Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอธาตุพนม_รายงานฉบับสมบูรณ์ สศร 310565

รายงานผลการดำเนินงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอธาตุพนม_รายงานฉบับสมบูรณ์ สศร 310565

Published by prakasit6645, 2022-06-19 09:18:10

Description: รายงานผลการดำเนินงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอธาตุพนม_รายงานฉบับสมบูรณ์ สศร 310565

Keywords: สืบสานศิลปวัฒนธรรม,ศิลปะกับชุม,ชนศิลปะร่วม,สม,ัย

Search

Read the Text Version



ก บทสรุปสำหรับฝ่ำยบริหำร (Executive Summary) สำระสำคัญ การดาเนินการตามโครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิน่ อาเภอธาตพุ นม จังหวดั นครพนม มสี าระสาคัญคือ เปน็ การดาเนินงานด้านการสง่ เสรมิ การสรา้ งงานศิลปะร่วมสมยั จาก ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ทีม่ ีฐานรากจากงานศลิ ปวฒั นธรรมกลุม่ ชาติพันธ์ุในชุมชนทอ้ งถนิ่ โดยอาศัยบุคลากร หลากหลายทั้งผสู้ ร้างงานศิลปะ ผู้เก็บรวบรวมงานศลิ ปะ ผู้ถ่ายทอดงานสสู่ าธารณะ และผู้จัดการ โครงการ ผ่านกลไกประชาสงั คม ปฏบิ ตั ิการทางสังคมทั้งในหมบู่ า้ นวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ และ พ้ืนท่วี ัฒนธรรมอ่ืนๆ ในชมุ ชนท้องถน่ิ เป็นต้น บทวเิ ครำะห์ การทโ่ี ครงการสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน อาเภอธาตุพนมจงั หวดั นครพนม มีผล การดาเนนิ งานตรงตามวัตถปุ ระสงค์อาจเกดิ จากงานถูกพฒั นาตอ่ ยอดจากท่ผี ู้รายงานรว่ มกบั เครือข่าย ศิลปวฒั นธรรมท้องถิน่ ธาตุพนม ไดด้ าเนินงานมาแล้วในระยะท่ผี า่ นมาโดยมีขอ้ มลู นาเข้าคือสมั ฤทธผิ ล ของงานเกดิ จากปจั จยั เชิงปฏิสัมพนั ธ์ (interaction factors) รว่ มกันระหวา่ งปจั จยั การบรหิ ารจัดการ ประสิทธิผลของงาน ปัจจัยบทบาทการมสี ่วนร่วมของชุมชน-ประสิทธิผลของงาน และปัจจยั บทบาท การมีส่วนรว่ มของชุมชน-การบรหิ ารจัดการซง่ึ ปัจจัยดงั กลา่ วถูกใช้เพ่ือจัดการทรพั ยากรด้านภมู ิปญั ญา ท่ีเกยี่ วข้องกบั การดารงชวี ติ เปน็ หลักรว่ มกับกจิ กรรมทางเศรษฐกิจชุมชนในสมยั ปัจจุบัน โดยสามารถ คดั สรรนาเสนอการพัฒนาต่อยอดท่ีชว่ ยเสริมสรา้ งอตั ลักษณ์ และมลู ค่าใหมใ่ ห้กบั งานศิลปะร่วมสมยั ปรากฏโครงสรา้ งแบบรปู อตั ลกั ษณ์ และการพัฒนาต่อยอดงาน อย่างชดั เจน สอดรบั กับการใช้เทคนิค แผนทีค่ นดี (People Mapping) การเปน็ กระบวนงานสร้างสรรค์ แล้วนามาจดั แสดงและแลกเปล่ียน งานศิลปวัฒนธรรม แบบแบ่งปนั แรงบนั ดาลใจที่ผู้รว่ มกิจกรรมของโครงการมกี ารรับรู้ตรงตามสาระ สาคัญทผี่ ู้นาเสนอได้สือ่ สารออกไป จนอยูใ่ นระดับสร้างแรงบันดาลใจรว่ มชว่ ยกนั เตมิ เตม็ ชิน้ งานได้ จึงส่งผลถึงการมีความคิดเห็นต่อโครงการในระดับมากท่สี ุด ทั้งรายด้าน และภาพรวม และการท่ี ความคดิ เห็น ของผู้เข้ารว่ มงานโครงการสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ อาเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม ไม่แตกตา่ งกนั ไม่ว่าจะพิจารณาจากตัวแปรสถานภาพ หรอื ประสบการณ์การเข้าร่วมงาน ในลกั ษณะเดียวกนั เป็นการสะท้อนภาพการเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้เชื่อมโยงขอ้ มูลระหวา่ งกนั โดยที่ ส่วนใหญ่เป็นประสบการณร์ ะดบั รูปธรรม จงึ สามารถเช่ือมโยงถ่ายโอนได้ไมย่ าก โดยมีขอ้ สังเกตว่า ประเด็นคาถามงานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นสามารถพฒั นาต่อยอดใหม้ คี ุณคา่ ทางใจ และสามารถสร้าง รายได้ชมุ ชน มคี ่าเฉล่ียสูงสดุ สอดคลอ้ งผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบท่ีใช้เป็นข้อมลู นาเข้าจากรอบปี ที่ผา่ นมา ผ้สู ร้างงานศลิ ปะทุกประเภทและทุกกล่มุ ชาติพนั ธุ์ในพ้นื ทมี่ ีรายไดเ้ พ่มิ ขน้ึ มคี วามสอดคล้อง กบั การได้รับผลดีจากการเข้าถงึ งานผา่ นสื่อสังคมออนไลนเ์ ปน็ จานวนมากตามกระบวนงานท่ีผ้รู ายงาน ในฐานะผเู้ สนอโครงการพัฒนาให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ทางสังคม ซึ่งภาพรวมของงานทั้งหมด ได้ช่วยสะท้อนรากเหง้าอัตลักษณท์ จ่ี รงิ แท้ของตวั ตนคนท้องถนิ่ จนเกิดเปน็ สง่ิ ดงึ ดูดสาคัญในโมเดล การทอ่ งเท่ยี ว ซ่ึงถูกคดั สรรมาใชเ้ ป็นเครือ่ งมืออีกชนิ้ หน่งึ ในการเพ่ิมมลู คา่ ให้กบั ทนุ ทางวัฒนธรรม สมควรไดร้ ับการพัฒนาท้ังในด้านรูปแบบ ระบบหรือกระบวนการ ให้เกดิ ความยั่งยนื

ข ลุ่มใหญ่เปน็ กลมุ่ ทมี่ ีประสบการณ์การ บทคัดยอ่ (Abstracts) ชอ่ื เร่ือง : รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น อาเภอธาตพุ นม จังหวัดนครพนม โดย : นายเดชา จนั ทศ ปีทด่ี ำเนินงำน : พ.ศ.2565 คำสำคัญ : การสรา้ งศลิ ปะร่วมสมยั จากผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน,การสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ ,ศลิ ปะกบั ชมุ ชน , รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการสบื สานศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่ อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม น้ีมวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพือ่ รวบรวมประเด็นการพฒั นาทนุ ทางศลิ ปวฒั นธรรม หรอื สังคม วฒั นธรรม ของงานศลิ ปะร่วมสมยั ทส่ี ามารถสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกิจแก่ชมุ ชนของเครือข่ายภาค ประชาสังคม 2) เพื่ออธบิ ายรายการเฉพาะของผลงานสรา้ งสรรค์ศิลปะพน้ื ถิ่น/กระบวนงานสร้างสรรค์ 3) เพ่ือประเมินความคดิ เห็นของผู้เขา้ ร่วมงาน โครงการสืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถน่ิ อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม รายดา้ น และภาพรวม 4) เพื่อเปรยี บเทียบความคดิ เห็นของผู้เขา้ ร่วมงานโครงการ สืบสานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม จาแนกตามประสบการณเ์ ขา้ รว่ มงาน และสถานภาพ 4) เพื่อสารวจรายได้เพิ่มของชุมชน และ 5) เพ่ือสารวจปรมิ าณผู้เย่ียมชมกจิ กรรมของ โครงการตามกระบวนงานท่ีกาหนด เครือ่ งมอื ท่ีใชป้ ระกอบดว้ ยการสมั ภาษณ์ การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม ขณะปฏิบตั ิงาน เวทชี วนคยุ การเกบ็ รวบรวมเอกสาร แบบประเมนิ ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงาน โครงการ แบบลงทะเบียนผู้เขา้ รว่ มงานโครงการและบนั ทึกสถิตปิ รมิ าณผูเ้ ย่ียมชมกจิ กรรมของโครงการ และแบบบันทึกรายไดจ้ ากการจาหน่ายผลิตภัณฑช์ มุ ชนในกจิ กรรมแสดงทางศิลปวัฒนธรรม วเิ คราะห์ ข้อมลู เชงิ คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนอ้ื หา และวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณโดยใชส้ ถติ ิบรรยาย การ วิเคราะหค์ ่าสถิติที (t-test) และการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดยี ว (Analysis of Variance : one way ANOVA) และทาการวิเคราะห์ความแตกตา่ งรายคู่ภายหลงั (Post- hoc Comparison) ดว้ ยเทคนคิ ของ Scheffe’ โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences for Windows) Standard Version ผลการรายงานพบวา่ 1)ประเดน็ การพฒั นาทนุ ทางศิลปวัฒนธรรมหรอื สงั คมวัฒนธรรมคอื การจดั การทรัพยากรดา้ นภมู ิปัญญา ด้านทเ่ี กย่ี วข้องกับการดารงชวี ิตเปน็ หลกั รว่ มกบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจในสมยั ปจั จบุ ัน 2)รายการเฉพาะ ของผลงานสร้างสรรค์ศลิ ปะพนื้ ถ่ิน คอื ขนั หมากเบง็ และฮูปแตม้ ซึ่งวเิ คราะห์เนื้อหาพบประเดน็ โครงสรา้ ง แนวคิดพื้นฐานท่ีใชอ้ อกแบบงานศลิ ปะ โครงสร้างแบบรปู อัตลักษณ์และการพฒั นาต่อยอดงาน สว่ น กระบวนงานสร้างสรรค์ คอื การใชเ้ ทคนิคแผนทค่ี นดี 3)ผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศลิ ปวัฒนธรรม ท้องถน่ิ อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม มีความคดิ เห็นต่องานโครงการ รายด้านและภาพรวมในระดับ มากทีส่ ุด 4) ผูเ้ ข้าร่วมงานโครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมท้องถ่นิ อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม ที่มี ประสบการณ์การเข้ารว่ มงานแตกตา่ งกนั และ สถานภาพแตกตา่ งกัน มีความคดิ เหน็ ตอ่ งานโครงการ แตกต่างกนั อย่างไมม่ ีนัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05 4) รายไดจ้ ากการจดั แสดงและจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ สินคา้ ชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ุ ท่ีปฺฏิบัติการรว่ มภายใตโ้ ครงการ เพม่ิ ขึ้น 571,020 บาท 5)ปรมิ าณผู้เย่ียมชม กจิ กรรมของโครงการตามกระบวนงานทกี่ าหนด เพิ่มขึ้นร้อยละ 99.87 และ

ค คำนำ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ อาเภอธาตุพนม จผั งหวัดนครพนม เป็นการประเมินทช่ี ่วยสะท้อนผลทเี่ กิดขึ้นจากการปฏบิ ตั ิงาน ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ รูปแบบการรายงานเปน็ การสรุปยอ่ เชิงประเมิน โดยยึดวตั ถุประสงค์ของโครงการ เปน็ หลัก ภายใตก้ ารขยายแงม่ มุ ใหห้ ลากหลาย โดยอนวุ ตั ตามโครงสรา้ งของการจัดทารายงาน ที่สานกั งานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมัย ไดก้ าหนดแนวทางไว้ ผู้รายงานไดร้ ายงานประเดน็ ตา่ ง ๆ ตามโครงสร้าง โดยแบง่ เปน็ 4 หมวดหมู่ ได้แก่ สว่ นที่ 1 ความนา ส่วนที่ 2 วิธีดาเนนิ การ สว่ นท่ี 3 การประเมนิ ผลการดาเนินงานและอภปิ ราย ส่วนที่ 4 สรุปผลการดาเนนิ งานและข้อเสนอแนะ รวมทัง้ ภาคผนวก บทคัดย่อ และบทสรุปสาหรบั ฝ่ายบรหิ าร ในภาพรวมรายงานฉบบั นี้จงึ เปน็ การชว่ ยสะท้อนงาน ลกั ษณะอธบิ าย และค้นหาเพือ่ พัฒนางานเชิงเสรมิ พลัง และใคร่ขอขอบคุณสานักงานศลิ ปวฒั นธรรมรว่ มสมัย เปน็ อย่างสูงทก่ี รณุ า ให้ความช่วยเหลือสนับสนนุ ทางการเงนิ แกโ่ ครงการ และคาแนะนาท่ีเปน็ ประโยชน์ เพอื่ ให้งาน สรา้ งสรรค์ ต่าง ๆ เป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชนเป้าหมายอย่างแท้จรงิ ผู้รายงานหวังวา่ กิจกรรมและรายงานโครงการจะอานวยประโยชน์แก่ชุมชนท้องถนิ่ ได้ ตามสมควร รวมถึงการรงั สรรค์งานในโอกาสต่อไป เดชำ จนั ทศ มิถุนายน 2565

ง สำรบัญ เรอ่ื ง หน้ำ บทสรปุ สาหรับฝ่ายบริหาร ก บทคัดย่อ ข คานา ค สารบัญ ง สารบัญตาราง ฉ สารบญั ภาพ ช สว่ นที่ 1 ความนา 1 1 หลักการและเหตผุ ล 3 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 3 ความสัมพันธร์ ะหว่างวตั ถุประสงค์ ตัวชวี้ ดั และผลผลติ ของโครงการ 4 ส่วนท่ี 2 วิธดี าเนินการ 4 ระยะเวลาดาเนินงาน 4 กลุ่มเป้าหมาย 4 งบประมาณท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ 5 ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากโครงการ 6 เครือข่ายทีร่ ่วมดาเนนิ โครงการ 7 ข้ันตอนการดาเนินงาน 8 รายชอ่ื ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ 8 การลงสื่อประชาสัมพนั ธ์ 9 11 ส่วนท่ี 3 การประเมินผลการดาเนนิ งานและอภปิ ราย 12 เครอื่ งมือและการสรา้ งเคร่อื งมอื 12 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 13 การวิเคราะห์ข้อมลู 43 ผลการประเมินงานโครงการ 45 อภปิ ราย 45 46 สว่ นที่ 4 สรุปผลการดาเนนิ งานและข้อเสนอแนะ 47 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 48 ขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสือสานักงานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมัยแจง้ ผลการขอรบั การสนับสนนุ การจัด โครงการสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถน่ิ อาเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม

สำรบญั (ต่อ) จ เร่อื ง หน้ำ 55 ภาคผนวก ข เอกสารใชใ้ นงานกจิ กรรมโครงการสืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถน่ิ 64 ภาคผนวก ค อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม คาสง่ั และกระดาษพิมพผ์ ลการวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยโปรแกรม คอมพิวเตอรส์ าเรจ็ รูป SPSS for Windows

ฉ สำรบัญตำรำง ตำรำง หน้ำ 1 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวัตถปุ ระสงค์ ตัวชวี้ ัดและผลผลิตของโครงการาองการประเมนิ 3 4 2 รายการจา่ ยเงินงบประมาณโครงการสบื สานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินอาเภอธาตุพนม 7 3 บทบาทของเครือขา่ ยทรี่ ่วมดาเนนิ โครงการ 9 4 การกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน 10 5 ผลการออกแบบการประเมนิ ผลการดาเนินงาน 40 6 ผลการประเมนิ ความคดิ เหน็ ของผู้เข้ารว่ มงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรม 41 ทอ้ งถน่ิ อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม รายด้าน และภาพรวม 7 ผลการเปรียบเทียบความคดิ เห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรม 41 ทอ้ งถน่ิ อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม จาแนกตามประสบการณ์เข้ารว่ มงาน 42 8 ผลการเปรยี บเทยี บความคิดเห็นของผเู้ ข้าร่วมงานโครงการสบื สานศิลปวฒั นธรรม 43 ท้องถ่นิ อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม จาแนกตามสถานภาพ 45 9 ผลการสารวจรายได้เพม่ิ ชองชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ทุ ี่ปฏบิ ัติการร่วมภายใตโ้ ครงการ 8 ในบรบิ ทของพ้ืนท่ี 10 10 ผลการสารวจปริมาณผู้เยีย่ มชมกจิ กรรมของโครงการตามกระบวนงานทีก่ าหนด 11 สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการ 10 6 ความรู้ ความเขา้ ใจ ในสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ของนักเรยี นทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ รายดา้ น และภาพรวม 7 ผลการเปรยี บเทยี บความรูค้ วามเขา้ ใจในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนกั เรยี น ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการจาแนกตามความสามารถทางการเรียน 8 ผลการแจกแจงมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรูข้ อง ประสบการณ์ คดั สรร

สำรบัญภำพ ช ภำพ หนำ้ 1 วาไรต้ีงานภูมใิ จและไปตอ่ ของศิลปินพ้นื บ้าน 15 2 พื้นท่ใี หม่ของงานศลิ ปหัตถกรรมพนื้ ถิ่น 16 3 หัตถกรรมจกั สานและผลงานชุมชนเขม้ แขง็ 17 4 งานศลิ ปะสร้างสรรค์พื้นถิน่ กบั ยวุ ศลิ ปินพ้ืนบา้ น 18 5 งานศลิ ปะสร้างสรรค์พื้นถนิ่ กับศิลปินพน้ื บ้าน 19 6 ดนตรีพ้ืนถนิ่ พณิ พาทย์พระธาตุพนม 20 7 พิธเี ปิดงานโครงการ 21 8 ผ้ดู าเนนิ รายการกบั ราชุด 8 ชนเผ่าสาวนครพนม ในพิธีเปิดงาน 22 9 บรรยากาศท่วั ไปพิธีเปิดงาน 23 10 บรรยากาศทั่วไปของงาน 24 11 ภาพสเกตซแ์ บบกบั ชนิ้ งานสร้างสรรคข์ ันหมากเบง็ 26 12 ความก้าวหนา้ ของการพัฒนาชิน้ งานขนั หมากเบ็งสร้างสรรค์ 28 13 ความกา้ วหน้าของการพัฒนาชิน้ งานขนั หมากเบ็งจากต้นกกและจากตน้ ไมไ้ ผ่ 29 14 ภาพฮูปแต้มงานจิตรกรรมผนงั โบสถ์วัดในพน้ื ท่ีอาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม 30 15 ภาพฮปู แตม้ ร่วมสมยั 31 16 ภาพการตอ่ ยอดงานฮูปแต้มงานในพื้นที่ใหม่ 32 17 ภาพแผนที่คนดี (People Mapping) ในการสรา้ งสรรคช์ ้นิ งาน 33 ขนั หมากเบ็ง สร้างสรรค์ 34 18 ภาพแผนท่คี นดี (People Mapping) ในการสร้างสรรค์ช้ินงาน 35 ฮปู แตม้ สร้างสรรค์ 19 ภาพบนั ทึกหน้าจอถ่ายทอดสดบรรยากาศงานชว่ งเชา้ ผา่ นเพจเฟซบุค๊ 35 เทีย่ วนครพนม จานวนผู้เขา้ ถงึ 6,220 คน 36 20 ภาพบันทกึ หนา้ จอถา่ ยทอดสดพิธเี ปดิ งานโครงการ ผา่ นเพจเฟซบุ๊ค 37 เท่ยี วนครพนม จานวนผ้เู ข้าถงึ 2,921 คน 21 ภาพบนั ทกึ หนา้ จอถา่ ยทอดสดบรรยากาศงานช่วงเชา้ ผา่ นเพจเฟซบคุ๊ 38 นครพนมบา้ นเฮา จานวนผเู้ ขา้ ถึง 9,770 คน 39 22 ภาพบันทกึ หนา้ จอถา่ ยทอดสดพิธเี ปิดงานโครงการ ผา่ นเพจเฟซบุ๊ค นครพนมบ้านเฮา จานวนผ้เู ขา้ ถึง 9,216 คน 23 ภาพบันทึกหนา้ จอข้อมูลถ่ายทอดสดพิธีเปดิ งานโครงการ ผา่ นเพจเฟซบุ๊ค ThatphanomNews จานวนผ้เู ขา้ ถงึ 2,700 คน 24 ภาพการประชมุ ปฏบิ ตั ิการ สร้างแอดมินเพจเฟซบุ๊คโครงการ รองการประเมิน

ส่วนท่ี 1 ควำมนำ หลกั การและเหตุผล ในข้อเสนอโครงการ เพื่อขอรบั การสนับสนุนเงินอุดหนุนการดาเนนิ โครงการสืบสาน ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถนิ่ อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม ของผู้รายงานไดร้ ะบุถงึ งานด้านศิลปวฒั นธรรม ทส่ี ง่ ผลต่อบทบาทหนา้ ทีข่ องเมืองธาตุพนม ซงึ่ เป็นพื้นทป่ี ฏิบัติงานโครงการสรุปว่า การประดษิ ฐาน องคพ์ ระธาตุพนมมีอิทธิพล ตอ่ พฒั นาการของเมอื งที่มคี วามเจรญิ รุง่ เรืองก้าวหน้าในหลากหลายมิติ สอดรับสัมพัทธ์ กับพลวัตขิ องพัฒนาการของรัฐชาตมิ าหลายยุคสมัยทง้ั ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม ทั้งนี้ กจิ กรรมทางพทุ ธศาสนา และความเล่ือมใสศรัทธาตอ่ องคพ์ ระธาตุพนม ซ่ึงเปน็ ศนู ยก์ ลางของสงั คมมี อิทธพิ ลอยา่ งสงู ตอ่ ระบบ ระเบยี บ และการจดั หน้าที่ของการพัฒนาเมอื งธาตุพนมมาอยา่ งตอ่ เนื่อง การดารงอยู่และการพฒั นาเมอื งธาตพุ นมภายใตบ้ ริบทของรัฐชาติ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การก้าวเข้าสสู่ ังคม โลกาภวิ ัตน์ สง่ ผลทางตรงต่อโลกทัศน์ ของผ้ทู ่ีต้องการความทนั สมัยแตข่ าดการคัดกรองให้สอดคลอ้ งกับ รากเหง้าวฒั นธรรมด้งั เดมิ ของตนเอง ทาใหก้ ิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคมหลายๆ ด้าน ถูกลดทอน บทบาทลง เชน่ กจิ กรรมการคา้ พื้นถ่นิ การเกิดพนื้ ทีท่ างวฒั นธรรมใหมท่ ่ีไม่เหมาะสมสอดคล้องกับชมุ ชน ซงึ่ ลว้ นสร้างผลกระทบเชงิ ลบต่อการดารงอยู่ การสบื ทอดมรดกทางวัฒนธรรม และสง่ ผลตอ่ วถิ ีชวี ิต ความเจรญิ งอกงามของประชาชนท้งั สน้ิ แนวคิดทอ้ งถนิ่ ภวิ ัตน์ เป็นงานท่ใี ช้แกไ้ ขผลด้านลบของแนวคดิ โลกาภิวตั น์ได้ ในระนาบท่ี ไมข่ ัดแยง้ โดยใช้กลไกการอนุรกั ษ์ พฒั นาตอ่ ยอด สรา้ งมลู ค่าเพ่ิมใหมๆ่ ให้กับทนุ ทางสงั คมวฒั นธรรม ดัง้ เดมิ ผา่ นงานศิลปะทผี่ ้คู นท้องถ่นิ รังสรรค์ข้นึ ในหลายแขนง ท้ังงานวรรณกรรม ดนตรี ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมฯลฯ แตก่ รณเี มืองธาตพุ นมพบว่า งานศิลปะรงั สรรค์ของผู้คนทอ้ งถ่ินยังไมม่ ีกลไกการ อนุรักษ์ พฒั นา ตอ่ ยอดดังกล่าวข้างตน้ ท้งั ด้านเน้ือหาสาระและการจดั การบรู ณาการเช่ือมโยงกบั ขอบขา่ ย งานพัฒนาอนื่ ๆ โดยปรากฏวา่ ผลิตภาพของสินค้า และบรกิ ารอันเกีย่ วเน่ืองกบั วฒั นธรรมชุมชนทอ้ งถ่นิ มนี ้อยและไม่เช่อื มโยงกับกจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วในฐานะเคร่อื งมือการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมอย่างนอ้ ย เพ่ือการทดแทนมูลค่าทางเศรษฐกิจของสังคมทีถ่ กู ลดทอน หรอื พัฒนาเพมิ่ มูลค่าใหม่ให้เหมาะสมจงึ ไม่อาจ รับประโยชนเ์ ตม็ ท่ีจากนกั ทอ่ งเท่ยี วจานวน 1.02 ลา้ นคนต่อปี ทีเ่ ดินทางเขา้ มาในพ้ืนที่ท่องเท่ยี วทม่ี อี งค์ พระธาตพุ นมเปน็ สิ่งดึงดูดสาคัญอยู่แลว้ ซึง่ สานักงานสถิตจิ งั หวัดนครพนมและสานกั งานการทอ่ งเท่ียวและ กีฬาจงั หวดั นครพนมเกบ็ รวบรวมข้อมลู ไว้ แตย่ ังไมม่ ีการจัดระบบทอ่ งเทยี่ วทีม่ คี ุณภาพในพื้นทเี่ ลย ผู้พัฒนา/รับผดิ ชอบโครงการตระหนักถึงความสาคญั ของกระบวนการใน การอนุรกั ษ์ สงวน รักษา และพัฒนาต่อยอดทนุ ทางสังคมวัฒนธรรม โดยใช้วิธีการหลากหลายหลายอาทีเรียนรู้ ให้เข้าถงึ สารัตถะของงานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถน่ิ หลายแขนงหลายดา้ น เช่นในดา้ นระบบความคิด และคุณคา่ ด้งั เดิม ผ่านการตคี วาม ประยกุ ต์ ต่อยอดใหร้ ะบบความคดิ และคณุ ค่าด้งั เดมิ สามารถปฏบิ ตั กิ ารรว่ มสมัยในระบบ คดิ และคุณค่าใหม่ อย่างสอดคลอ้ งเช่ือมโยง ซ่ึงเปน็ การทาหนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทยและมีสว่ นร่วมในการ ทาหน้าทีข่ องรฐั ท่ีบัญญัติไวใ้ นรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ ัน อีกทัง้ ยงั สอดคล้องกับหลกั คิดดา้ นนโยบาย ที่ สอดคลอ้ งเชอื่ มโยงกันหลายระดบั เช่นยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 ยทุ ธศาสตร์ 20 ปี ด้านวฒั นธรรม และข้อเสนอขอข้นึ ทะเบียนพระธาตพุ นมเป็นมรดกโลก ทางวฒั นธรรมต่อองคก์ ารการศึกษาวิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ซ่งึ เป็นบรบิ ทการพฒั นา ในพ้ืนที่ โดยมกี ารสบื ค้นด้านอัตลกั ษณท์ างศิลปวัฒนธรรมของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ท่ผี นวกการสง่ เสรมิ อาชพี เปน็ 1 ใน 3 โครงการจาเปน็ เร่งด่วนในสังกัปของงาน ทงั้ น้ผี ูผ้ ู้พฒั นา/รบั ผดิ ชอบโครงการนี้ ได้รบั แต่งต้งั

2 ใหเ้ ปน็ คณะกรรมการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การดาเนนิ งานเพื่อขอขึ้นทะเบยี นพระธาตุพนมเป็นมรดกโลก ตามประกาศของจงั หวัดนครพนมด้วย แนวคดิ ดังกล่าว ได้ถกู นามาปฏบิ ตั กิ ารทางสังคม โดยใชก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ในมิตขิ องการเรียนรแู้ ละปฏิบตั กิ ารทางสังคมร่วมกันผ่านสถาบัน องค์กร หรือปัจเจกชนโดยการบรู ณาการ งานผา่ นการสรา้ ง และพัฒนาเครือขา่ ยสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิ่นอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม รังสรรคง์ านศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินหลากหลายแขนง ที่สามารถเชอ่ื มโยงถงึ รากเหง้าดา้ นวัฒนธรรมชมุ ชน ดว้ ยการสร้างพ้นื ที่ทางวฒั นธรรมสร้างสรรค์ในสวนสาธารณะ “สวนศรโี คตรบรู ” ซึง่ เป็นพนื้ ทีเ่ ปิดโล่งเพ่อื การนนั ทนาการ เรียกว่า “สวนศิลป์” รวมท้งั แหลง่ วัฒนธรรมอนื่ ในพน้ื ทอี่ าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ผ่านกรอบวิสัยทศั น์ “สบื สานงานศลิ ปถ์ ่ินศรทั ธาเพิ่มคณุ ค่าใหส้ งั คม” นารอ่ งกิจกรรมของโครงการ ดว้ ย การ “รงั สรรคง์ านวิถชี าติพนั ธุ์นทิ ัศนศ์ รัทธา” สูง่ านศลิ ปะร่วมสมัยไลฟส์ ไตล์ โดยการบูรณาการงานการ ทอ่ งเที่ยวแบบสร้างสรรค์สร้างแรงบนั ดาลใจ ถ่ายทอดเนอ้ื หา และช่วยกาหนดตาแหน่งของงานท่มี คี วาม โดดเด่น สามารถดงึ ดูดเช่ือมโยงใหบ้ ุคคลเขา้ ร่วมกจิ กรรมทอ่ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม ในแหล่งทพ่ี ฒั นาข้นึ ดังกล่าวในฐานะเครอ่ื งมอื เปลี่ยนคณุ ค่าสมู่ ูลค่า ดว้ ยการจดั การทนุ ทางศิลปวัฒนธรรมท่หี ลากหลายของ ทกุ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุในพน้ื ที่ เช่น กลุ่มชาตพิ ันธุ์ผู้ไท กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ไทขา่ กล่มุ ชาติพันธ์ุไทยกวน กลมุ่ คนไทย เชอ้ื สายจีนและกลุม่ คนไทยเช้ือสายเวียดนามเป็นต้น ซ่งึ มีความสามารถสร้างสรรคง์ านศลิ ปะได้หลายแขนง ได้แก่ งานทอและสร้างสรรค์ผลติ ภณั ฑ์ผ้าพน้ื ถ่นิ หลากหลายเทคนิควิธกี าร มอี ตั ลกั ษณโ์ ดดเด่น งาน หัตถกรรมจกั สาน งานไม้ งานดา้ นประติมากรรม การหล่อและตขี ้ึนรปู ผลิตภัณฑ์จากเหลก็ เคร่อื งใช้ ในการประกอบอาชพี การดุนลายโลหะของท่รี ะลกึ การทาเครอื่ งประดับ การทาผลิตภัณฑ์แปรรปู จากข้าว การทาอาหารและขนม การทาประมงพื้นบา้ น เปน็ ต้น โดยใชก้ จิ กรรมการท่องเที่ยว ช่วยให้เกดิ มูลคา่ ทาง เศรษฐกิจสง่ เสรมิ รายได้ผคู้ นในชุมชน และสร้างความเข้มแขง็ จากฐานรากของชุมชน โดยมคี วามสอดคลอ้ ง และชว่ ยขบั เคล่ือนแนวคดิ และงานพฒั นาท่ีย่งั ยนื สมดลุ ระหวา่ งอัตลักษณว์ ิถสี ังคมดัง้ เดิมกบั พัฒนาการ ใหม่ ๆ ทั้งนีเ้ ครอื ขา่ ยสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ อาเภอธาตุพนมมผี ลการดาเนินงานมาระยะหนึง่ แลว้ เช่น การทางานรว่ มกับชุมชนหมู่บา้ นวัฒนธรรม กลุม่ ชาติพนั ธผ์ุ ู้ไทบา้ นอ่มุ เหม้า ต.อมุ่ เหม้า อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม เปิดพนื้ ท่งี านต่อยอดมูลค่าผลติ ภัณฑ์ผ้าย้อมครามพ้นื ถ่นิ ด้วยการจัดการแสดงประกอบแสง เสยี ง และเสนอผา่ นส่ือสารมวลชน ทางานรว่ มกับชมุ ชนหมบู่ ้านวัฒนธรรมกล่มุ ชาตพิ ันธุ์ไทกวน ต.นาถอ่ น อ.ธาตุพนม จ.นครพนม ด้วยการแสดงสนิ ค้าและจาหน่ายผลิตภณั ฑจ์ ากเหล็ก และการบรกิ ารทาง วัฒนธรรม งานสปาเกลอื และการทางานรว่ มกับกลุ่มคนไทยเชอื้ สายจนี และกลมุ่ คนไทยเชื้อสายเวยี ดนาม ในการฟ้ืนคืนย่านคา้ เก่าท่ีถูกลดทอนคุณค่าลงให้ปฏิบัติการทางเศรษฐกิจร่วมสมยั ได้ รวมทง้ั ดาเนินงาน โครงการสบื สานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ อ.ธาตุพนม จ.นครพนม โดยได้รบั การสนบั สนุนจากสานกั งาน ศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมัย กระทรวงวัฒนธรรม 2 ปี ต่อเน่ือง ปรากฏสัมฤทธผิ ลดีทัง้ ด้านสงั คม และเศรษฐกิจ โดยชุมชนทอ้ งถ่นิ ได้ตระหนกั รู้ และมีทศั นคติเชงิ บวกต่อการสรา้ งความเข้มแขง็ จากฐานราก และสามารถ สรา้ งรายได้เพม่ิ ขน้ึ จากการสร้างสรรค์งานศลิ ปะรว่ มสมยั ตามตัวชวี้ ัด ท่กี าหนดไว้ในโครงการ ซึง่ การ ดาเนนิ งานในปีที่ผา่ นมาเปน็ งาน แนะนา และรเิ ริ่ม สว่ นการดาเนนิ งานตอ่ เนือ่ งในปีที่ 3 ครง้ั นี้ จะเปน็ งาน สร้างสรรค์ พฒั นา มกี ารเพมิ่ แนวทางพัฒนาคณุ ภาพสนิ ค้า และบรกิ ารทางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถ่นิ ภายใต้แนวคดิ “ฮีตคอง : ศลิ ป์ศรัทธา บชู าพระธาตุ” บูรณาการกบั หลกั คิด และวิธปี ฏบิ ัติในการสร้าง ส่วนผสมทางการตลาด โดยจัดแสดงผลงาน แลกเปล่ยี น ผลงานศลิ ปะสร้างสรรค์ของชมุ ชนท้องถิน่ ในพ้ืนท่ี โดยดาเนินการตามท่ีไดร้ บั อนมุ ตั ิ

3 วัตถปุ ระสงค์ของโครงกำร 1. เพื่อสง่ เสริมการพัฒนาและแลกเปลีย่ นงานศิลปะของชมุ ชนทอ้ งถิ่น 2. เพ่อื สร้างรายได้ใหช้ ุมชน โดยใช้กิจกรรมบูรณาการงานพฒั นาด้านวัฒนธรรม ควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งวตั ถปุ ระสงค์ ตัวชวี้ ดั และผลผลิตของโครงกำร ตำรำง 1 ความสัมพนั ธ์ระหว่างวัตถปุ ระสงค์ ตวั ชี้วัดและผลผลิตของโครงการ วตั ถุประสงค์ ตัวช้วี ดั ของวตั ถปุ ระสงค์ หน่วยนบั / ค่าเป้าหมาย 1.เพ่อื ส่งเสรมิ การพฒั นาและ 1.เครอื ขา่ ย ของภาคประชาสังคม ประเมิน สามารถนาสมรรถนะดา้ นต่าง ๆ ของ เน้ือหาตรง แลกเปลีย่ นงานศิลปะ งานศลิ ปะรว่ มสมัยทเี่ กิดขึ้นไปสร้าง ประเดน็ ตามสภาพ ของชมุ ชนท้องถนิ่ ประเด็นการพฒั นาทุนทาง การพฒั นา ศิลปวัฒนธรรม หรือสังคมวฒั นธรรม อย่างนอ้ ย 2.เพ่ือสรา้ งรายไดใ้ หช้ ุมชน ให้เกิดมลู คา่ ทางเศรษฐกิจแก่ชุมชน ชิ้นงาน/ อบ่างละ โดยใชก้ จิ กรรมบรู ณาการ 2.การพฒั นาต่อยอดผลงานศิลปะ กระบวนงาน 1 รายการ งานพัฒนาดา้ นวัฒนธรรม พื้นถ่นิ /กระบวนงาน 3.ความคดิ เห็นของผ้เู ขา้ รว่ มงาน ระดบั มาก โครงการสบื สานศิลปวฒั นธรรม ความคดิ เห็น รายได้ ทอ้ งถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัด รายได้เพ่ิม เพ่ิมข้ึน นครพนม 1 รายไดเ้ พ่ิมของชมุ ชน ร้อยละ 5 2.ผู้เย่ยี มชมกิจกรรมของโครงการตาม กระบวนงานทก่ี าหนดเพิม่ ข้ึนจากเดมิ

สว่ นที่ 2 วิธีดำเนินกำร ระยะเวลำกำรดำเนินงำน เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565 กลุม่ เปำ้ หมำย 1. กล่มุ เปา้ หมายเชิงปริมาณ 1.1 ประชากรในชมุ ชน/ในสถานท่จี ัดกจิ กรรมตามโครงการ จานวน 10,376 คน 1.2 ศิลปนิ /ปราชญช์ าวบ้าน จานวน 500 คน 1.3 นักเรยี น นสิ ติ นักศกึ ษา จานวน 2,500 คน 2. กลุ่มเปา้ หมายเชงิ คุณภาพ 2.1 การพัฒนาตอ่ ยอดผลงานศิลปะพนื้ ถนิ่ มีสาระสาคัญสอดคล้องกบั โจทย์การพัฒนา ชุมชนท้องถ่นิ 2.2 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก 2.3 เครือขา่ ยภาคประชาสังคมที่เขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการสามารถถอดบทเรียนการ สรา้ งสรรคง์ านศิลปะร่วมสมยั ของชุมชนท้องถนิ่ และการบรู ณาการงานพฒั นาสังคมและเศรษฐกจิ ไป สรา้ งโจทยก์ ารพฒั นาชมุ ชนท้องถิน่ ได้อย่างมีประสิทธิผล งบประมำณท่ไี ดร้ บั กำรสนับสนุน 1. วงเงินโดยภาพรวมทงั้ โครงการ รวมเปน็ เงนิ ทงั้ สนิ้ 439,330 บาท 2. วงเงินท่ีไดร้ ับการจัดสรรจาก สานักงานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมัย รวมจานวนเงนิ ท้ังสน้ิ 150,000 บาท เพือ่ การจดั งานกอ่ ใหเ้ กดิ รายไดต้ ่อชมุ ชนอยา่ งต่อเน่ือง และเผยแพรศ่ ิลปวัฒนธรรมใน ท้องถ่ินใหเ้ กิดการซื้องานศลิ ปะในท้องถ่นิ ซง่ึ เป็นการบรู ณาการงานร่วมกบั หลายภาคส่วน ตามหนงั สือ แจง้ ผลการขอรบั การสนับสนุน ของสานกั งานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมยั ท่ี วธ 0602/1024 ลว 29 พฤศจิกายน 2564 และหนังสอื อนญุ าตเลื่อนการจดั งานโครงการ ดว่ น ที่ วธ 0602/143 ลว 28 กุมภาพันธ์ 2565 (ภาคผนวก ก) กิจกรรมแสดงในตาราง 2 ตำำง 2 รายการจา่ ยเงินงบประมาณโครงการสืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่นอาเภอธาตุพนม ท่ี รายการจา่ ยเงนิ จานวนเงิน หมายเหตุ 1. -คา่ จัดนทิ รรศการเพ่อื จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ชุมชน (บาท) 8, 000 กล่มุ ชาตพิ ันธผ์ุ ูไ้ ท -คา่ ตอบแทนการสาธติ กิจกรรมจักสานไมไ้ ผ่ บา้ นหวั ขัวใต้ -ค่าขนย้ายวสั ดุ 8,000 2. -คา่ จัดนทิ รรศการเพอ่ื จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ชุมชน กลมุ่ ชาตพิ นั ธุผ์ ู้ไท -คา่ ตอบแทนการสาธิตกิจกรรมทาหนา้ กากผโี ผน 8,000 บ้านอุ่มเหม้า -คา่ ขนยา้ ยวัสดุ 3. -คา่ จัดนทิ รรศการเพอ่ื จาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุไทขา่ -ค่าตอบแทนการสาธติ กจิ กรรมทาขันกะหย่อง บา้ นโสกแมว -คา่ ขนย้ายวัสดุ

5 ตำำง 2 รายการจา่ ยเงินงบประมาณโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอาเภอธาตพุ นม (ตอ่ ) ท่ี รายการจา่ ยเงนิ จานวนเงนิ หมายเหตุ (บาท) ชมุ ชนเข้มแขง็ 4. -ค่าจดั นิทรรศการเพือ่ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ชมุ ชน 11,000 บา้ นดงป่ายงู -คา่ ตอบแทนการสาธติ กิจกรรมกระเป๋าจักสานไม้ไผ่ -ค่าตอบแทนการสาธิตกจิ กรรมสปาเกลอื 6,000 กล่มุ ยุวศิลปนิ พนื้ บา้ น -คา่ ขนย้ายวัสดุ 9,000 10,000 ชุมชนแมบ่ ้าน 5. -คา่ ตอบแทนการสาธิตฮูปแต้มเข้ากรอบบนผ้าใบ 6,0 00 อาเภอธาตุพนม และกระเป๋าผ้า 6,000 วงดนตรีพิณพาทยอ์ ีสาน 6,000 ล้านช้าง 6. -เงินรางวัลกิจกรรมประกวดขนั หมากเบง็ 20,000 นกั เรยี นโรงรียนธาตพุ นม “ศลิ ปศ์ รทั ธา บูชาพระธาตุ” 6,400 ศิลปินอสิ ระ 8,000 ผทู้ รงคุณวุฒดิ ้านงาน 7. -คา่ เคลื่อนย้ายและคา่ ตอบแทนรายการแสดง 28,000 ประดษิ ฐ์ ดนตรีพณิ พาทย์ คุณธนชาต ธนโชตพิ พิ ิธ 9,600 8. -คา่ ตอบแทนรายการแสดงรานครพนม 8 ชนเผา่ 150,000 คุณนราพล เกษมสานต์ 9. -คา่ ตอบแทนกิจกรรมเขียนภาพสนี า้ มันเข้ากรอบ คุณทศพร กัจจานะ 10. -คา่ ตอบแทนคณะกรรมการตัดสนิ การประกวด คณุ ชรินทร์ทิพย์ นามศรนี วล ผลงานประดิษฐข์ ันหมากเบง็ 11. -ค่าตอบแทนการทาส่ือออนไลน์และจดั ทาวดิ โิ อคลปิ คณุ จันทนา หลวงพรหม งานผลิตภณั ฑ์ชุมชน จานวน 6 ชุมชน 12. -คา่ ตอบแทนทีมงานพิธีกร 13. -ค่าเช่าเคร่อื งเสียง 14. -คา่ ตอบแทนการจดั สถานทพ่ี ร้อมค่าวัสดุ -ค่าจ้างทาแผน่ ป้ายประชาสัมพันธ์ -คา่ ตอบแทนการถา่ ยทอดสดผ่านส่ือสงั คมออนไลน์ 15. -ค่าอาหารกลางวัน -คา่ อาหารวา่ ง รวมทัง้ ส้ิน ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จำกโครงกำร 1. ผลผลิต (output) และผลลพั ธ์ (outcome) ของงานโครงการตรงตามสาระสาคัญ และคา่ เปา้ หมายของงาน บรรลุตามที่กาหนดไว้ เช่นมีพฒั นาและแลกเปลีย่ นงานศิลปะของชุมชนท้องถิ่นผา่ น กลไกการท่องเทยี่ วชมุ ชนในฐานะเคร่ืองมือการสร้างรายได้จากสินค้าผลติ ภณั ฑ์ และการบริการชอง ชมุ ชนซึ่งผรู้ ายงานปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกบั เครอื ขา่ ยศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นธาตพุ นมได้พยายามผลักดันงานใน กรอบแนวทาง “สบื สานงานศิลป์ถิ่นศรทั ธาเพ่ิมคุณค่าให้สังคม”ปฏบิ ตั กิ ารผ่านพืน้ ท่ีวัฒนธรรมในชมุ ชน ท้องถิน่ และนาผลงานจัดแสดงภายในบรเิ วณวดั พระธาตุพนมวรมหาวิหาร ซง่ึ เปน็ แหล่งท่องเท่ยี ว เชิงศาสนาทส่ี าคญั ผา่ นงานศิลปะร่วมสมยั ใชก้ รอบแนวคิด “ฮีตคอง:ศิลป์ศรทั ธา บูชาพระธาตุ” ทาให้ ช่วยสนับสนนุ ใหเ้ กิดการพัฒนาตอ่ ยอดผลงานศลิ ปะพ้ืนถ่ิน และการแลกเปลย่ี นผลงานในพนื้ ที่ ที่มี ปริมาณนกั ทอ่ งเทีย่ ว ผู้สนใจในทอ้ งถ่นิ อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม และพ้นื ท่ีใกล้เคยี งเป็น จานวนมากสามารถสรา้ งรายได้เพ่ิมให้กับงานสร้างสรรค์ศลิ ปะพืน้ ถน่ิ ของศิลปนิ พ้ืนบา้ น หลายกลมุ่ เชน่ กลุ่มงานประดษิ ฐ์ดอกไม้ กลุ่มผลติ ภณั ฑผ์ า้ ทอพ้ืนเมืองและผลิตภัณฑ์ กล่มุ งานหัตถกรรมของทรี่ ะลึก และกลมุ่ งานทัศนศลิ ปแ์ ละบริการถ่ายภาพ เปน็ ตน้ และในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ลักษณะการดาเนนิ งานคลา้ ยคลงึ กบั รปู แบบเดิม คอื ยงั คงจดั งานในบรเิ วณ

6 พ้นื ที่จดั งานท่กี าหนดไวเ้ ดมิ และมกี ารนาเสนอ การสร้างสรรค์งานศิลปะชุมชนดว้ ยสือ่ สงั คมออนไลน์ ทงั้ การ ไลฟส์ ดกิจกรรมในวนั จดั งาน และการใชส้ อ่ื สมัยใหม่ชว่ ยเลา่ เรอ่ื ง โปรโมทผลิตภณั ฑช์ มุ ชนจากชมุ ชนของ ศิลปนิ พน้ื บา้ น และชว่ ยเพิม่ ช่องทางการเข้าถึงการแลกเปลย่ี นชนิ้ งานผลติ ภัณฑช์ ุมชน จากเพจของโครงการ ชือ่ “สืบสานศลิ ปวฒั นธรรมธาตุพนม” และเพจอืน่ ๆ ไดแ้ ก่ เพจ “เที่ยวนครพนม” “นครพนมบ้านเฮา” และ เพจ “ธาตพุ นมนวิ ส์” ทที าให้มีคนเข้าถึงได้มากขึน้ ในวนั จัดงานโครงการ ดังนน้ั การชว่ ยส่งเสริมการสร้างรายได้ จากงานศลิ ปะชุมชน จงึ เกดิ ขึน้ ไดท้ งั้ ในสว่ นการจัดงานในบริเวณพน้ื ท่จี ดั งาน (on site) และการจาหน่ายผา่ น สอ่ื สงั คมออนไลน์ (social media) ทั้งนกี้ ารจัดงานตามโครงการในพนื้ ทบี่ ริเวณจดั งานไดป้ ฏบิ ัติตามาตรการ ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคระบาดอยา่ งเคร่งครดั 2. ผลลพั ธ์ของโครงการส่งผลในประเดน็ ต่าง ๆ ได้แก่ 2.1 การพฒั นาสังคมท่ีอาศัยชอ่ งทางการจัดการทรัพยากรชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือขบั เคล่อื น เศรษฐกิจชุมชนท่ีนาไปสู่การเสรมิ สร้างความสามคั คี อยู่ดี มีสขุ รว่ มกันของคนในสังคม ตามประเด็น ยุทธศาสตร์การพัฒนารปู แบบ หรือแนวทางการดาเนินงานเพือ่ จัดการทรัพยากรชุมชนรว่ มกันอย่างมี คุณภาพของเครอื ข่ายศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ธาตุพนม ซ่ึงผ้รู ายงานปฏิบตั ิการรว่ มดังกรณีกลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ ที่ปฏิบัตกิ ารรว่ มในโครงการสามารถผา่ นหลกั เกณฑก์ ารคัดเลือกใหร้ ว่ มจดั แสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ชุมชนในเวทใี หมๆ่ เช่น งาน 8 ชนเผา่ จงั หวดั นครพนม ถูกรบั เชิญใหร้ ว่ มเวทแี สดงสดช่องทางสื่อวิทยุ โทรทศั น์ ผ่านรายการ “เช้านี้ทีห่ มอชติ ” สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ชอ่ ง 7 และไดร้ ่วมจดั นทิ รรศการ ในห้องนิทรรศการวถิ ชี ุมชนคนธาตพุ นม ในคราวที่สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในวนั ท่ี 5 พฤษภาคม 2565 (เป็นการสว่ นพระองค์) 2.2 เกิดชอ่ งทางของการพฒั นากลไกการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลทางศิลปะทง้ั ผสู้ ร้างงาน ศลิ ปะ ผ้เู กบ็ รวบรวมงานศิลปะ ผู้ถา่ ยทอดงานส่สู าธารณะ และผ้จู ัดการท่วั ไป เป็นต้น ดงั ตัวอย่าง กรณีการแจ้งจดทะเบียนกลุ่มผูผ้ ลิตผลิตภณั ฑพ์ ้นื เมอื งในพื้นท่ีตาบลอมุ่ เหม้า จานวน 12 ราย ในงาน ผลิตไมก้ วาด ทอผา้ พนื้ เมือง งานจกั สาน งานทอผา้ ย้อมคราม งานทอเสอ่ื และ แปรรูปผา้ ขาวมา้ เป็นตน้ และ มีการแบง่ ปนั แรงบันดาลใจระหวา่ งบคุ ลากรทางศิลปะกบั ผู้เข้าชมงานทั้งในสถานท่ีจดั งาน โครงการ และ การชมผา่ นสอื่ สงั คมออนไลน์ ทาใหผ้ รู้ ายงานสามารถเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ตอ่ การพัฒนางานในโอกาสต่อไป 2.3 เกิดช่องทางใหเ้ ครอื ข่ายประชาสงั คม มสี ่วนชว่ ยสนบั สนนุ การพัฒนาพ้ืนทเ่ี ชงิ ประเดน็ กรณขี ้อเสนอขอขน้ึ ทะเบียนพระธาตุพนม เป็นมรดกโลก ต่อองค์การศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ซึ่งคณะรัฐมนตรมี ีมติเหน็ ชอบให้นาเสนอพระธาตุพนมข้นึ บัญชีเบอ้ื งต้น (Tentative List) ของศนู ย์มรดกโลก เม่ือวันที่ 24 มกราคม 2560 และคณะกรรมการมรดกโลกมมี ติ เห็นชอบบรรจุไว้ในบญั ชรี ายชือ่ เบือ้ งตน้ แล้วในคราวประชุมสมยั สามญั คร้ังที่ 41 ณ เมืองคราคูฟ สาธารณรัฐโปแลนด์ เมื่อวนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2560 โดยมีสงั กปั ของงานดา้ นการจัดทากิจกรรมด้าน เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ในชุมชนพน้ื ที่พระธาตุพนมและพื้นท่โี ดยรอบ และการสืบค้นพฒั นาดา้ นวฒั นธรรม ความเชอื่ และประเพณผี นวกในสงั กัปงานท้ังหมดดว้ ย เครือขำ่ ยทีร่ ่วมดำเนนิ โครงกำร เครอื ข่ายท่ีร่วมดาเนนิ โครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในครงั้ นีป้ ระกอบด้วยวดั พระธาตพุ นมวรมหาวหิ าร และกลมุ่ ชมรมภาคประชาชนในบทบาทตา่ ง ๆ ตาม ตาราง 3

7 ตำรำง 3 บทบาทของเครอื ขา่ ยทร่ี ว่ มดาเนนิ โครงการ ท่ี เครือข่ายรว่ มดาเนนิ งาน ตราสัญลักษณ์ บทบาทสาคัญ หมายเหตุ 1. วัดพระธาตพุ นมวรมหาวิหาร ให้คาปรึกษา สนบั สนุน สถานท่จี ดั แสดงงาน ศิลปะและสิ่งอานวย ความสะดวก 2. เครือข่ายศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิน่ ร่วมดาเนนิ งานส่งเสริม ธาตุพนม การสร้างงานสรา้ งรายได้ จากงานศิลปะรว่ มสมัย ของผลติ ภณั ฑ์ชุมชน 3. กลุ่มไทธาตุพนม ร่วมปฏิบัตงิ านกิจกรรม ของโครงการ ข้นั ตอนกำรดำเนนิ งำน 1. ศึกษาชุมชน เพ่ือรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานท่ัวไป ข้อมูลด้านสังคมวัฒนธรรม และ ศิลปวัฒนธรรม ของหมู่บ้านวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธ์ุ และพื้นท่ีทางวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ในเขตอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม และพื้นท่ีต่อเน่ือง โดยใช้การสังเกตอย่างไม่เป็นทางการ การพูดคุย เสวนา ในเทศกาล งานประเพณี วิถีชีวิต กิจกรรมของบุคคล และกลุ่มบุคคลในชุมชนท้องถิ่น พร้อมกับสอบทานข้อมูลจาก ขอ้ มูลเชงิ วชิ าการ 2. ใชก้ ระบวนการและเทคนิคการมีสว่ นร่วมของกลุ่มคนในพื้นทีท่ างวัฒนธรรม ช่วยกัน สบื ค้น ตีความ งานสรา้ งสรรคด์ า้ นศลิ ปวัฒนธรรมของตนเอง ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจรากเหง้า สารัตถะ ของงานสรา้ งสรรค์ ดังกล่าวจนทาใหม้ องเห็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอด ดว้ ยเทคนคิ การสร้างแผนทค่ี นดี (People Mapping) 3. จัดประชมุ /อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารร่วมกบั เครอื ขา่ ยทเ่ี กีย่ วข้อง หรอื วิทยากรเพ่อื สรา้ ง แรงบันดาลใจในการออกแบบชนิ้ งานสร้างสรรค์ การดาเนนิ งานท่ีผา่ นมาผูร้ ายงานไดร้ ว่ มเปน็ เครอื ข่ายงาน โครงการถา่ ยทอดองค์ความรู้การละเลน่ ผีโผนกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ผู้ไทอุ่มเหมา้ โดยมีบทบาทเป็นผสู้ ังเกตการณ์ และประเมนิ เพื่อคน้ หาและเสรมิ พลังการพฒั นาเชงิ ประเด็น พบข้อมลู ดังน้ีประเด็นองคค์ วามรู้ทีถ่ า่ ยทอด ไดแ้ ก่ ประวัตคิ วามเป็นมาของการละเลน่ ผโี ผน เทคนิคการเขียนหน้ากากผโี ผน และการฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร การละเลน่ สว่ นประเด็นปฏิกิริยาของคนในชุมชนปรากฏผลดงั น้ี ความคดิ เหน็ ต่อกจิ กรรมโครงการ ชุด ตวั แปรการมสี ่วนรว่ มการพฒั นา และเจตนาสรา้ งคณุ ค่าทางใจและสร้างรายได้ มคี วามสมั พนั ธก์ บั การ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้จากการร่วมกจิ กรรมโครงการในการประยุกตใ์ ช้ความรู้ แปลความไดว้ า่ ชุมชนท้องถ่ิน ประยุกต์ใช้ความรใู้ นกรณีทง่ี านศลิ ปะพน้ื ถ่ินสามารถสร้างรายได้ โดยขนาดของผลซึง่ ช่วยบ่งช้ปี ระเด็น และการจดั ลาดับเพื่อการออกแบบกจิ กรรมทพ่ี ฒั นาตอ่ ยอด ซึง่ ผ้รู ายงานไดน้ าไปใช้กาหนดแนวทางการ สนบั สนนุ ให้มกี ารประดิษฐ์ช้ินงานศลิ ปะสรา้ งสรรค์ เชน่ ผลิตภัณฑ์ขนั หมากเบง็ ของทร่ี ะลึก ผลิตภัณฑ์ หอผึ้งของท่รี ะลึก พวงกุญแจผโี ผน และเช่ือมโยงไปถงึ ฮปู แต้ม:เทคนิคโบราณ งานรว่ มสมัยเช่น ฮปู แตม้ บนกระปุกออมสินไมไ้ ผ่ และ ฮูปแต้มเข้ากรอบบันทึกศรทั ธาพระธาตุพนม รวมท้ังการบรู ณาการงาน สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินในภาคการศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษา โดยนกั เรียนสรา้ งโจทยก์ ารศึกษา ค้นควา้ อิสระในรายวิชาการศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (Independent Study : IS1) โดยใช้

8 ชุมชนเปน็ ฐานการเรยี นรู้ และนาผลงานมาร่วมเผยแพร่ต่อสาธารณะในวนั กาหนดจัดงานดว้ ย ซ่งึ เป็น ภาระงานทสี่ อดคลอ้ งกบั สาระสาคัญ ทส่ี ่วนราชการผใู้ ห้ทุนสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน กาหนดให้แสดง ใหเ้ ห็นถึงการพฒั นาต่อยอด 4.จดั การสาธิตและแสดงผลงานสร้างสรรค์ ในพ้นื ทป่ี ฏบิ ัตกิ ารเปา้ หมาย ภายในบริเวณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร จังหวดั นครพนม และ หมบู่ า้ นวัฒนธรรมกลุ่มชาตพิ นั ธุใ์ นเขตอาเภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม เพอื่ เผยแพร่ กระบวนการและผลงานสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญา ดว้ ยงานศิลปะร่วมสมยั และช่วยเปิดพนื้ ท่แี ลกเปลย่ี นใหเ้ กิดมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ภายใตแ้ นวคิด “สืบสาน สรา้ งสรรค์ แบ่งปนั แรง บนั ดาลใจ สร้างมมุ มองใหม่ท่ีใชก่ ว่าเดิม” โดยจดั งานในบริเวณพน้ื ทีจ่ ัดงานท่กี าหนดไว้ และมกี ารนาเสนอ การสร้างสรรคง์ านศลิ ปะชุมชนดว้ ยสื่อสังคมออนไลน์ทัง้ การไลฟส์ ดกจิ กรรมในวนั จดั งานและการใชส้ ือ่ สมยั ใหม่ ช่วยเล่าเร่ือง โปรโมทผลติ ภัณฑ์ชุมชนจากชมุ ชนของศลิ ปนิ พ้นื บา้ น และชว่ ยเพมิ่ ช่องทางการเขา้ ถึงการ แลกเปลยี่ นชิน้ งานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน จากเพจของโครงการ และเพจอื่นๆ ทีทาใหม้ ีคนเขา้ ถงึ ไดม้ ากข้นึ ในวนั จดั งานโครงการ ดงั นัน้ การช่วยส่งเสริมการสร้างรายได้จากงานศลิ ปะชมุ ชน เกดิ ขน้ึ ไดท้ ้งั ในสว่ นการจัดงานใน บริเวณพนื้ ทจ่ี ัดงาน (on site) และการจาหนา่ ยผา่ นส่ือสังคมออนไลน์ 5.ประเมินโครงการโดยใชร้ ูปแบบการประเมนิ ทเี่ หมาะสมกับ สาระสาคัญของโครงการ โดยใชต้ รรกะวทิ ยาศาสตรช์ ่วยบรรยาย อธิบายสภาพ และทานายจากการวิเคราะห์องค์ประกอบ แลว้ จัดทารายงานสรุปภาพรวมของโครงการ พร้อมบทสรุปย่อ และบทสรปุ สาหรบั ฝา่ ยบรหิ ารโครงการ ในรูป ส่อื ส่งิ พิมพ์ และสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ รำยชือ่ ผู้เข้ำรว่ มโครงกำร 1. คณะกรรมการจัดงาน 2. กลมุ่ ชาติพันธใ์ุ นชุมชนท้องถ่ินอาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม 3. นักทอ่ งเที่ยว ประชาชนผู้สนใจในชมุ ชนทอ้ งถิ่นอาเภอธาตพุ นมจงั หวดั นครพนม และพื้นที่ใกลเ้ คียง 4. ส่วนราชการในพืน้ ทีจ่ ังหวัดนครพนม และกลมุ่ บุคคล ภาคประชาชนในชมุ ชน ท้องถิ่นอาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม ไดแ้ ก่ มูลนิธิ สโมสร และชมรม เปน็ ต้น กำรลงสือ่ ประชำสัมพันธ์ 1. สื่อพน้ื ฐาน แผน่ ปลิว ปา้ ยประกาศ และส่ือวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ในสถานีวทิ ยุชุมชน 2. สอื่ ใหม่ในกระบวนงาน (Plateform) ของโครงการ คือเพจเฟซบุ๊ค “สืบสาน ศิลปวัฒนธรรมธาตพุ นม” และกระบวนงานท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรม คือเพจเฟซบคุ๊ “เทยี่ วนครพนม” “นครพนมบา้ นเฮา” กระบวนงานเชิงขา่ ว คอื เพจเฟซบุ๊ค “ธาตุพนมนิวส์” และกลุ่มแอพพลเิ คชนั ไลน์ “สบื สานศลิ ปวฒั นธรรมธาตุพนม”

สว่ นท่ี 3 กำรประเมนิ ผลกำรดำเนินงำนและอภิปรำย ผู้รายงานออกแบบวิธีการประเมิน โดยการจัดทา TOR (Term of Reference) ใน ด้านวัตถุประสงค์ของการประเมิน ตัวแปรที่ศึกษา แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินผลเพ่ือใช้เป็นแนวทางการใช้องค์ความรู้ของแต่ละด้านตามหลักวิชาการ รายละเอยี ดแสดงในตาราง 4 และตาราง 5 ตำรำง 4 การกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ วัตถปุ ระสงค์ท่ัวไป วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะของการ ของการประเมิน ประเมนิ 1.เพอ่ื ส่งเสริมการแลกเปลยี่ น 1.เพอ่ื รวบรวมประเดน็ การ เรียนรู้ และแลกเปลยี่ นงาน พัฒนาทุนทางศิลปวัฒนธรรม 1.เพ่ือรวบรวมประเดน็ การพัฒนา ศิลปะ หรือสังคมวฒั นธรรม ของงาน ทนุ ทางศิลปวฒั นธรรมหรือสงั คม ศิลปะรว่ มสมยั ทสี่ ามารถสรา้ ง วฒั นธรรม ของงานศิลปะร่วมสมัย มลู คา่ ทางเศรษฐกิจแก่ชุมชน ที่สามารถสร้างมลู ค่าทางเศรษฐกิจ ของเครือข่ายภาคประชาสังคม แก่ชุมชนของเครอื ขา่ ยภาค ประชาสังคม 2.เพ่อื นาเสนอการพัฒนา 2.เพอ่ื อธบิ ายรายการเฉพาะของ ตอ่ ยอดผลงานศิลปะพ้นื ถิ่น/ ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะพื้นถ่ิน/ กระบวนงานสร้างสรรค์ กระบวนงานสรา้ งสรรค์ 3.เพอ่ื ประเมนิ ความคดิ เห็น 3.เพ่ือประเมินความคดิ เห็นของ ของผู้เข้ารว่ มงานโครงการ ผู้เข้าร่วมงานโครงการสบื สาน สืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่น อาเภอ อาเภอธาตพุ นม จังหวัด ธาตุพนม จงั หวัดนครพนม นครพนม รายด้าน และภาพรวม 4.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น ของผู้เขา้ ร่วมงานโครงการสืบสาน ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ อาเภอ ธาตพุ นม จงั หวดั นครพนมจาแนก ตามประสบการณเ์ ข้าร่วมงานและ สถานภาพ 1.เพอ่ื สารวจรายไดเ้ พม่ิ 5.เพ่ือสารวจรายได้เพ่ิมของชุมชน 2.เพื่อสร้างรายไดใ้ หช้ ุมชน ของชมุ ชน โดยใชก้ ิจกรรมบรู ณาการ 2.เพื่อสารวจปริมาณผู้เย่ียมชม 6.เพื่อสารวจปริมาณผเู้ ยี่ยมชม งานพฒั นาดา้ นวฒั นธรรม กิจกรรมของโครงการตาม กจิ กรรมของโครงการตาม กระบวนงานทกี่ าหนดเพิ่มขึ้น กระบวนงานที่กาหนด จากเดิม

10 ตำรำง 5 ผลการออกแบบการประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน วัตถุประสงค์ ตัวแปร แหลง่ ข้อมูล วธิ ีการเก็บขอ้ มลู วธิ วี เิ คราะหข์ ้อมลู เกณฑก์ าร ของการประเมนิ ท่ศี กึ ษา -ชมุ ชนกลุม่ -บันทึกรายการ -วเิ คราะหเ์ นื้อหา ประเมิน 1.เพื่อรวบรวม -ประเด็น ชาตพิ ันธุใ์ น 1) ตัวแปรไร้การ (content -ความตรง ประเดน็ การพฒั นา การพฒั นา อาเภอ ตอบโต้ analysis) ตามสภาพ ทุนทาง ธาตพุ นม (unobstructive ศิลปวฒั นธรรม รายการ variable) -วิเคราะหเ์ นื้อหา -ความตรง หรือสังคม เฉพาะของ ผลงาน/ 2)บันทกึ ความ (content ตามสภาพ วฒั นธรรม ของงาน ผลงาน/ กระบวนงาน คดิ เห็นท้าย analysis) ค่าเฉล่ีย ศลิ ปะรว่ มสมยั กระบวนงาน สรา้ งสรรค์ แบบประเมนิ -ใช้สถิตบิ รรยาย 1.00–1.49 ทสี่ ามารถสร้าง สรา้ งสรรค์ ศิลปะพืน้ ถิ่น 3)บันทกึ ความ อธิบายความ 1.50-2.49 มลู คา่ ทางเศรษฐกิจ ศิลปะพนื้ ถ่นิ -ผู้เข้าร่วมงาน คดิ เหน็ เวที คดิ เหน็ ของผู้ที่ 2.50-3.49 แก่ชุมชนของ -ความ โครงการ ชาวบา้ น เข้าร่วมงาน 3.50-4.49 เครือข่าย คิดเหน็ ของ 1.สังเกต โครงการ 4.50-5.00 ภาคประชาสงั คม ผู้เข้ารว่ มงาน -ผู้เข้าร่วมงาน 2.สมั ภาษณ์ หมายถึง 2.เพ่อื อธิบาย โครงการ โครงการ ศลิ ปินพน้ื บ้าน -ใช้สถิติที (t-test) ผ้เู ขา้ รว่ มงาน รายการเฉพาะของ 3.บนั ทึกรายการ เปรยี บเทยี บความ โครงการมคี วาม ผลงานสรา้ งสรรค์ -ความ 4.วิเคราะห์ คิดเห็นของตวั แปร คดิ เหน็ ตอ่ งาน ศิลปะพืน้ ถนิ่ คิดเหน็ ของ เอกสาร ประสบการณ์ โครงการใน 3.เพือ่ ประเมนิ ความ ผู้เขา้ รว่ มงาน -นาแบบ ร่วมงาน -ใช้การ ระดบั น้อยทสี่ ดุ คดิ เห็นของ โครงการ ประเมินความ วิเคราะหค์ วาม นอ้ ย ปานกลาง ผเู้ ขา้ ร่วมงาน คดิ เหน็ ไปเรา้ ให้ แปรปรวนแบบ มาก และ มาก โครงการสบื สาน ผู้ทเ่ี ข้าร่วมงาน ทางเดียว ท่สี ุดตามลาดับ ศลิ ปวฒั นธรรม โครงการตอบ (Analysis of -ความมี ท้องถิ่น อาเภอ Variance : one นัยสาคญั ทาง ธาตุพนม จงั หวัด -นาแบบ way ANOVA) สถิตขิ องการ นครพนม ประเมนิ ความ เปรียบเทยี บความ วเิ คราะห์ รายด้าน และ คดิ เหน็ ไปเร้าให้ คิดเห็นของตวั แปร ความแตกตา่ ง ภาพรวม ผู้ท่เี ขา้ รว่ มงาน สถานภาพ โครงการตอบ 4.เพ่ือเปรยี บเทียบ ความคดิ เห็นของ ผเู้ ขา้ รว่ มงาน โครงการสบื สาน ศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่น อาเภอ ธาตุพนม จงั หวัด นครพนม จาแนก ตามประสบการณ์ เข้ารว่ มงานและ สถานภาพ

11 ตำรำง 5 ผลการออกแบบการประเมินผลการดาเนนิ งาน (ต่อ) วัตถปุ ระสงค์ ตัวแปร แหล่งขอ้ มลู วธิ ีการเกบ็ วิธีวิเคราะหข์ ้อมลู เกณฑ์การประเมิน ของการประเมนิ ทีศ่ กึ ษา ข้อมูล รายไดเ้ พ่มิ รายได้เพ่ิมของ -บนั ทกึ ขอ้ มูล -วิเคราะหเ์ นอื้ หา -ความตรง 5.เพื่อสารวจรายได้ ของชมุ ชน ชมุ ชน ภาคสนาม -สถิตบิ รรยาย ตามสภาพ ปรมิ าณ -แบบบนั ทึก -สตู รคานวณ รอ้ ยละ 5 เพ่มิ ของชมุ ชน ปรมิ าณ ผู้เย่ียมชม รายการ รอ้ ยละ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ 6.เพ่อื สารวจ ผู้เยย่ี มชม กิจกรรมของ ปริมาณผ้เู ยีย่ มชม กจิ กรรมของ โครงการ กจิ กรรมของ โครงการ โครงการตาม กระบวนงานที่ กาหนด เครอื่ งมือและกำรสร้ำงเครือ่ งมอื ผู้รายงานไดพ้ ิจารณาธรรมชาติของข้อมูลท่ีต้องการ ในโครงการสบื สานศิลปวัฒนธรรม ท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ได้แก่ ประเด็นการพัฒนา ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงาน โครงการ ปริมาณนักท่องเท่ียว และ รายได้ของชุมชน แล้วเลือกเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลให้ สอดคลอ้ งกนั ลักษณะเคร่อื งมือ ได้แก่ 1.เครื่องมือรวบรวมประเด็นการพัฒนาทุนทางศิลปวัฒนธรรม หรือสังคมวัฒนธรรม ของงานศลิ ปะรว่ มสมยั ท่ีสามารถสร้างมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ แกช่ มุ ชน มโี ครงสร้าง ดงั น้ี 1.1 จดุ เน้น เป็นการสรา้ งคาอธบิ ายเฉพาะกรณี ตามบริบทของแตล่ ะกลุ่มชาติพันธ์ุ 1.2 ลกั ษณะของประเด็นที่รวบรวม เป็นการอธิบายชอ่ื ประเดน็ และลกั ษณะ เปน็ อย่างไร 1.3 หนว่ ยของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู คอื กลุ่มคนในชาตพิ นั ธ์ุ 1.4 การเกบ็ และรวบรวมขอ้ มูล ใชห้ ลายวธิ กี ารรวมกบั เช่น การสมั ภาษณ์ การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมขณะปฏบิ ัตงิ าน เวทีชวนคุย และการเก็บรวบรวมเอกสาร เป็นต้น 1.5 การวิเคราะห์ข้อมูล กระทาโดยการหาคาอธิบายและประเด็น ภายในกรณีของ แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ หรือข้ามกรณี เช่น ประเด็นและคาอธิบายในสาระสาคัญระหว่างกลุ่มชาตพิ ันธุ์หรือ เปรียบเทยี บกบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจังหวัด เป็นตน้ 1.6 การเขียนรายงาน เปน็ การเขียนคาอธิบายตามสภาพองิ บริบท และเงือ่ นไข ท่ปี รากฏในกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ 2. เครือ่ งมืออธบิ ายรายการเฉพาะของผลงาน/กระบวนงานสรา้ งสรรค์ศิลปะพน้ื ถ่ิน มี โครงสร้างคล้ายกันกบั โครงสรา้ งของเคร่ืองมือในข้อ 1 แต่มีจดุ เนน้ และหน่วยของการวิเคราะห์ข้อมลู เป็นศลิ ปินพน้ื บ้าน ชน้ิ งาน และกระบวนงานสร้างสรรคท์ างศิลปะ ตามลาดบั 3. เครอ่ื งมือประเมินความคดิ เห็นของผู้เขา้ ร่วมงานโครงการ เป็นแบบประเมินงานโครงการซ่งึ สรา้ งขึ้นวัดคุณลกั ษณะที่มีความเข้มและทิศทาง ตามแนวของ Likert 5 ระดับ ตามขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี 3.1 กาหนดวัตถุประสงค์ เป็นการมุ่งประเมินคุณลักษณะด้านต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนตาม วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 3.2 คาถามประเมนิ มงุ่ ถามระดับความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ ร่วมงานโครงการ วา่ อยใู่ น ระดับใด 3.3 แหล่งขอ้ มูล คือ ผทู้ ่ีเข้าร่วมงานโครงการ 3.4 วิธกี าร ไดม้ าโดยนาแบบประเมนิ ความคดิ เห็นไปเรา้ ให้กลุ่มตวั อย่างตอบสนอง

12 3.5 คาตอบ คาตอบของคาถามปรากฏอยูใ่ นแบบประเมินโครงการ ซง่ึ มี 3 ตอน 3.5.1 ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบประเมนิ 3.5.2 ตอนที่ 2 ความคดิ เห็นต่อโครงการ ประกอบดว้ ย ก. ความคาดหวงั กอ่ นเข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการ ปรากฏอยใู่ นข้อ 1-5 ข. ผลท่ีได้รับหลงั เข้าร่วมกจิ กรรมโครงการ ปรากฏอยใู่ นขอ้ 6-10 ค. การบริหารจดั การกิจกรรมของโครงการ ปรากฏอยใู่ นขอ้ 11-15 3.5.3 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ 4. เคร่ืองมอื สารวจรายไดข้ องชมุ ชน แบบบนั ทึกรายได้จากการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ชุมชน ในกิจกรรมแสดงทาง ศิลปวัฒนธรรม 5. เคร่อื งมือสารวจปรมิ าณผ้เู ยีย่ มชมกจิ กรรมของโครงการ ใชแ้ บบลงทะเบียน การ แจงนับผู้เขา้ ร่วมงานโครงการในพ้ืนทีจ่ ดั กจิ กรรม และบันทึกการแจงนับตามกระบวนงานของสื่อสังคม ออนไลน์ทใ่ี ชภ้ ายใต้กิจกรรมของโครงการ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้รายงานเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ทั้งด้านประเด็นการพัฒนาทุนทาง ศิลปวัฒนธรรม หรือสังคมวัฒนธรรม ของงานศิลปะร่วมสมัย ที่สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ ชมุ ชน ด้านการอธบิ ายรายการเฉพาะของผลงานสร้างสรรค์ศลิ ปะพนื้ ถนิ่ ดา้ นการประเมินความคิดเห็น ของผู้เข้าร่วมงานโครงการ ดา้ นรายไดเ้ พ่ิมของชุมชน และด้านปรมิ าณผู้เยีย่ มชมกจิ กรรมของโครงการ กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู ผรู้ ายงานทาการวิเคราะห์ข้อมูลดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1.วิเคราะห์เนื้อหาเพื่อค้นหาประเด็นและคาอธิบาย ภายในขอบเขตการดาเนินงาน โครงการ โดยวิเคราะห์ท้ังภายในและภายนอก ของแต่ละกลุ่มชาติพนั ธุ์ หรอื ขา้ มกรณี เช่น ประเด็นและ คาอธิบายในสาระสาคัญระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ หรือเปรียบเทียบกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สาหรับตวั แปรประเด็นการพฒั นา 2. วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาเพือ่ อธบิ ายรายการเฉพาะของผลงานสร้างสรรค์ศิลปะพ้ืนถิน่ ได้แก่ แนวคดิ พื้นฐานที่ใช้ออกแบบงานศิลปะ โครงสร้างแบบรูป อัตลักษณแ์ ละการพัฒนาตอ่ ยอดงาน 3. วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นรายด้าน และภาพรวม ด้วยสถิติบรรยาย และ เปรยี บเทียบความคดิ เห็นของผเู้ ขา้ ร่วมงานโครงการ โดยใช้สถิติที (t-test) เปรียบเทยี บความคิดเห็น ของตัวแปรประสบการณ์ร่วมงาน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (Analysis of Variance : one way ANOVA) เปรียบเทียบความคดิ เหน็ ของตวั แปรสถานภาพ และทาการวิเคราะห์ ความแตกต่างรายคู่ภายหลัง (Post- hoc Comparison) ด้วยเทคนิคของ Scheffe’ กรณีพบความ แตกตา่ งของตวั แปรโดยนาแบบประเมนิ โครงการท่ไี ด้รับมาตรวจความสมบูรณ์ ฉบับท่ไี ม่สมบูรณ์ได้ ตัดออกแล้วนาแบบประเมินโครงการแต่ละฉบับมาลงรหัสข้อมูล จัดทาสมุดข้อมูล โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences for Windows) Standard Version 4. แจงนับปริมาณรายได้เพ่ิมของชุมชน ด้วยสถิติบรรยายจาแนกประเภทตามช้ินงาน ศิลปะ

13 5. แจงนับความถ่ีและคานวณค่าร้อยละ ปริมาณผู้เยี่ยมชมกิจกรรมของโครงการตาม กระบวนงานทกี่ าหนดทเ่ี พิม่ ข้นึ ตามสูตร ร้อยละทเี่ พิ่มข้ึน = (คา่ ปจั จุบัน−คา่ เริม่ ตน้ ) X 100 ค่าเริ่มตน้ ผลกำรประเมนิ งำนโครงกำร จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สามารถเสนอผลการประเมินงานโครงการ ได้ ดงั นี้ 1. เพื่อรวบรวมประเด็นการพัฒนาทุนทางศิลปวัฒนธรรม หรือสังคมวัฒนธรรมของงาน ศลิ ปะร่วมสมัย ท่ีสามารถสรา้ งมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ แกช่ ุมชนของเครือขา่ ยภาคประชาสงั คม 2. เพอื่ อธิบายรายการเฉพาะของผลงานสร้างสรรค์ศลิ ปะพ้ืนถิน่ 3. เพื่อประเมินความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม รายด้าน และภาพรวม 4. เพ่ือเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงาน โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ทอ้ งถ่ิน อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม จาแนกตามประสบการณ์เขา้ ร่วมงานและสถานภาพ 5. เพอ่ื สารวจรายได้เพิ่มของชุมชน 6. เพอื่ สารวจปริมาณผู้เย่ียมชมกจิ กรรมของโครงการตามกระบวนงานทก่ี าหนด ดงั ต่อไปนี้ ในการเสนอผลของโครงการคร้งั นี้ ผรู้ ายงานใชส้ ัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ในความหมาย X แทน ค่าเฉล่ียเลขคณิต n แทน จานวนประชากรตัวอยา่ ง S.D. แทน ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน Sig. แทน ระดับความมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ df แทน ระดับชน้ั แหง่ ความเป็นอิสระ (Degree of Freedom) SS แทน ค่า Sum Square MS แทน คา่ Mean Square t แทน ค่าสถิติ t F แทน คา่ สถิติ F % แทน คา่ iร้อยละ รายละเอยี ดการประเมินผลการดาเนนิ งานโครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ อาเภอ ธาตุพนม จังหวัดนครพนม มีดังต่อไปนี้

14 1. ผลกำรรวบรวมประเด็นกำรพฒั นำทนุ ทำงศิลปวฒั นธรรม หรือสงั คมวฒั นธรรม ของงำนศลิ ปะ รว่ มสมัย ที่สำมำรถสรำ้ งมลู คำ่ ทำงเศรษฐกจิ แกช่ ุมชนของภำคเี ครือขำ่ ยภำคประชำสังคม ผู้รายงานเสนอผลการรวบรวมประเด็นการพัฒนาทุนทางศิลปวัฒนธรรม หรือสังคม วัฒนธรรม ของงานศลิ ปะร่วมสมัย ทส่ี ามารถสร้างมลู ค่าทางเศรษฐกจิ แก่ชุมชน ของเครือขา่ ยภาค ประชาสังคมด้วยการวิเคราะห์เน้ือหาโดยอาศัยการจาแนกข้อมูลในระดับภาพรวมตามเหตุการณ์ หรือ เรื่องราวท่ีปรากฏ โดยพยายามอธิบายถึงความเป็นมา สาเหตุ และผลลัพธ์ ด้วยการอาศัยแนวการ วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์โดยรวมของปรากฏการณ์ ได้แก่ การกระทา หรือกิจกรรม ความหมายของการ กระทา หรอื กจิ กรรม การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม ความสัมพันธ์หรือความเชื่อมโยงของคน หรือประเด็น ในสนามการปฏบิ ัติงาน เสนอสาระสาคัญไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี ภูมิหลังสังเขปของกลุ่มชาติพันธ์ใุ นพื้นท่ีคัดสรรปฏิบัติงานตามโครงการคร้ังนี้ คือกลุ่ม ชาติพันธผ์ุ ้ไู ท กลุ่มชาติพันธไ์ุ ทขา่ ตาบลอ่มุ เหม้า อาเภอธาตพุ นม จังหวัดนครพนม และกล่มุ ชาติพนั ธุ์ ไทกวน ชุมชนดงป่ายูง ตาบลนาถ่อน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม กลุ่มคนไทยอีสานพื้นถ่ิน กลุ่ม คนไทยเช้ือสายจีน และกลุ่มคนไทยเช้ือสายเวียดนาม ซึ่งมีภูมิหลังการตั้งถิ่นฐานคล้ายคลงึ กัน คือเป็น ผลมาจากเคล่ือนย้ายหาถิ่นฐานใหม่เพ่ือหลีกเล่ียงแรงผลักดันเชิงลบที่เกิดข้ึนในถ่ินฐานเดิม ภูมิหลัง สังเขปดังกล่าวนี้ถูกส่งถึงผู้รายงานผ่านการศึกษาชุมชน ในหลายระดับ หรือลักษณะ เช่นกิจกรรมชวน คุย เวทีไทบ้าน งานแสดงศิลปวัฒนธรรม หรืองานบอกเล่าเรื่องราวผ่านส่ือสารมวลชน เป็นต้น ดังท่ี รุ่งโรจน์ ตมุ้ ออ่ น ประธานสภาวัฒนธรรมตาบลอุม่ เหมา้ ไดบ้ อกเล่าประวัตกิ ารต้งั ถิน่ ฐานกลุม่ ชาติพันธ์ุ ผู้ไท บ้านอุ่มเหม้า ภายใต้การนาของผู้นาท้ัง 3 ท่าน ได้แก่ นางศรีป่าคา นายคาวงษา และท้าวเพียรศรี ตน้ ตระกูล ตมุ้ ออ่ น ตะวังทัน และ อ่นุ ชยั ตามลาดบั คล้ายคลงึ กบั ท่ีสุระเวศม์ คามงุ คุณ ผ้นู ากล่มุ งาน หัตถกรรมพน้ื บา้ น กลุม่ ชาตพิ นั ธไุ์ ทขา่ บอกเลา่ การเคลอื่ นยา้ ยของสายตระกลู คามุงคณุ เข้ามาอยู่ใน พนื้ ทใ่ี กลเ้ คียงกนั และ ธนกฤต จุรีมาศ ประธานชมรมการกศุ ลธาตุพนม ทวี รงุ่ โรจนอ์ ุดมผล นายก สมาคมคนไทยเชื้อสายเวียดนามอาเภอธาตุพนม ได้บอกเล่าภูมิหลังการเข้ามาต้ังถ่ินฐานของคนจีน15 ตระกูลแซ่ และคนเวียดนาม โดยคาดว่าแรงจูงใจสาคัญในการตัดสินใจต้ังถ่ินฐานคือองค์พระธาตุพนม ซ่ึงเป็นศูนย์กลางและศูนย์รวมจิตใจของผู้คนท้ังในถ่ินฐานเดิม หรือถิ่นฐานใหม่ประกอบกับมีการ จดั ระบบ ระเบียบ ความสัมพันธภ์ ายในกลุ่มไดด้ ี จึงมีความสามารถในการปรบั ตัวเข้ากับระบบการเมือง การปกครอง และเป็นพลเมืองที่ดีของรัฐไทย สามารถดารงรักษาอัตลักษณ์ของตนเอง แลกเปลี่ยนและ เคารพในความแตกต่างได้อย่างเสมอภาค ผ่านงานด้านวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ โดยปรากฏชัดใน ลักษณะของศิลปะพ้ืนบ้าน (Folk Art) งานศิลปหัตถกรรม (Handicraft Art) หรืองานคหกรรมศาสตร์ (Home Economics Art)ท่ีทาด้วยฝีมือสืบๆ ต่อกันมา เพื่อมุ่งประโยชน์ใช้สอยและการดารงชีพในวิถี ประจาวันเปน็ หลัก และมคี วามสามารถตอ่ ยอดงานใหม้ ี ความงาม ความประณตี เพือ่ ส่งตอ่ ใชใ้ นงาน ทม่ี ีคุณค่า เช่นพธิ กี รรมหรือประเพณีเป็นตน้ ดงั ปรากฏเป็นลวดลายผ้าทอท่บี ันทึก และสง่ ต่อความหมาย ที่มีคุณค่าทางใจ หรืองานประดษิ ฐข์ ันกะหย่อง และหมากเบ็ง ซ่ึงเป็นเคร่ืองสูงสาหรับใช้ในงานศาสนพิธี เป็นต้น ต่อมาภายหลังลูกหลาน ของกลุ่มคนดังกล่าวมีส่วนช่วยอนุรักษ์ และสืบสานงานศิลปะพ้ืนบ้าน ท้งั ท่สี ง่ ตอ่ ภายในสายตระกลู หรือการแลกเปล่ียน เรียนรู้ ภายในชมุ ชน ทง้ั แบบไม่เปน็ ทางการ ครูพัก ลักจา หรือในรูปการณ์ประกอบอาชีพอิสระ หรือจัดการร่วมกับส่วนราชการ ในรูปวิสาหกิจชุมชน กลมุ่ ผผู้ ลิตผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน ซ่ึงในรอบ 5 ปยี อ้ นหลงั มจี ดจดั ตงั้ จานวน 12 กลมุ่ ในทง้ั หมด 9 หมูบ่ า้ นของ ตาบล ที่มีประชากร 5,800 คน ซึ่งร้อยละ 87 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงมีข้อสังเกตว่างานด้าน ศิลปหัตถกรรมเป็นงานสร้างสรรค์ท่ีทายามว่าง ผนวกเข้าไปในอาชพี หลัก ดังนั้นการดาเนินงานกิจกรรม ของโครงการ ด้วยการทวนสอบขอบเขต สาระสาคญั และประเดน็ ตา่ ง ๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม

15 ชาติพันธุ์เป็นการเข้าร่วมทาให้ระบบความคิดและคุณค่าดั้งเดิมถูกตีความ ประยุกต์ ต่อยอดให้ระบบ ความคดิ และคุณค่าดัง้ เดิม สามารถปฏิบตั ิการรว่ มสมยั ในระบบคิด และคุณค่าใหม่ผา่ นงานศลิ ปะรว่ มสมยั ในระดับปฏิบัติผู้รายงานปฏิบัติการทางสังคม ร่วมกับเครือข่ายทางสังคม จัดพื้นท่ีทางวัฒนธรรมใน ชุมชนท้องถ่ินท้ังด้าน ส่งเสริมงานผลิต แสดง และจาหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน และการบริการทาง วัฒนธรรม การประมวลสารสนเทศที่เกิดจากการปฏิบัติการ เพ่ือปรับเหมาะรูปแบบ หรือกระบวนงาน และสรา้ งพลวัตกิ ารพัฒนาที่เหมาะกบั บรบิ ทของพ้นื ที่ มีประเด็นสาคัญดังนี้  ภำพ 1 วาไรตี้งานภูมิใจ และไปต่อของศลิ ปนิ พื้นบ้าน ท้ังงาน “หัตถกรรม” อย่างของใช้ และงาน “หัตถศิลป์” อย่างของชม ของสูง ท่ีศิลปินพ้ืนบ้านรังสรรค์ ข้ึนหลากหลายมีความหมายท้ังงานอนุรักษ์ สืบสาน เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ที่มุ่ง พัฒนาท้ังในแง่ “กระบวนการ” “ผลผลิต” และ “ผลลพั ธ์”

16 ขันหมำกเบ็งผำ้ ของทร่ี ะลกึ 1  ภำพ 2 พื้นทีใ่ หม่ของงาน ศลิ ปหัตถกรรมพ้ืนถ่นิ งำนฟื้นคืนขันหมำกเบ็งอสี ำนพนื้ ถน่ิ การเสนอ “มมุ มอง” และ ทดลอง ”ตลาดใหม”่ ด้วยงาน “ศลิ ปะรว่ มสมัย” ทัง้ ในแง่ “เทคนิคโบราณ-งานร่วมสมัย” หรือ “การสร้างอัตลักษณ์ใหม่” เพ่อื เพิม่ มลู คา่ ใหมใ่ ห้กับ ทุนทางศิลปวฒั นธรรมดั้งเดิม

17 กรณีคัดสรร การพัฒนา “มาตรฐาน” งานศลิ ป์ ทัง้ “กระบวนวธิ ี” “บุคคล” และ “ผลงานสรา้ งสรรค์” ทีม่ ี “คนใน”และ “โจทยภ์ ายใน” เปน็ “แกน” ของ “พลวัติ” ในการพัฒนา กระเปา๋ ไมไ้ ผส่ าน พานไมไ้ ผ่สาน  ภำพ 3 หตั ถกรรมจักสาน และผลงานชุมชนเข้มแข็ง

18  ภำพ 4 งานศิลปะสรา้ งสรรคพ์ น้ื ถิ่นกบั ยวุ ศิลปนิ พื้นบ้าน มมุ มองของเยาวชนในการสืบคน้ อตั ลกั ษณ์ ผ่านการนาเสนอชิ้นงานฮปู แตม้ สร้างสรรค์

19  ภำพ 5 งานศิลปะสร้างสรรคพ์ นื้ ถ่ินกบั ศลิ ปนิ พื้นบา้ น พนติ แพงดี ผู้ เติมลมหำยใจ“ฮปู แต้ม” จากภาพเขียนฝาสิมอสี าน สู่งำนฮูปแตม้ ร่วมสมัย ธญั ชนก บุญยารตั น์ ผรู้ ่วมสรา้ งศลิ ปศ์ รทั ธาสคู่ ุณคา่ ร่วมสมัย  ผลงาน ภาพวาดเขา้ กรอบ สนี า้ มนั บนผ้าแคนวาส บุญเทียม คามงุ คณุ ผรู้ ังสรรค์งำน หนำ้ กำกผีโผน สไตล์ชำติพันธุ์อุม่ เหม้ำ สงู่ ำนฮปู แต้มร่วมสมัย

20  ภำพ 6 ดนตรีพน้ื ถน่ิ พณิ พาทย์พระธาตุพนม ดนตรโี บราณฉบับราชสานกั ล้านช้าง ทีถ่ กู กลั ปนาอุทศิ ถวายไวบ้ ูชาพระธาตุพนม พร้อมขา้ โอกาสพระธาตพุ นม ความเป็น ดนตรพี ิธกี รรมจงึ ทาหนา้ ทเ่ี ป็น “กาลเทศ วภิ าค” เสริมความ“ศักดสิ์ ิทธ์ิ” และ “ความเรียบรอ้ ยงดงาม” ตามจารีต

21 วดิ ีโอคลิปสรุปกิจกรรม พระครพู นมปรชี ากร,ดร. โครงการ ผจล.วดั พระธาตพุ นมวรมหาวิหาร นายเดชา จันทศ นายปิตานนท์ ปญั ญา ผเู้ สนอโครงการฯ นายอาเภอธาตุพนม  ภำพ 7 พธิ เี ปิดงานโครงการ พิธีเปดิ งานโครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิ่นอาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม ซ่งึ ไดร้ ับการจดั สรรเงนิ อดุ หนุนการพัฒนา และส่งเสริมศิลปะรว่ มสมัย จากสานักงานศิลปวฒั นธรรมรว่ มสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พระครพู นมปรชี ากร,ดร. ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสวัดพระธาตุพนมวรมหาวหิ าร เมตตาเยยี่ มงานโครงการ นายเดชา จนั ทศ ผู้เสนอโครงการ กลา่ วรายงาน นายปติ านนท์ ปญั ญา นายอาเภอธาตุพนม กลา่ วเปิดงาน

22 ณวอดั.ธพหาตรอะุพจธดนาหมตมุพจานย.นมเหควตรรุพมนหมาวิหาร 1255พ6.ค5.  ภำพ 8 ผดู้ าเนินรายการ กบั ราชุด 8 ชนเผา่ สาวนครพนม ในพธิ เี ปดิ งาน

23  ภำพ 9 บรรยากาศทั่วไปพธิ ีเปิดงาน ผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นายอาเภอธาตุพนม นายกเทศมนตรตี าบลธาตพุ นม ผู้แทนวัฒนธรรมจงั หวัดนครพนม ผู้แทนสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ ธาตุพนม ประธานชมรมองคก์ รเอกชนในอาเภอธาตพุ นม แขกผมู้ เี กียรติ นกั ทอ่ งเทย่ี ว และประชาชนท่ัวไป ให้เกยี รติร่วมแลกเปลยี่ นและสรา้ งแรงบันดาลใจในงานศิลปะทอ้ งถน่ิ ณ บริเวณจัดงาน

24  ภำพ 10 บรรยากาศทั่วไปของงาน ผ้สู ร้างงานศิลปะ ผเู้ กบ็ รวบรวมงานศลิ ปะ ผถู้ า่ ยทอดงานสสู่ าธารณะ และผจู้ ัดการโครงการ รว่ มแลกเปลย่ี นและสรา้ งแรงบันดาลใจในงานศลิ ปะท้องถ่นิ ท้งั ณ จดุ จัดแสดง และ การถา่ ยทอดสสู่ าธารณะผา่ นส่ือสงั คมออนไลน์

25 2. ผลกำรอธบิ ำยรำยกำรเฉพำะของผลงำนสร้ำงสรรคศ์ ิลปะพื้นถน่ิ ผรู้ ายงานไดว้ ิเคราะห์เนื้อหา เพ่ืออธบิ ายรายการเฉพาะ ของผลงานสรา้ งสรรค์ศิลปะ พ้ืนถิ่นเฉพาะกรณี คือ ขันหมากเบ็ง และ ฮูปแต้ม ได้แก่ แนวคิดพ้ืนฐานท่ีใช้ออกแบบงานศิลปะ โครงสร้างแบบรูป อตั ลกั ษณแ์ ละการพัฒนาตอ่ ยอดงาน พบสาระสงั เขป ดงั น้ี 2.1 แนวคิดพ้ืนฐานทใี่ ช้ออกแบบงานศิลปะสร้างสรรค์ 2.1.1ขันหมากเบ็ง ใชค้ ติความเช่ือทางพทุ ธศาสนา เปน็ รากฐานในการออกแบบงานศลิ ปะ ที่สือ่ ความ หมายถึงการเคารพบูชา ซ่ึงอาจเลือกใช้มโนทัศน์ใดมโนทัศน์หน่ึงหรือหลายมโนทัศน์รวมกัน แต่ใช้ จุดอ้างอิงเดียวกัน คือ “หมากเบ็ง” ที่เลือนเสียงจาก “หมากเบ็ญจ์” อันหมายถึงการเคารพ สักการะใน องคค์ ณุ ทั้งหา้ ได้แก่ พระพุทธเจ้าห้าพระองค์1/ ในภทั รกัป หรอื คตแิ ก่นสารสารัตถะของคาสอนเรอื่ ง ขันธ์ 52/ และไตรลักษณ์ ซ่ึงปราชญ์อีสานโบราณจึงเอาขันธ์ทั้ง 5 ในตนประดิษฐ์ถ่ายทอดออกมาเป็น หมากเบ็ง เพื่อน้อมสักการะพระไตรรัตน์ทั้ง 3 เป็นการราลึกถึงพระพุทธองค์ท่ีทรงตรัสสอนให้สัตว์ ทงั้ หลายร้จู กั รปู ขนั ธท์ ้งั 5 จงึ เอาหมากเบ็งตวั แทนแห่งขนั ธ์ 5 ไหว้ธรรม คือ ไหวพ้ ระรัตนตรยั คาว่าหมาก หมายถงึ กอง, หน่วย, ผล คาว่าหมาก ในทน่ี ้ไี มเ่ กี่ยวกบั หมากสาหรบั เค้ียวหรือหมากทใ่ี ชท้ า “หมากเบ็ง” หรอื “หมากสมุ่ ” ทีห่ มายถงึ การนาหมากมา “เบ็ง” คอื ติดตรึง เรียงกันให้สวยงาม หรือ “สุ่ม” คือติดแบบสุ่มบนโครงท่ีทาไว้จนเต็มตามแบบวัฒนธรรมล้านนา ส่วน การท่ีนาใบตองมาประดิษฐ์เป็นการใช้ปรัชญาธรรมแฝงคติส่ือถึง “ไตรลักษณ์” อันเป็นลักษณะสาคัญ ของขันธ์ 5 ที่ถือเอาว่าต้นกล้วยและใบกล้วยเป็นตัวแทนของไตรลักษณ์เวลาปลูกกล้วยก็ไม่มีรากให้เกิด ไม่มีแก่นให้หา แกะเปลือกออกก็แกะไปเรื่อยๆ หาแก่นไม่พบ ไม่มีสารัตถะ อันใดให้ยึดถือ ต่างจากไม้ อน่ื ทมี่ ีราก มเี ปลอื ก มแี กน่ 2.1.2 ฮูปแตม้ สารัตถะและความคดิ ในฮูปแต้มจิตรกรรมอีสานมหี ลายมิติ ได้แก่ จิตรกรรมพทุ ธ ประวัติ จติ รกรรมทศชาดก จติ รกรรมวรรณกรรมเรื่องเลา่ และนิทานพืน้ บ้าน จติ รกรรมพระมาลัย จติ รกรรมรามเกยี รต์ิ จิตรกรรมวถิ ีชมุ ชน และ จิตรกรรมบันทึกเหตุการณ์ แบง่ สารัตถะ ได้เปน็ 2 ความคิด ได้แก่ พระพุทธศาสนาและวถิ ชี ุมชน ซงึ่ ความคิดทัง้ ทางโลก และทางธรรม ได้รับการนาเสนอ อย่างมนี ยั ยะสาคัญ คือการให้พ้ืนที่กบั การนาเสนอเรอื่ งทง้ั สองไม่นอ้ ยกว่ากนั คือการใหพ้ ้ืนที่ในการเขยี น เรอื่ งราวทางพระพุทธศาสนาและวิถีชุมชนอย่างกลมกลืนกัน สะทอ้ นแนวคิดทว่ี า่ วถิ ีธรรมและวิถีโลก เปน็ สงิ่ ทอ่ี ย่คู ู่กันอยา่ งอยากแยกไม่ออก 2.2 โครงสรา้ งแบบรปู 2.2.1 ขนั หมากเบ็ง ช่างโบราณถือว่าขนั หมากเบง็ เปน็ พทุ ธศิลป์อย่างหนึง่ ต้องประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบท่ีทาให้สมบรู ณ์ ดังนี้ ------------------------------------------------ 1/ หมายถงึ พระกกุสันโธ พระโกนาคมโน พระกัสสโป พระโคตโม และ พระศรอี รยิ เมตไตร 2/ หมายถึง รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร และวญิ ญาณ

26 1. ตนี คอื ใบตองหุ้มแก่นกล้วยตีนหมากเบ็ง 2. แก่น คือ ลากล้วยท่ีถกู ใบตองหุม้ เป็นตีนหมากเบ็ง 3. กีบ คือ กลีบใบตองพบั เปน็ เหลยี่ มปลายแหลมประดบั ทศิ เป็นชอ่ ชน้ั ของหมากเบ็ง 4. ซวย คอื กรวยแกนกลางของหมากเบง็ มีลักษณะ“ปลายแหลมตนี กวา้ งปากกลวง” 5. แซม คอื มวลบปุ ผามงคลท่ี “แซมปลายกีบสอดตนี กวย” ของหมากเบง็ ได้แก่ เกสรดอกรัก ดอกพุด จาปา จาปี สามปี และดาวเฮือง เป็นต้น 6. แส้ คือก้านพร้าวยาวตรงปลายยอดสาหรบั รอ้ ยดอกไม้ประดบั หมากเบง็ 7. ขดั คือ กา้ นพรา้ วสน้ั ตัดปลายแหลมเป็นเข็ม ใช้แทงหรอื กลดั ส่วนทงั้ หลาย ให้ติดกัน 8. จอม คอื สว่ นยอดทปี่ ระดับรอ้ ยดอกไม้ท้งั หลายใหย้ าวเรียวขึน้ ไป อย่างไรกต็ ามศิลปหตั ถกรรมท่ีเป็นอัตลกั ษณ์ของชุมชนท้องถิน่ เป็นการผสมผสาน ปรบั เหมาะกบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสภาพความเป็นอยู่ จงึ อาจมรี ายละเอยี ดปลีกยอ่ ย แตกต่างกนั ไปไดแ้ ตเ่ พ่ือให้ส่งิ สักการะทาหนา้ ท่ีทมี่ ีสารัตถะสาคัญครบถ้วน สมบูรณ์ และเกดิ พลังการ สรา้ งสรรค์งานศิลปะทม่ี ีสุนทรียภาพและคุณค่าทางใจ อีกท้งั สามารถสรา้ งสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์ เพ่ือรักษาอตั ลักษณ์อันดงี ามกับพลวัติการเปลีย่ นแปลง ปฏิบตั ิการสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมท้องถนิ่ ตามโครงการนี้จึงได้ขับเคลือ่ นงานศิลปะสร้างสรรค์ “ขันหมากเบ็ง” และ “หมากเบง็ ” อัตลักษณ์ พระธาตุพนม ภายใต้กรอบแนวคดิ “ศิลป์ศรัทธา บชู าพระธาตุ” ร่วมกับศิลปนิ พนื้ บ้านกล่มุ งานสาน วัสดจุ ากตอกไม้ไผ่ และต้นกก และศลิ ปนิ พ้นื บา้ นกลมุ่ ประดิษฐห์ มากเบ็ง เพื่อนาเสนอ และเปลีย่ น ใหเ้ กดิ ทง้ั คณุ ค่า และ มูลค่า ผลทปี่ รากฏคอื มีผลงานหมากเบง็ ใบตองกอกไมส้ ด และขนั หมากเบ็ง ประดิษฐจ์ ากผ้าขนาดย่อสว่ น ในบรรจุภัณฑ์ เปน็ ชน้ิ งานของที่ระลึก ตามโครงสรา้ งแบบรูปดงั ภาพ  ภำพ 11 ภาพสเกตซ์แบบกบั ชิ้นงานสร้างสรรคข์ ันหมากเบ็ง 2.2.2 ฮุปแต้ม โครงสร้างท่มี ีอัตลกั ษณ์จากการการผสมผสาน แสดงผา่ นการใชส้ ใี นการนาเสนอ ระหว่างสีสด เช่น สีแดง สฟี า้ ตดั กบั การใชส้ ฝี นุ่ สคี รามอ่อน และสดี า ซ่งึ เป็นลักษณะพน้ื ถิ่น รวมท้งั ยังมกี ารวาดภาพทิวทศั น์ธรรมชาติ ทัง้ แบบภาคกลางและแบบท้องถ่นิ ใช้การวาดรปู รา่ งด้วยเส้นสีดา หรอื สเี ข้มและใช้สไี ม่มากนัก การผสมผสานจึงนับเปน็ เอกลักษณส์ าคัญของจติ รกรรมในพื้นท่ี ปรากฏ

27 ลกั ษณะเดน่ ของความงามได้แก่ความเรียบงา่ ยคือความงาม มุ่งเน้นการสื่อสารทงั้ ภาพและเนอ้ื หาอยา่ ง ตรงไปตรงมา นาเสนอเน้อื หาเชิงศาสนาและสงั คมได้อย่างมีนัยสาคญั องค์ประกอบภาพอย่างมีอิสระ ไม่ติดกับความเคร่งครดั ของรูปแบบ หรือการลาดบั เรอื่ ง 2.3 อัตลกั ษณ์และการพฒั นาต่อยอดงาน 2.3.1 ขันหมากเบ็ง ดังกลา่ วแลว้ วา่ โจทย์งานการพัฒนาเฉพาะกรณี ขนั หมากเบ็ง ควรสร้างสมดลุ ระหวา่ งการอนุรักษ์เพ่ือรกั ษาอัตลกั ษณอ์ นั ดีงามกบั พลวัติการเปลี่ยนแปลง แม้ผ้รู ายงานในฐานะ ผเู้ สนอโครงการสบื สานศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ตระหนักร้วู า่ การขับเคล่อื นงานใด ๆ ต้องเคารพ ไม่ทาให้ศิลปินสูญเสียแรงบนั ดาลใจ และควรสนบั สนุน ส่งเสริม ให้ศลิ ปนิ สามารถสร้างรายได้จาก งานศลิ ปะของตน ตามเจตนาของการใชเ้ งนิ อดุ หนุนโครงการท่เี สนอขอ ซ่งึ สอดคล้องกับข้อมูลเชงิ ประเมนิ ในพนื้ ทีโ่ ครงการพบว่าเจตนาสร้างคุณคา่ ทางใจและสรา้ งรายได้ เป็นประเดน็ หลักสาคัญในการ สร้างสรรค์งานศลิ ปหตั ถกรรมพน้ื ถ่ินของศลิ ปินพ้นื บ้าน ทั้งยังสอดคลอ้ งกับการพัฒนาพน้ื ทีเ่ ชิงประเดน็ การขนึ้ ทะเบียนพระธาตุพนมเป็นมรดกโลก ทีม่ ีสังกปั ของงานดา้ นการจัดทากิจกรรมด้านเศรษฐกจิ สร้างสรรคใ์ นชุมชนพน้ื ท่ีพระธาตุพนมและพ้ืนทีโ่ ดยรอบและการสบื คน้ พัฒนาดา้ นวัฒนธรรม ความเช่อื และประเพณผี นวกในสังกปั งานท้ังหมดด้วย ดังน้ัน ชุมชนทอ้ งถนิ่ และผูน้ าชุมชนท้องถ่นิ ควรมวี ิสยั ทศั น์ ในการสร้างฉนั ทามตริ ่วมในแนวทางการส่งเสรมิ อัตลักษณ์และและพัฒนาต่อยอดงาน ได้แก่การจดั การ ถ่ายทอด ทานบุ ารงุ สบื ทอด พัฒนา การทาขอ้ มูลสารสนเทศ การผนวกงานเขา้ ไปในภาค การศกึ ษา และการท่องเทย่ี ว โดยบูรณาการงานรว่ มกบั หลายภาคส่วน บคุ ลากรทางศลิ ปะหลากหลาย และการบริหารจัดการทเ่ี หมาะสม ทั้งนมี้ ีการพัฒนาต่อยอดงาน ดังแผนภาพ

28 ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ สนใจประดษิ ฐช์ ้นิ งานประดษิ ฐ์ ใหป้ ระณีต มากข้นึ หรอ้ มกบั สรา้ งอตั ลกั ษณใ์ หมใ่ หก้ บั พ้นื ทว่ี ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ร่วมกนั ยกร่างความคดิ เสนอผลติ ภณั ฑข์ องทร่ี ะลกึ เพอ่ื ใหเ้กดิ การและเปลย่ี น ผลงานศิลปะใหส้ ามารถสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว เชงิ วฒั นธรรม ในพ้นื ท่ี งานคน้ หา \"อตั ลกั ษณฺ์\" ขนั หมากเบง็ ดว้ ยงานประดษิ ฐ์ จากวสั ดุในสง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม แทนตนคือเบญจขนั ธ์ อยา่ งใบตอง และวสั ดุทดแทนใบตอง เพอ่ื สอ่ื ศรทั ธาบูชาพระ งาน \"หตั ถกรรม\" ของใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั จากงาน \"หตั ถกรรม\" สูง่ าน \"หตั ถศิลป์\" ดว้ ยการนา \"ตน้ กก\" มาคดั ตอกสานทร่ี อง เป็นการถา่ ยโอนประสบการณ์ สรา้ ง แกว้ นา้ ดว้ ย \"ลายขดั ตาแหลว\" และปิดขอบ up stream เพอ่ื คุณค่าใหมภ่ ายใต้ บน ลา่ ง เสรมิ ความแขง็ แรงและช่วยสรา้ ง โครงการสบื สานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ อาเภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม ไฮไลทใ์ หล้ ายขดั ดว้ ยลายเก้ยี ว สนบั สนุนโดย สานกั งานศิลปวฒั นธรรม ร่วมสมยั กระทรวงวฒั นธรรม  ภำพ 12 ความก้าวหนา้ ของการพัฒนา ชน้ิ งานขันหมากเบ็งสร้างสรรค์

กะหยอ่ งตน้ กกสา ตวั ขนั ลายขดั ตาแหล ขอบบนกบั ตนี ของข สานลายเก้ยี วมสี มด รูปทรงมากข้นึ กะหยอ่ งตน้ กกสาน ตวั ขนั ลายขดั ตาแหลว ขอบบนกบั ตนี ของขนั สาน ลายเก้ยี วยงั ขาดสมดุลรูปทรง  ภำพ 13 ความก้าวหน จากต้นกก และจากต้นไม้ไผ

29 กะหยอ่ งไมไ้ ผ่สาน ตวั ขนั ใชต้ อกยนื รูปร่างแบน าน และใชต้ อกเลก็ กลมสาน ลว ลายเก้ยี วเสรมิ ความ ขนั แขง็ แรงขอบบนกบั ดุล ตนี ของขนั สานลายสอง มสี มดุลรูปทรงเก็บขอบ เรยี บรอ้ ยมากข้นึ กะหย่องไมไ้ ผ่สาน ตวั ขนั ลายขดั ตาแหลว ขอบบนกบั ตนี ของขนั สานลายสอง ยงั ขาดสมดุล รูปทรง และเก็บขอบ ไมเ่ รยี บรอ้ ย น้าของการพัฒนาช้ินงานขันหมากเบง็ ผ่

30 2.3.2 ฮปู แต้ม ฮปู แต้มมีคุณค่า และความสาคัญของงานจติ รกรรมอีสานในมติ ิ ทม่ี ีความ หลากหลาย สงั เคราะห์เปน็ แนวคิดทีม่ คี วามหลากหลายท้งั รปู แบบศิลปะ เน้ือหา แนวคิด สามารถนาไป ปรับใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ได้ในปัจจุบนั ที่เดน่ ชดั ไดแ้ ก่การที่จติ รกรรมเป็นมรดกทางภมู ิปัญญา และมรดก ทางวัฒนธรรมของชุมชน เป็นพุทธศลิ ปท์ ใี ชส้ ุนทรียภาพ หรือความงามจากภาพจติ รกรรมสื่อสารเนอื้ หา ทางพระพุทธศาสนาทงั้ ในแง่พทุ ธธรรม คุณธรรมจริยธรรม ประสานกับเนื้อหาท่ีเก่ยี วกบั วิถีชมุ ชนอยา่ ง กลมกลนื ทาใหเ้ ขา้ ใจชวี ิตและสงั คมไปพรอ้ มกัน ซ่ึงศิลปนิ พื้นบ้านอาจรงั สรรคง์ านบันทึกเรื่องราวเชิง จดหมายเหตุ หรือเล่าเรื่องราวผา่ นกรอบแนวคิด จินตนาการ หรือโลกทศั นข์ องตนคนพื้นที่ เพื่อสื่อสาร ถงึ สงั คม ด้วยผลงาน “ฮปู แต้มสรา้ งสรค์” ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของผู้รายงานในฐานะผ้เู สนอโครงการ ทป่ี ระสงคส์ บื สานและขับเคล่ือนงานศลิ ปะดังกลา่ วให้สามารถสรา้ งรายไดแ้ กช่ ุมชน ดว้ ยเทคนคิ การใช้ “เทคนิคโบราณ-งานร่วมสมยั ”หรือ “ทาใหมไ่ มไ่ รร้ ากเหงา้ ”โดยการใชง้ านทัศนศลิ ป์สาขานี้เปน็ ส่วนหนึ่ง ของการออกแบบ หรอื ทดลองแบบ ผลิตภัณฑ์ของทร่ี ะลกึ ซึง่ เป็นสินคา้ ทางด้านการท่องเที่ยวในแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชงิ ศาสนาทีส่ าคัญ ในพ้นื ทีป่ ฎบิ ัติการของโครงการสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินอาเภอ ธาตุพนม จังหวัดนครพนม เชน่ วัดพระธาตพุ นมวรมหาวิหาร โดยท่ีการปฎิบตั ิงานโครงการได้ชว่ ยให้ มีการขับเคลอ่ื น เกดิ ความก้าวหน้าของงาน ดงั น้ี  ภำพ 14 ภาพฮปู แต้มงานจิตรกรรมผนงั โบสถ์วัดในพื้นทอ่ี าเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม

31 นคิ : พนิต แพงดี ผู้ เตมิ ลมหำยใจ“ฮูปแต้ม” จากภาพเขียนฝาสมิ อีสาน สูง่ ำนฮปู แต้มร่วมสมัย  ภำพ 15 ภาพฮูปแต้มรว่ มสมัย

32 นาฬกิ าแขวนผนัง ฮปู แตม้ กระดาษโฟโต เข้ากรอบ กระปกุ ออมสนิ ฮปู แตม้ ไม้ไผ่ ยุวศิลปนิ กับงานฮปู แต้ม โคมไฟฮปู แต้ม ฮปู แต้มหน้ากากผโี ผน กลุม่ ชาติพนั ธ์ผุ ู้ไทบา้ นอุม่ เหมา้  ภำพ 16 ภาพการต่อยอดงานฮูปแต้มงานในพนื้ ท่ีใหม่

33 2.4 กระบวนงานสร้างสรรค์ 2.4.1 แผนท่ีคนดี (People Mapping) เป็นเครอื่ งมือได้ถูกนามาปฏิบัตกิ ารทาง สังคม โดยใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ มของชุมชนในมิติของการเรียนรู้ และปฏบิ ัติการทางสงั คมร่วมกัน ผ่าน สถาบัน องคก์ ร หรือปจั เจกชน โดยการบรู ณาการงานผา่ นการสร้าง และพฒั นาเครอื ขา่ ยสืบสาน ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่นิ อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม รงั สรรคง์ านศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ินหลากหลาย แขนงท่สี ามารถเชื่อมโยงถงึ รากเหง้าด้านวัฒนธรรมชุมชนดว้ ยการสร้างพื้นที่ทางวฒั นธรรมสร้างสรรค์ ดงั ที่ ไดร้ ะบุไวเ้ ป็นหนึง่ ในหลกั การสาคญั ของโครงการ หรอื เปน็ เทคนคิ การสร้าง และใชเ้ ครอื ข่ายผู้คนเพื่อ ขบั เคลอื่ นงานในกลไกประชาสงั คม ซ่งึ ในโครงการฯ คร้งั น้ี แผนทคี่ นดีเป็นกระบวนงานทีใ่ ชใ้ นการพัฒนา ต่อยอดผลงานศลิ ปะพนื้ ถิ่นจานวน 2 รายการ คือ ชิน้ งานศิลปะขันหมากเบ็งสร้างสรรค์ กบั ชิ้นงาน ศลิ ปะฮูปแตม้ สร้างสรรค์ ตามภาพ 17-18  ภำพ 17 ภาพแผนท่คี นดี (People Mapping) ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานขนั หมากเบ็งสร้างสรรค์ สร้างสรรค์

34  ภำพ 18 ภาพแผนทค่ี นดี (People Mapping) ในการสร้างสรรค์ชน้ิ งานฮูปแตม้ สรา้ งสรรค์ 2.4.2 งานแสดงและแลกเปลยี่ นงานศิลปะผา่ นส่อื สังคมออนไลน์ สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นอปุ สรรคต่อการดาเนินงานได้ช่วย กระตุน้ ให้เกดิ การสร้างสรรค์งานศิลปะชุมชนด้วยสอื่ สงั คมออนไลน์ ทง้ั การไลฟส์ ดกจิ กรรมในวันจดั งาน และการใชส้ ่ือสมัยใหม่ชว่ ยเล่าเรือ่ ง โปรโมทผลติ ภัณฑ์ชุมชนจากชมุ ชนของศิลปินพนื้ บ้าน และชว่ ยเพิม่ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ การแลกเปลย่ี นชิ้นงานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน จากเพจของโครงการและเพจอืน่ ๆ ทที าใหม้ ี คนเขา้ ถึงได้มากขึ้นในวันจดั งานโครงการ ดังนัน้ การชว่ ยสง่ เสรมิ การสรา้ งรายได้จากงานศลิ ปะชุมชน จึง เกิดขนึ้ ได้ท้งั ในสว่ นการจดั งานในบริเวณพืน้ ทีจ่ ดั งาน (on site) และการจาหน่ายผ่านสอ่ื สงั คมออนไลน์ ซง่ึ นบั เปน็ การสร้างโอกาสใหม่ในวิกฤติ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปกติ โดยมคี วาม เหมาะสมกบั ยคุ พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ ภายใต้โครงการนีไ้ ด้ดาเนนิ การดงั น้ี 2.4.1 การถ่ายทอดสด (ไลฟ์สด) ผ่านกระบวนงาน (Plateform) เพจ เฟซบคุ๊ ด้านท่องเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรมคอื เพจเฟซบุ๊ค“เที่ยวนครพนม”และ “นครพนมบ้านเฮา”กระบวนงาน เชิงขา่ ว คือเพจเฟซบุ๊ค “ธาตพุ นมนิวส์” ปรากฏว่ามีผู้เขา้ ชมบรรยากาศงานโครงการโดยทวั่ ไป และ ชมบรรยากาศพธิ เี ปิดงานโครงการผ่านกระบวนงานดงั กล่าว รวมจานวน 15,990 คน และ 12,137 คน ตามลาดับ ผลดังภาพ 19-23

35  ภำพ 19 ภาพบันทกึ หน้าจอถา่ ยทอดสดบรรยากาศงานชว่ งเชา้ ผา่ นเพจเฟซบ๊คุ เที่ยวนครพนม จานวนผู้เข้าถงึ 6,220 คน  ภำพ 20 ภาพบนั ทกึ หนา้ จอถ่ายทอดสดพิธเี ปดิ งานโครงการ ผ่านเพจเฟซบุ๊คเทีย่ วนครพนม จานวนผ้เู ข้าถึง 2,921 คน

36  ภำพ 21 ภาพบนั ทึกหน้าจอถา่ ยทอดสดบรรยากาศงานช่วงเช้า ผ่านเพจเฟซบุ๊คนครพนมบา้ นเฮา จานวนผู้เข้าถึง 9,770 คน

37 2.4.2 ประชุมปฏบิ ัตกิ าร สร้างทีมผ้ดู ูแล (แอดมิน) เพจเฟซบคุ๊ ของ ทุกกลมุ่ ชาติพันธุใ์ นขอบเขตพ้ืนที่ ปฏิบตั ิการโครงการ ตามภาพ xx-XXX  ภำพ 22 ภาพบันทึกหน้าจอถ่ายทอดสดพธิ ีเปดิ งานโครงการ ผ่านเพจเฟซบคุ๊ นครพนมบา้ นเฮา จานวนผเู้ ข้าถึง 9,216 คน

38  ภำพ 23 ภาพบันทกึ หนา้ จอขอ้ มลู ถา่ ยทอดสดพธิ เี ปิดงานโครงการ ผ่านเพจเฟซบุ๊ค ThatphanomNews จานวนผเู้ ข้าถึง 2,700 คน 2.4.2 การสร้างเพจเฟซบุ๊คของโครงการ ชอื่ เพจ “สบื สานวัฒนธรรม ธาตุพนม” เป็นการออกแบบกระบวนงานในลักษณะการนาเสนอสาระของงานศลิ ปวัฒนธรรมด้วยส่ือใหม่ (New Media) ภายใต้กระบวนงานของสอ่ื สงั คมออนไลน์ ในพื้นทปี่ ฏิบัตกิ ารของโครงการและพนื้ ทที่ ่ี เกย่ี วข้อง โดยริเรม่ิ พฒั นากล่มุ ผดู้ แู ล (แอดมิน) เพจ จากทกุ กล่มุ ชาตพิ นั ธใ์ุ นพืน้ ท่ี ชว่ ยกันกาหนดขอบขา่ ย โครงสร้าง และผังการนาเสนอ ด้วยการประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร ดงั แสดงด้วยภาพ 24

39  ภำพ 24 ภาพการประชุมปฏิบตั กิ ารสร้างแอดมนิ เพจเฟซบุคโครงการ

40 3. ผลกำรประเมินควำมคิดเห็นของผ้เู ขำ้ รว่ มงำนโครงกำรสืบสำนศิลปวัฒนธรรมท้องถน่ิ อำเภอ ธำตพุ นม จงั หวดั นครพนม รำยด้ำน และภำพรวม ผู้รายงานได้วิเคราะห์ข้อมูล ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม รายด้านและภาพรวม จาแนกตาม ประสบการณ์ด้วยสถิติบรรยาย ปรากฏผลและความหมาย ดังแสดงในตาราง 6 ตำรำง 6 ผลการประเมินความคดิ เห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน อาเภอ ธาตุพนม จงั หวดั นครพนม รายด้าน และภาพรวม ท่ี ประเดน็ คาถาม X S.D. ความหมาย 1. มจี ิตสานกึ ในการสบื สานศิลปวฒั นธรรมท้องถิน่ 4.92 .26 ความคดิ เห็นระดับมากทส่ี ดุ 2. ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่นิ มคี วามสาคัญต่อชีวติ ประจาวนั 4.92 .33 ความคดิ เหน็ ระดบั มากทส่ี ดุ 3. ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่นิ สามารถสร้างรายชุมชน 4.91 .35 ความคดิ เหน็ ระดบั มากทส่ี ดุ 4. ศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่นสามารถพัฒนาต่อยอดมคี ุณค่าทางใจ 4.96 .27 ความคดิ เห็นระดับมากทส่ี ดุ 5. ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ สามารถพัฒนาตอ่ ยอดให้มมี ูลค่า 4.94 .23 ความคิดเหน็ ระดบั มากทส่ี ดุ ทางเศรษฐกิจ ด้ำนควำมคำดหวัง “ก่อน” เข้ำร่วมกจิ กรรมโครงกำร 4.93 .25 ควำมคดิ เหน็ ระดบั มำกที่สดุ 6. มจี ติ สานึกในการสืบสานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น 4.94 .30 ความคดิ เห็นระดับมากทส่ี ดุ 7. ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิ่นมคี วามสาคญั ตอ่ ชวี ติ ประจาวัน 4.94 .30 ความคดิ เห็นระดบั มากทส่ี ดุ 8. ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ สามารถสร้างรายชุมชน 4.96 .19 ความคิดเห็นระดบั มากทส่ี ดุ 9. ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่นิ สามารถพฒั นาตอ่ ยอดมีคุณคา่ ทางใจ 4.98 .13 ความคดิ เห็นระดับมากทส่ี ดุ 10. ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถน่ิ สามารถพฒั นาตอ่ ยอดใหม้ มี ูลค่า 4.94 .30 ความคิดเห็นระดบั มากทส่ี ดุ ทางเศรษฐกจิ ดำ้ นผลท่ไี ด้รับ “หลัง” เข้ำร่วมกิจกรรมโครงกำร 4.95 .19 ควำมคิดเหน็ ระดับมำกท่สี ุด 11. การประชาสัมพันธ์กจิ กรรมโครงการนี้ 4.74 .48 ความคดิ เหน็ ระดับมากทส่ี ดุ 12. รูปแบบการจดั กจิ กรรมโครงการน้ี 4.79 .40 ความคิดเห็นระดบั มากทส่ี ดุ 13. การประสานงานและอานวยความสะดวก 4.66 .47 ความคิดเหน็ ระดับมากทส่ี ดุ 14. ความพึงพอใจโดยภาพรวมตอ่ การจดั โครงการ 4.81 .39 ความคิดเหน็ ระดับมากทส่ี ดุ 15. ควรพัฒนากจิ กรรมโครงการอยา่ งตอ่ เนื่อง 4.81 .39 ความคดิ เหน็ ระดับมากทส่ี ดุ ดำ้ นกำรบรหิ ำรจดั กำรกจิ กรรมโครงกำร 4.76 .39 ควำมคดิ เหน็ ระดบั มำกที่สุด ภำพรวม 4.88 .18 ควำมคิดเห็นระดับมำกที่สุด จากตาราง 6 ผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม มีความคดิ เห็นต่องานโครงการ รายดา้ นและภาพรวม ในระดับมาก (=3.71 , 3.74 ,3.81 , 69 ,3.6 ,.76 และ 3.72 S.D.= 0.46 , 0.45 , 0.4 ,0.47 ,0.48 ,0.43 และ 0.31 ตามลาดับ

41 4. ผลกำรเปรยี บเทยี บควำมคิดเหน็ ของผเู้ ข้ำรว่ มงำนโครงกำรสบื สำนศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่นิ อำเภอ ธำตพุ นม จงั หวัดนครพนม จำแนกตำมประสบกำรณเ์ ขำ้ รว่ มงำนและสถำนภำพ ผรู้ ายงานไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มูล เปรยี บเทยี บความคดิ เห็นของผู้เขา้ รว่ มงานโครงการสืบ สานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถนิ่ อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม จาแนกตามประสบการณ์เข้ารว่ มงานและ สถานภาพ ดว้ ยสถิติ t (t-test) และสถติ ิ F (One-Way ANOVA) ปรากฏผลและความหมาย ดังแสดง ในตาราง 7-8 ตำรำง 7 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม จาแนกตามประสบการณ์เข้าร่วมงาน ประสบการณ์การเข้าร่วมงาน n X S.D. df t Sig. (2-tailed) เคยเขา้ ร่วมงาน 15 4.81 0.24 51 -1.640* ไมเ่ คยเข้ารว่ มงาน 38 4.90 0.15 .107 * แตกตา่ งอยา่ งไมม่ นี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 จากตาราง 7 พบว่า ผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ท่ีมีประสบการณ์การเข้าร่วมงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่องานโครงการ แตกต่าง กนั อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 (t= -1.640 Sig. 2-tailed = .107) ตำรำง 8 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม จาแนกตามสถานภาพ สถานภาพ SS df MS F Sig. (2-tailed) ระหว่างสถานภาพ 0.013 2 .007 ภายในสถานภาพ 1.764 50 .035 .190* .828 รวม 1.777 52 * แตกต่างอย่างไมม่ นี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 จากตาราง 8 พบว่า ผู้เข้าร่วมงานโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ท่ีมีสถานภาพแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่องานโครงการ แตกต่างกันอย่างไม่มี นยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 (F= .190 Sig. 2-tailed = .828)