Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore a012_2

a012_2

Published by Kwang K Nungrudee, 2021-01-21 03:51:52

Description: a012_2

Search

Read the Text Version

สำ� นกั อนำมยั ส่งิ แวดล้อม กรมอนำมยั กระทรวงสำธำรณสุข

ชอื่ หนงั สือ : คู่มือประชาชน รือ้ ...ลา้ ง...หลังนา้� ลด จัดท�ำโดย : สา� นกั อนามยั สิง่ แวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ โทรศพั ท ์ 0 2590 4257 โทรสาร 0 2590 4260 พิมพค์ ร้งั ท ี่ 2 : สงิ หาคม 2560 จำ� นวนพิมพ ์ : 7,500 เลม่ พิมพท์ ่ี : บรษิ ทั สามเจรญิ พาณชิ ย ์ (กรุงเทพ) จา� กดั

คำ� น�ำ อุทกภัยหรือน�้าท่วม เป็นสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น ทุกปี แต่ละครั้งมีความรุนแรงแตกต่างกันไปตามสภาพ ภมู อิ ากาศและบรบิ ทของพนื้ ท ่ี ซงึ่ บางครงั้ รนุ แรงและเกดิ เปน็ วงกว้าง ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน โดย เฉพาะผลกระทบดา้ นอนามัยส่งิ แวดลอ้ ม จากการขาดแคลน นา้� สะอาด อาหาร ทพ่ี กั อาศัย ขยะ ปฏิกูล ฯลฯ ดงั นั้น เมื่อน�้าเริ่มลด ประชาชนจึงต้องช่วยกันท�าความสะอาด บา้ นเรอื น ปรับปรงุ แกไ้ ข ฟ้ืนฟใู ห้บ้านเรอื นกลบั คืนส่ภู าวะ ปกตโิ ดยเรว็ ทง้ั นเ้ี พอ่ื สขุ อนามยั ของประชาชนทง้ั ดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ กรมอนามัย ห่วงใยสุขภาพและความเป็นอยู่ของ ประชาชน จงึ ไดจ้ ัดท�า คู่มือประชำชน ร้อื ...ลา้ ง...หลงั น้า� ลด ขึ้น เพ่ือให้ประชาชนได้ใช้เป็นแนวทางน�าไปปฏิบัติได้ด้วย ตนเอง หรอื รว่ มแรง รว่ มใจฟน้ื ฟชู มุ ชนใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกนั ได้อยา่ งปลอดภัย ป้องกนั การแพร่กระจายของเชอ้ื โรค ส�านกั อนามัยสิง่ แวดล้อม กรมอนามยั สิงหาคม 2560

สำรบัญ หน้า คำ� นำ� 6 สำรบัญ 7 7 1. ตรวจด…ู ระบบไฟฟา้ 8 2. ตรวจด…ู ความเสยี หาย 11 3. เตรยี มการ…กอ่ น ร้ือ ลา้ ง 13 4. ลงมอื รื้อ ล้าง...บา้ น 14 5. ร้ือ ลา้ ง...ครัว 15 6. รื้อ ล้าง...ส้วม 16 7. รอ้ื ล้าง...สงิ่ ของ เครือ่ งใช ้ 20 8. จัดการ...ขยะ 9. จดั การ...น้า� ด่มื น�า้ ใช้ 22 10. จัดการ...หน ู แมลงวนั และแมลงสาบ 23 สรปุ บรรณำนกุ รม คณะผู้จดั ทำ�

นา้� ท่วม พัดพาขยะ โคลนตม สง่ิ สกปรกมาจากทุกสารทิศ ทา� ใหส้ ิ่งของเปียกน้�าเสยี หาย เม่อื น�้าลดสภาพแวดลอ้ มจึงเต็มไปดว้ ย ขยะ เกดิ การหมกั หมม ทา� ใหเ้ กิดโรคระบาดได ้ ดงั นั้น ทุกคนจงึ ต้อง ชว่ ยกนั ฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ มและท่พี ักอาศยั ใหส้ ะอาด ปลอดภัยจาก เช้อื โรค อบุ ตั เิ หตแุ ละสัตวม์ พี ษิ กรมอนามยั หว่ งใยสขุ อนามัยของ ประชาชน จึงแนะน�าแนวทางการรื้อ ล้าง หลังน้�าลดให้สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค 5

อันดับแรก 1. ตรวจด.ู ..ระบบไฟฟ้ำ 1) สวมรองเท้าบูทและถุงมือ ท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า สับคัตเอ๊าท์ลง ห้ามแตะอุปกรณ์ไฟฟ้าขณะตัวเปียกช้ืน อาจถกู ไฟดดู ได้ 2) หากปล๊ักไฟ สายไฟ เปียกชื้น ต้องรอให้แห้งสนิทก่อน ใช้งาน เพื่อป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร หากไม่ม่ันใจให้เรียกช่างมาดู และ ซ่อมแซมส่วนที่ช�ารุดหรือเปลี่ยนใหม่ เพอื่ ความปลอดภัย 6

2. ตรวจด.ู ..ควำมเสียหำย ส�ารวจ ตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างบ้านและ บรเิ วณโดยรอบ เชน่ เสาเรอื น ผนังบา้ น ประตู หนา้ ตา่ ง หลงั คา ระเบยี ง รว้ั ประตูรว้ั ฯลฯ ตอ้ งมัน่ คง แขง็ แรง ใชง้ านได้ตามปกต ิ 3. เตรียมกำร...กอ่ นร้อื ลำ้ ง 1) เตรียมอุปกรณ์ท�าความสะอาด เช่น ถุงด�า ไม้กวาด แปรงถพู ้นื ชนดิ มดี า้ ม ผงซกั ฟอก ถงั น้า� สายยางฉดี น�า้ ฯลฯ 2) เตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น หนา้ กากอนามัย รองเทา้ บทู ถุงมือ 3) เก็บรวบรวม คัดแยกเศษวสั ดุและขยะท่ียังขายได้ เช่น พลาสติก แกว้ โลหะ สว่ นขยะทข่ี าย ไม่ได้ใหใ้ ส่ถงุ ดา� มัดปากถงุ ให้ แนน่ นา� ไปกองรวมกนั ไวย้ งั จดุ รวบรวมขยะ เพื่อให้ท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบน�า ไปกา� จัด 7

4) ขณะส�ารวจ เกบ็ กวาดลา้ ง ให้ระวังสตั วม์ ีพษิ เชน่ ตะขาบ แมงปอ่ ง ง ู ทหี่ นนี า�้ มาหลบซอ่ นอยู่ ใหใ้ ชไ้ มเ้ ขยี่ หรอื เคาะให้สัตว์เหล่าน้ันหนีไปก่อน หรือ แจง้ หนว่ ยก้ภู ยั มาจบั ไป 4. ลงมือ...ร้อื ล้ำง บำ้ น หลังน�้าลด ต้องล้างทันที จ ะ ข จั ด ค ร า บ ส ก ป ร ก ไ ด ้ ง ่ า ย โ ด ย ถูคราบสกปรกด้วยแปรงด้ามยาวและ ขนแปรงแข็งๆ ใช้ผงซักฟอกผสมน้�าราด บริเวณท่ีจะท�าความสะอาด ใช้น�้าหมัก ชีวภาพหรืออีเอ็มช่วยก�าจัดคราบสกปรก และกลนิ่ เหมน็ ไมใ่ ชน้ า�้ ยาทา� ความสะอาด ทม่ี สี ารเคมเี ขม้ ขน้ เพราะอาจเปน็ อนั ตราย ตอ่ ผู้ทา� ความสะอาด พืช สัตวน์ ้า� สภาพแวดล้อม แหลง่ นา้� และดนิ 1) เปิดประตู หน้าต่างให้ อากาศถ่ายเทสะดวกและระบายความช้ืน หากพื้นบ้าน ปูปาเก้หรือกระเบื้องยาง หลุดลอ่ น ส่งกลิ่นเหม็น ใหน้ �ามาผ่งึ แดด ผงึ่ ลมให้แหง้ เกบ็ ไวใ้ ชป้ ระโยชน์อื่น เช่น ท�าฟืน หากยังมีสภาพดี น�ากลับมาใช้ ใหม่ได้ ปาเก้ท่ียังเปียกชื้น ห้ามทา 8

น�้ามันแลคเกอร์หรือสารเคลือบผิวจะท�าให้ความช้ืนไม่ระบายออกไป ถ้าจะปูปาเก้ใหม่ต้องรอให้พื้นปูนแห้งสนิทก่อน มิฉะน้ันกาวจะติด ไดไ้ ม่ดแี ละเกิดเช้ือรา กรณีพ้ืนปูด้วยพรม ต้องลอกพรมออก น�าไปซักให้สะอาด ผง่ึ แดดให้แห้ง และรอใหพ้ ้ืนแหง้ สนทิ ก่อนจงึ ปูพ้นื ใหม่ เพอ่ื ให้ความช้นื ระบายออกไป ไม่เกดิ กลิ่นเหมน็ และเชอื้ รา 2) ผนังบ้านท่ีท�าด้วยไม้ หรือฉาบปูน เมื่อขัด ล้างแล้ว ต้องเปิดประตู หน้าต่างระบาย ความช้ืนออกไป เมื่อเน้ือไม้แห้ง ดีแล้วจึงใช้น�้ายารักษาเน้ือไม้หรือ ทาสี ไม่วางส่ิงของชิดผนัง ถ้าผนังท�าด้วยยิปซั่มหรือวัสดุ อ่ื น ใ ด ท่ี เ ป ี ย ก น�้ า แ ล ้ ว ยุ ่ ย ห รื อ เสยี หาย ต้องเลาะทงิ้ เปลย่ี นใหม่ 9

3) ตรวจสอบฝ้า เพดาน หากม ี นำ�้ ทว่ มขงั หรอื ความชน้ื อยภู่ ายใน การเดนิ สายไฟ ไว้ในฝ้า ความเปียกช้ืนจะท�ำให้ไฟฟ้าช็อตได้ หรอื อาจมสี ตั วม์ พี ษิ สตั วพ์ าหะนำ� โรคอาศยั อย่ ู 4) ท�ำความสะอาดบริเวณโดยรอบ ที่พักอาศัย เก็บส่ิงของให้เป็นระเบียบ หากรกรุงรังจะเป็นที่อาศัยของสัตว์มีพิษหรือ สตั วพ์ าหะนำ� โรค 5) ล้างท�ำความสะอาด ทอ่ ระบายน้�ำ เพ่ือให้นำ�้ ไหลได้สะดวก ไมม่ ขี ยะ โคลนตมตกค้าง โดยใชน้ ำ�้ ฉีดล้าง และใช้ผงซักฟอกผสมนำ�้ ราด ขดั ล้างอีกครงั้ 6) เกบ็ กวาดขยะ เศษใบไม้ ใบหญ้า สงิ่ ต่างๆ ทหี่ มกั หมมอยูใ่ นบ่อ หรอื แอง่ นำ�้ โดยสบู นำ้� ออกใหเ้ หลอื นอ้ ย ที่สุด แล้วใช้น�้ำหมักชีวภาพหรือ น้�ำอีเอ็มเทลงในแหลง่ น้�ำนน้ั จุลนิ ทรีย์ จะช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้�ำ ช่วยลดกลน่ิ เหมน็ ได้ การใชจ้ ลุ นิ ทรยี อ์ เี อม็ ทมี่ ขี ายในทอ้ งตลาด ใชอ้ ตั ราสว่ น 1 กรมั ต่อน้�ำเสีย 1,000 ลติ ร ใช้ซำ�้ ไดท้ กุ 7 วัน หลงั การใช้ 3 – 4 วัน กลิ่นจะลดลง สีของน�้ำจะเรมิ่ เปล่ยี นจากสีดำ� เปน็ สนี ้�ำตาล และใสขึ้น 10 1111

7) สา� รวจเสาไฟ ปา้ ยต่างๆ ห า ก ช� า รุ ด ต ้ อ ง รี บ ซ ่ อ ม แ ซ ม ห รื อ แจ้งผู้เก่ียวข้อง หากพบต้นไม้ ที่อาจโค่นล้มหรือเอียง ให้หาไม้มา ค�้ายัน ระบายน้�าที่ขังอยู่โคนต้นออก ป้องกันรากเน่า ถ้าพบซากสัตว์ ให้ฝังกลบโดยเร็วป้องกันการแพร่ กระจายของเชอ้ื โรค 5. รอ้ื ล้ำง...ครัว 1) สา� รวจฝาผนงั พนื้ เพดาน ฯลฯ หากช�ารุดเสียหายให้ซ่อมแซม ถา้ พบเชือ้ ราต้องก�าจดั เชื้อรา โดยแยก อาหารออกจากบรเิ วณทขี่ ดั ลา้ ง กา� จดั เชอ้ื รา 2) ตรวจด ู จาน ชาม เขยี ง หมอ้ ชนั้ วางของ ตกู้ บั ขา้ ว ลา้ งทา� ความ สะอาด ผึ่งแดดให้แห้งก่อนเก็บ เขียงที่มีเชื้อราต้องท้ิง อย่าเสียดาย และเก็บอาหารแห้งให้ห่างความชื้น ป้องกนั การเกดิ เชื้อรา 11

3) เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีเปียกชื้น ต้องผึ่งแดดไล่ความช้ืน ก่อนน�ามาใช้งาน หากช�ารดุ ตอ้ งซ่อมแซมหรอื เปล่ียนใหม่ เพ่ือความ ปลอดภยั 4) ตรวจดูขา้ วสาร อาหาร แห้ง หอม กระเทียม หรืออาหาร ที่เก็บไว้ หากถูกน�้าท่วมให้ทิ้งไปอย่า เสียดาย และไม่ซื้ออาหารทีถ่ ูกน�า้ ท่วม เพราะนา้� สกปรกอาจปนเปอ้ื นในอาหาร 5) หลังนา้� ลด ควรเลือกซอ้ื อาหารจากตลาดหรือร้านค้า ท่ีมีการ ล ้ า ง ท� า ค ว า ม ส ะ อ า ด อ ย ่ า ง ถู ก ห ลั ก สุขาภิบาล เมอ่ื ซอ้ื มาแลว้ ต้องล้างให้ สะอาดกอ่ นกิน 6) กินอาหารปรุงสุกใหม่ มีภาชนะปกปิด อย่าให้แมลงวันตอม หมัน่ ล้างมอื ดว้ ยน้า� และสบ่ ู ท้งั ก่อนกนิ อาหาร หลังการใช้ส้วมหรือหยิบจับ ส่ิงของสกปรก 12

6. รอ้ื ล้ำง...สว้ ม ส้วมท่ีถูกน�้าท่วมขังเป็นเวลานาน อาจปนเปื้อนเชื้อโรคจาก อจุ จาระ และส่งผลใหเ้ กิดโรคระบาดต่างๆ ตามมา เชน่ อหวิ าตกโรค อุจจาระร่วง เปน็ ต้น จึงต้องจดั การดงั น้ ี 1) เกบ็ กวาดขยะ สง่ิ สกปรก ทถ่ี กู พดั พามากับนา�้ ใส่ในถงุ ด�า 2) ทา� ความสะอาดพนื้ ฝาผนงั โถสว้ ม และอปุ กรณต์ า่ งๆ โดยใชน้ า�้ ผสม ผงซักฟอกหรือน้�ายาท�าความสะอาด ท่ีไม่ใส่สารเคมีเข้มข้น ขัด ล้าง และ เชด็ วัสด ุ อุปกรณใ์ หส้ ะอาด 3) หากส้วมเต็มหรืออุดตัน ให้ใช้น�้าหมักชีวภาพ เทลงในคอห่าน หรือโถส้วม จุลินทรีย์จะช่วยย่อยสลาย สารอินทรีย์และสิ่งปฏิกูลในบ่อเกรอะ ท�าให้กล่ินและแก๊สท่ีเกิดจากการหมัก ในบ่อเกรอะลดลง วิธีทำ� ควำมสะอำดส้วมดว้ ยน้ำ� หมกั ชีวภำพ ทำ� ไดด้ งั น้ี 1. ลา้ งหอ้ งสว้ มขจดั คราบสกปรกและกลน่ิ เหมน็ ใชน้ า้� หมกั ชีวภาพ 1 ส่วนตอ่ น�้าสะอาด 10 ส่วน ราดทิง้ ไว ้ 5 – 10 นาทกี อ่ น ขัดถู 13

2. ดบั กลน่ิ ห้องส้วมและลดการอดุ ตันในโถสว้ ม ใช้นำ้� หมกั ชวี ภาพ 1 ส่วนต่อน�ำ้ สะอาด 500 ส่วน 3. ดบั กลนิ่ เหมน็ ในท่อระบายน�้ำ ใชน้ ำ�้ หมกั ชีวภาพ 1 ส่วน ตอ่ น�้ำสะอาด 200 สว่ น 4. บ�ำบัดนำ้� เสยี ใช้น้�ำหมักชีวภาพ 1 ส่วนต่อน้�ำทจ่ี ะบ�ำบัด 500 สว่ น เทใส่ในบอ่ นำ�้ 7. รื้อ ล้าง...ส่งิ ของ เคร่ืองใช้ 1) ซักเสื้อผ้า เคร่ืองนุ่งห่ม ใหส้ ะอาดกอ่ นนำ� มาใช้ 2) ท่ีนอนเปียกน้�ำต้องท้ิง เพราะแม้จะผ่ึงแดดจนแหง้ แตส่ ่ิงสกปรก และเชอ้ื โรคยงั แทรกซมึ อยใู่ นทน่ี อน อาจ กอ่ ใหเ้ กิดโรคได้ 3) ผ้าห่ม มุ้งท่ีเปียกน้�ำ ต้องซักให้สะอาด ผ่ึงแดดให้แห้งสนิท กอ่ นนำ� มาใชใ้ หม่ 4) ตรวจสอบเครอื่ งใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ พัดลม ฯลฯ อย่าเสียบปล๊ักทันที ตรวจดูให้แน่ใจว่า ไม่เปียกน้�ำหรือมีความช้ืน เพราะอาจ เกดิ ไฟฟ้าลดั วงจร 14 1111

8. จัดกำร...ขยะ 1) คัดแยกขยะท่ี ยงั ขายได ้ เชน่ ขวดพลาสตกิ แก้ว โลหะ กระป๋อง น�าไป ขาย สว่ นทขี่ ายไมไ่ ดใ้ ห ้ นา� ไป กองรวมกันไว้รอท้องถ่ินหรือ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบน�าไป กา� จัด 2) คัดแยกขยะมีคม เช่น แกว้ แตก กระจกแตก ใหใ้ ชก้ ระดาษหอ่ หมุ้ หรอื ใสใ่ นกระปอ๋ งปดิ มดิ ชดิ เขยี นขอ้ ความ ระบุว่า “แก้วแตก” ก่อนน�าไปทิ้งหรือ ส่งใหห้ นว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบตอ่ ไป 3) ขยะท่ีย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ให้ใส่ถุง มัดปากถุงให้แน่นป้องกันสัตว์และแมลง พาหะน�าโรคก่อนน�าไปท้ิงหรือน�าไปหมัก ท�าปุย๋ 15

9. จัดกำร...น้ำ� ด่มื น้ำ� ใช้ หากน้�าด่ืม น�้าใช้ไม่สะอาด อาจท�าให้เกิดโรคต่างๆ เช่น อหิวาตกโรค อจุ จาระรว่ ง ผ่นื คนั โรคผวิ หนงั ฯลฯ จงึ ต้องจดั การ ดังน้ี น้�ำด่ืม 1) น�้าด่ืมบรรจุขวด ต้องมีฝาปิด สนิท มีพลาสติกหุ้มท่ีฝาขวด มีฉลาก อย. น�้าต้องใส ไม่มีตะกอนหรือสิ่งแปลกปลอม ในขวด การใช้แก้วน�้า ต้องล้างให้สะอาด ก่อนดมื่ และไมใ่ ชร้ ่วมกัน 2) นา�้ ประปา ตอ้ งตม้ ใหเ้ ดอื ดนาน 5 นาที จะชว่ ยฆา่ เชอ้ื โรคและลดความกระดา้ ง ชว่ั คราวของนา้� ได้ 3) หากใช้เครื่องกรองน้�า ต้อง ตรวจสอบคณุ ภาพของเครอื่ งกรอง ทงั้ เสน้ ทอ่ และไสก้ รอง ว่ายังกรองน�้าไดส้ ะอาดหรือไม่ 16

น้ำ� ใช้ กรณใี ช้น�า้ ประปา ใหต้ รวจสอบเส้น ท่อว่าช�ารุดเสียหายหรือไม่ หากมีปัญหาให้ ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานการประปาทร่ี บั ผดิ ชอบ ดงั น้ี 1) การประปานครหลวง (พื้นที่ กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ) โทรศัพท์ 1125 2) การประปาส่วนภูมิภาค (พื้นท่ีจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ยกเวน้ กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ) สายด่วน 1662 โทรศัพท์ 02-551-8576 โทรสาร 02-552-5307 3) ประปาหมู่บ้าน ติดต่อองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่หรือผู้น�าชุมชนที่ดูแล ระบบประปา (1) ประปาหมู่บ้าน (บ่อบาดาล) การปรับปรงุ ซอ่ มแซมระบบ ตดิ ตอ่ ได้ที่กรมทรัพยากร น�้าบาดาล โทรศพั ท ์ 02-793-1002 (2) ประปาหมบู่ า้ น (นา้� ผวิ ดนิ แมน่ า�้ ล�าคลอง) การปรับปรุงซ่อมแซมระบบ ติดต่อได้ที่ กรมทรัพยากรน�้า โทรศพั ท ์ 02-271-6000 4) ขดั ล้างโอง่ แทงค ์ หรอื ภาชนะเก็บ กักน้�าให้สะอาด ทั้งภายในและภายนอกด้วยน้�า ผสมผงซกั ฟอก 5) บ่อต้ืน ต้องล้างท�าความสะอาด ทง้ั ภายในและภายนอกบอ่ เกบ็ กวาดขยะออกจากบอ่ 17 แลว้ ลา้ งทา� ความสะอาด ดงั นี้

วธิ กี ารล้างบอ่ น้�ำต้ืน 1) เก็บเศษใบไม้ และเศษวสั ดุตา่ งๆ ในบอ่ ออกใหห้ มด 2) หากน�้ำในบ่อขนุ่ มาก ใหแ้ กวง่ สารสม้ เพอ่ื ตกตะกอน 3) สูบน�้ำในบอ่ ออก เพอื่ ให้นำ้� ใสเขา้ มาแทนท่ี 4) เตรียมน้�ำปูนคลอรีนฆ่าเช้ือโรค ความเข้มข้น 50 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ ร โดยเทนำ�้ ใสแ่ กว้ หรอื ภาชนะ จากนนั้ ตกั ผงปนู คลอรนี ตามสดั ส่วนดังตาราง กวนให้ละลาย ต้งั ทง้ิ ไว้ให้ผงปนู ตกตะกอน การใช้ผงปูนคลอรนี ฆา่ เช้ือโรค ก(คารวใชาผ้มงเปขูน้มคขลอ้นรขีนอฆา่งเคช้ือลโอรครนี(คว5าม0เขม้มขลิ ้นลขิกอรงคมั ลตออ่รีนลติ50รมติลอ่ ลคิกวรมั าตม่อลลติกึ รขตอ่อคงวนาำ�้มล1ึกขเอมงนตา้ ร1) เมตร) เส้นผา่ ศูนย์กลาง ผงปนู คลอรีนชนิด ผงปูนคลอรีนชนิด ผงปูนคลอรนี ชนิด ผงปูนคลอรีนชนดิ ของบอ่ น้า 25% 60% 65% 70% (ขอบบ่อดา้ นใน) จ้านวน จ้านวน จา้ นวน จา้ นวน จ้านวน จา้ นวน จา้ นวน จา้ นวน กรัม ช้อนโต๊ะ กรัม ชอ้ นโต๊ะ กรัม ช้อนโตะ๊ กรมั ช้อนโต๊ะ 0.80 ม. 100.4 7 41.8 3 38.6 3 35.8 2.5 0.90 ม. 127.9 9 53 4 48.9 3.5 45.4 3 1.0 ม. 157.2 11 65.5 5 60.5 4 56.1 4 1.20 ม. 226.2 16 94.3 7 87 6 80.7 5.5 1.50 ม. 353.6 25 147 11 136 9.5 126 9 2.0 ม. 628.6 45 261.9 19 241.7 17 224.5 16 2.50 ม. 928.2 70 409 29 377.5 27 250.8 24 3.0 ม. 1414.2 101 589 42 543.9 39 505 36 18 1111

5) น�าน้�าปูนคลอรีนส่วนท่ีเป็นน้�าใสเทลงในบ่อ จากนั้น กวนน้า� ให้ทั่วบอ่ ท้งิ ไว้ 30 นาที ระหวา่ งน้ีหา้ มใช้น�า้ ในบ่อ 6) สบู นา�้ จากบอ่ ฉดี ลา้ งคราบตะไครน่ า�้ และคราบสกปรกทง้ั ภายในและภายนอกวงขอบบอ่ (ควรใช้แปรงขดั ใหส้ ะอาด) 7) สบู นา้� ออกจากบอ่ ใหห้ มด หรือให้มากทสี่ ุดเทา่ ทีจ่ ะท�าได้ 8) ปล่อยท้งิ ไวใ้ ห้น้า� ซมึ เขา้ บอ่ ตรวจหาคลอรนี อิสระคงเหลือ ใหอ้ ยรู่ ะหวา่ ง 0.5-1 พพี เี อม็ กรณนี า�้ ทซี่ มึ เขา้ บอ่ มคี วามขนุ่ ใหเ้ ตมิ สารสม้ ละลายน้�าจนอิ่มตัว แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้ตกตะกอน น�าน�้าส่วนที่ใสมา ตรวจหาสารคลอรนี อสิ ระคงเหลอื ในน�า้ 9) ลา้ งบรเิ วณชานบอ่ วงขอบ บ่อใหส้ ะอาด ซอ่ มแซมหากชา� รุดเสียหาย ยารอยตอ่ ตา่ งๆ ควรตรวจดรู างระบายนา้� ให้อยู่ในสภาพใช้การได้ ไม่มีน้�าท่วมขัง เพราะจะเปน็ แหลง่ เพาะพันธุย์ ุง กรณีบ่อไม่มีวงขอบ ต้องระวัง การทรุดตัวของบ่อ ควรสูบน�้าออกจาก บอ่ ช้าๆ ไม่ต้องฉดี น้า� ล้างรอบๆ ขอบบ่อ หา้ มวางเครอ่ื งสูบน�า้ บนปากบ่อ เพราะดนิ บนปากบ่ออาจพังลงไปในบ่อได ้ ผงปูนคลอรนี สำมำรถใช้ประโยชน์อ่นื ๆ ได้อกี (กรณีใช้ผงปนู คลอรนี ควำมเข้มข้น 60%) การใช้ประโยชน์ ผงปนู คลอรนี น้าที่ผสม ระยะเวลา น้าดมื่ -นา้ ใช้ 1/8 ชอ้ นชา 160 ลติ ร 30 นาที 30 นาที แช่ผัก-ผลไม้ 1/2 ช้อนชา 20 ลติ ร 2 นาที แชภ่ าชนะอปุ กรณ์ 1 ช้อนชา 20 ลติ ร - 30 นาที ลา้ งอาคารสถานที่ 1 ช้อนชา 10 ลติ ร 19 ใสใ่ นถังเก็บสงิ่ ปฏกิ ลู 10 ชอ้ นโต๊ะ 200 ลิตร กรณีฉุกเฉนิ

10. จัดกำร...หนู แมลงวนั และแมลงสำบ หนู แมลงวัน และแมลงสาบ เป็นสัตว์น�าโรคมาสู่คน เชน่ กาฬโรค ไขฉ้ หี่ น ู ไข้สมองอักเสบ ผวิ หนังพพุ อง อจุ จาระร่วง ภูมิแพ้ ฯลฯ สัตว์เหล่าน้ีมักพบมากหลังน�้าลดตามกองขยะและ สง่ิ สกปรก จึงต้องจัดการดงั นี้ กำรป้ องกันและควบคุมหนู 1) สา� รวจช่องทางทหี่ นสู ามารถเขา้ บา้ นได้ 2) ปดิ รหู รอื ชอ่ งปอ้ งกนั หนเู ขา้ บา้ น โดยกรดุ ว้ ยตาขา่ ยหรอื วัสดทุ ีห่ นไู ม่สามารถกดั แทะได ้ 3) ทา� ความสะอาดบา้ น จดั ของไมใ่ ห้รกรุงรัง เกบ็ อาหาร ให้มิดชิด ท้ิงขยะ เศษอาหารในภาชนะท่ีมีฝาปิดหรือใส่ในถุงด�า มดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ กองรวมไวร้ อการน�าไปก�าจดั กำรก�ำจัดหนู 1) ใชก้ รงหรือกับดกั หนู 2) หากใช้สารเคมี ควรเลือกท่ีปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม อ่านฉลากและใช้อยา่ งถูกต้อง 20

กำรก�ำจัดแมลงวัน แมลงสำบ ทำ� ไดห้ ลำยวธิ ี 1) เทน�้ามันหมูลงในขวดแก้วหรือขวดพลาสติกปากแคบ เคล้าให้น�้ามันหมูเกาะท่ัวขวด เปิดฝาขวด ตั้งไว้ในครัวหรือจุดท่ีพบ แมลงสาบบอ่ ย ๆ 2) เค่ียวน�้าตาลกับน้�า ใส่ในกะละมังหรือภาชนะท่ีมี ความลื่น วางในบรเิ วณที่พบแมลงสาบ 3) ใช้ขวดแก้วปากกว้างใส่น้�าแกงประมาณคร่ึงขวด วางไวช้ ิดผนงั ตามมุมห้อง 4) ใช้ตลับเหย่ือส�าเร็จรูป มีช่องว่างให้แมลงสาบมุดหัว เข้าไปกิน แล้วออกมาตายข้างนอก 5) บา้ นแมลงสาบ (ใชง้ านได ้ 3-4 สปั ดาห)์ วางแผน่ เหยอื่ ตรงกลางแผ่นกาว และพับเปน็ รูปบ้าน วางไว้ตามมุม เมอ่ื แมลงสาบ ตดิ จนเตม็ ให้พับกระดาษเขา้ ทกุ ด้าน แลว้ น�าไปท้งิ ถังขยะ 6) ใช้ไม้ชุบกาวปกั ไว ้ แมลงวนั จะมาเกาะ ใหท้ ้ิงท้งั ไม้ 21

สรปุ นำ�้ ทว่ ม สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยแู่ ละสขุ ภาพจติ ของ ประชาชน เมื่อน้�ำลดประชาชนและชุมชนต้องฟื้นฟูบ้านพัก อาศัยตลอดจนสภาพแวดล้อมให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ ทั้งนี้ เพ่ือสุขอนามัยและความปลอดภัย ปลอดโรคของประชาชน ในลำ� ดบั แรกๆ จงึ ตอ้ งจดั การเรอื่ งความสะอาดของบา้ นเรอื น และส่ิงของเครื่องใช้ ใสใ่ จเรือ่ งไฟฟา้ ซง่ึ เปน็ ความปลอดภยั ใกลต้ วั รว่ มแรง ลงมอื เกบ็ กวาดบา้ นเรอื นและสภาพแวดลอ้ ม ชว่ ยกนั แกไ้ ขปญั หาในพน้ื ที่ ซอ่ มแซมตามกำ� ลงั ไมต่ อ้ งเรง่ รบี ปรบั ปรงุ ทกุ เรอื่ งใหค้ นื สสู่ ภาพปกติ ควรจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั วา่ สงิ่ ใด เร่อื งใดท่ตี อ้ งได้รับการฟื้นฟู แกไ้ ขก่อน จะช่วยลด ความกดดัน พลกิ ฟืน้ คนื ความสุขใหแ้ กป่ ระชาชนไดใ้ นเรว็ วัน 22 1111

บรรณำนกุ รม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . กำรจัดกำรสขุ ำภิบำล อย่ำงยง่ั ยนื และเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม. พิมพ์คร้ังท่ี 2 ส�านักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ สงเคราะหท์ หารผ่านศกึ , 2553 กรมอนามัย ส�านักอนามัยส่ิงแวดล้อม. คู่มือประชำชน กำรสขุ ำภบิ ำลสงิ่ แวดลอ้ ม สำ� หรบั กรณฉี กุ เฉนิ และ พิบัตภิ ัย. พิมพ์ครัง้ ท ่ี 4 ส�านักงานกิจการโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก, 2552 http://www.oknation.net/blog/dentalnews/2010/11/12/ entry-1 สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2554 เร่ือง บา้ นหลงั น�้าทว่ มควรท�าอยา่ งไร http://www.hpc11.go.th/help/a3.htm สืบค้นเม่ือ 19 ตุลาคม 2554 เร่อื งวธิ ีการล้างบอ่ นา�้ ต้นื 23

คณะผ้จู ดั ท�ำ ที่ปรึกษำ 1. นายแพทย์วชิระ เพ็งจนั ทร ์ อธบิ ดกี รมอนามยั 2. นายแพทยด์ นยั ธีวนั ดา รองอธบิ ดีกรมอนามัย 3. นางสาวสริ วิ รรณ จันทนจลุ กะ ผู้อา� นวยการสา� นักอนามยั ส่งิ แวดล้อม ผจู้ ดั ทำ� 1. นางสาวดรรชนี มหาชานิกะ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชา� นาญการพเิ ศษ 2. นายปราโมทย์ เสพสุข นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัตกิ าร ภำพประกอบ นางสาวสดุ าสมร นตุ เวช 24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook