปนู ใสทา รักษาฝี ท้ังต้น ผสมหัวยาข้าวเย็น ต้มน้ำ�ด่ืม แก้ปวดเมื่อย ใบและ ชอ่ ดอกนำ�ไปใสใ่ นไหปลารา้ ใหห้ นอนแมลงวันเกาะขน้ึ มาแล้วเคาะท้ิง ชว่ งทีอ่ อกดอกและตดิ ผล ตลุ าคม ถงึ พฤศจิกายน ห 100

หุนไห้ ชื่อพชื หนุ ไห้ ชือ่ อ่นื - ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz ช่ือวงศ ์ Erythroxylaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั แผน่ ใบรปู ขอบขนานแกมรปู ไขก่ ลบั กวา้ ง 2-3.5 เซนตเิ มตร ยาว 5-10 เซนตเิ มตร แผ่นใบหนา ดา้ นบนเกลย้ี ง เป็นมัน ดอกเล็ก สีขาวอมเขียวอ่อน ออกช่อกระจุก 3-4 ดอก กล่ินหอมอ่อน ๆ ตามซอกใบ กลีบดอกสีขาว เขียวอ่อน หรือขาวแกมเขียว กลีบดอก และกลบี เลย้ี งมีอยา่ งละ 5 กลบี กลบี ดอกแยกจากกัน รปู ขอบขนาน แกมรูปรี เกสรเพศผู้ 10 อัน รังไขอ่ ยู่เหนอื วงกลบี ผล เป็นแบบผลผนังชน้ั ใน แข็ง รปู ไขแ่ กมขอบขนาน กวา้ ง 3-5 มิลลิเมตร ยาว 8-10 มิลลิเมตร อุ้มน้ำ� มีพูตามยาว 3 พู ด้านหน้าตัดคล้ายรูปสามเหลี่ยม ผลอ่อนสีเขียว ผลสุก มสี เี หลอื งหรอื แดง เปน็ มนั เมลด็ แบนโคง้ พบตามปา่ เตง็ รงั ปา่ ดบิ ใกลช้ ายทะเล และปา่ ดิบแล้ง สรรพคณุ ตำ�รายาพื้นบ้านอีสาน ใช้ราก รักษาโรคไตพิการ บำ�รุงน้ำ�นม แก้ผิดสำ�แดง เปลือก ใช้เป็นส่วนผสมเครื่องยาบำ�รุงกำ�ลังร่างกาย และ ใช้เบอ่ื ปลา ยอดอ่อน ใบ กินกบั ลาบหรือน้ำ�พรกิ ตำ�รายาไทย ใช้เปลือกตน้ รสเมา แกเ้ สน้ เอ็นพิการ แกป้ วดเมอื่ ย และแก้เหนบ็ ชา ตามปลายมือปลายเท้า เขา้ ยาบำ�รุงร่างกาย โดยใช้ราก 1-2 กำ�มอื ตม้ ดม่ื ตา่ งน้ำ� แกไ้ ตพกิ าร (โรคเกย่ี วกบั ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ มปี สั สาวะ ขุ่นข้น เหลืองหรือแดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้) เปลือกต้น ใช้เบือ่ ปลา ท้ังตน้ และรากแหง้ ต้มแก้ซาง ช่วงท่ีออกดอกและติดผล พฤศจกิ ายน ถงึ ธนั วาคม 101 ห

เหมอื ดโลด ช่ือพืช เหมอื ดโลด ชอื่ อ่นื - ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. ชอ่ื วงศ ์ Euphorbiaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกต้น แตกเป็นร่องลึกตามยาว ยอดออ่ นและชอ่ ดอกมขี นสนี ้ำ�ตาลอมเหลอื งหมน่ ขน้ึ หนาแนน่ ใบเดยี่ ว เรยี งเวยี น สลับ แผ่นใบรูปขอบขนานกว้าง หรือรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 10-16 เซนติเมตร ผวิ ด้านบนมีขนประปราย ผิวใบดา้ นล่างมีขนสนี ้ำ�ตาลแดง หนาแน่น แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ดอกเล็ก สีเหลืองอ่อน ดอกแยกเพศ อยู่ตา่ งตน้ กัน ช่อดอกเพศผ้อู อกเปน็ แทง่ ยาว มหี ลายชอ่ อยดู่ ้วยกัน เปน็ ชอ่ เชิงลด เกสรเพศผ้มู ี 2 อนั ช่อดอกเพศเมยี ออกเป็นชอ่ เดย่ี วสั้น ๆ แบบชอ่ เชงิ ลด สน้ั กว่าช่อดอกเพศผู้ อย่เู ปน็ กระจุก 2-8 ดอก มีสีเหลอื งออ่ น เกสรเพศเมยี มีรังไข่ เหนือวงกลีบ ผลรูปไข่ แห้งแตกตามตะเขบ็ 1-2 ดา้ น มีขนสีนำ้ �ตาลปนเหลอื ง ปกคลุม กวา้ งประมาณ 0.7 เซนตเิ มตร ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เมอื่ แตก ภายในมีเน้ือสีส้มแดง มี 1 เมล็ด เมล็ดรูปขอบขนาน พบตามป่าเต็งรัง ป่าดบิ แล้ง ป่าสน ปา่ เบญจพรรณ สรรพคุณ ตำ�รายาพ้นื บ้านอีสาน ใช้ลำ�ตน้ เข้ายาโรคกระเพาะอาหาร เข้ายากับ ดูกข้าว ดูกไส ดูกหิน ดูกผี แตงแซง ส้มกบ ส้มมอดิน และพากส้มมอ แก้ตวั เหลอื ง ตาเหลือง ตำ�รายาไทย ใชเ้ ปลือกตน้ มียางสีแดงใชเ้ ป็นสียอ้ ม ปรงุ เป็นยาขับลำ�ไส้ และขับระดู แก้แนน่ จกุ เสยี ด เปลือกและเนือ้ ไม้สด เคี้ยวแกไ้ ข้ ชว่ งทอ่ี อกดอก พฤศจิกายน ถึง มกราคม ช่วงที่ออกผล กุมภาพนั ธ์ ถงึ มีนาคม ห 102

คณะผู้จัดทำ� ผศ.ดร.อินทริ า ซาฮีร์ รองอธิการบดฝี ่ายวจิ ัยและนวตั กรรม นางสาวนาวินี สตุ ัญตัง้ ใจ หวั หน้าส�ำนกั งานสง่ เสริมบริหารงานวิจยั บริการวิชาการ และทำ� นุบำ� รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม นางสาวณัชชา อกั ษรศรี นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ส�ำนักงานสง่ เสริมบรหิ ารงานวิจัย บริการวชิ าการ และท�ำนุบำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ข้อมูล ผศ.ดร.สดุ ารัตน์ หอมหวล คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ฐานขอ้ มลู สมนุ ไพรคณะเภสชั ศาสตร์ ม.อุบลราชธานี www.phargarden.com ฐานขอ้ มลู เครอ่ื งยาไทย คณะเภสัชศาสตร์ ม.อบุ ลราชธานี www.thaicrudedrug.com ฐานข้อมูลพรรณไมแ้ ห้งอ้างองิ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี www.thaiherbarium.com ภาพถ่ายโดย พลชาติ หอมหวล 103

พิมพท์ ี่... บริษทั ยงสวัสดิอ์ ินเตอรก์ รุ๊ป จ�ำกดั อ�ำเภอวารินช�ำราบ จงั หวดั อุบลราชธานี 34190 โทร. 045-324777-9 104