Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 วิวัฒนาการ

บทที่ 1 วิวัฒนาการ

Published by pranthip.chon2557, 2017-05-05 01:22:36

Description: บทที่ 1 วิวัฒนาการ

Search

Read the Text Version

ระบบโทรศพั ท์ 2119-2101 บทที่ 1 วิวฒั นาการของระบบโทรศัพท์

สาระการเรียนรู้กาเนิดโทรศัพทเ์ คร่ืองแรกของโลกประวตั แิ ละววิ ฒั นาการโทรศัพท์ในประเทศไทย

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั บอกหลักการทางานของโทรศพั ทไ์ ด้อย่าง ถกู ต้อง บอกววิ ฒั นาการของโทรศัพท์จากอดีตถึง ปัจจุบนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง บอกหลักการของเครอ่ื งรบั ส่งโทรศพั ท์ได้ อยา่ งถกู ต้อง

โทรศพั ท์ ( Telephone )โทรศพั ท์ ( Telephone ) มาจากภาษากรกี 2 คา คือ Teleแปลวา่ ไกล และ Phone แปลวา่ สนทนา ( Speech ) รวมหมายถึง การสนทนากนั ในระยะทางไกล ๆ หรอื การสง่สัญญาณเสยี งจากจดุ หนงึ่ ไปยังอีกจุดหน่ึงตามความตอ้ งการของมนุษย์ นน่ั เอง

กาเนดิ โทรศัพท์เครอ่ื งแรกของโลก โทรศพั ทถ์ กู ประดษิ ฐ์ข้ึนเป็นครงั้ แรกใน ประเทศสหรัฐอเมรกิ า โดย อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) เม่ือปี ค.ศ.1876 หรอื ปี พ.ศ.2419

กาเนดิ โทรศัพท์เครอ่ื งแรกของโลกโดยระบบโทรศพั ท์ทป่ี ระกอบดว้ ยเคร่ืองโทรศพั ท์ 2เครอ่ื ง วางหา่ งกนั โดยมสี ายไฟฟ้าเช่ือมต่อระหวา่ งเคร่ืองทั้ง 2 ให้สามารถส่อื สารถึงกนั อาศัยหลักการของการเปลยี่ นสัญญาณเสียงเป็นสญั ญาณไฟฟา้ ส่งไปตามสายไฟฟา้ เมอื่ ถึงปลายทางสญั ญาณไฟฟา้ จะถกู เปล่ียนเปน็สัญญาณเสยี งตามเดมิ

หลกั การโทรศัพทข์ อง เบลล์

ปี พ.ศ. 2420 โทมัส อลั วา เอดสิ นั (Thomas Alva Edison)นกั วทิ ยาศาสตรส์ าขา ฟิสิกส์ ชาวสหรฐั อเมริกา ไดป้ ระดิษฐป์ ากพูดแบบคารบ์ อน (Carbon Transmitter)

สญั ญาณเสยี งพดู บนไฟฟา้ กระแสตรง

ปี พ.ศ. 2421 สหรฐั อเมรกิ า เรมิ่ ใช้โทรศัพทเ์ พ่ือบริการสาธารณะเป็นครง้ั แรกโดยเปิดใหใ้ ชง้ านเพยี ง 8 คู่ปี พ.ศ. 2433 กาเนดิ ชมุ สาย Step by Stepโดยอัลมอน บราวน์ สโตรเจอร์

ประวัติและวิวัฒนาการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทยพ.ศ. 2424 โทรศพั ทถ์ ูกนามาใชเ้ ป็นครงั้ แรกโดยติดตั้งทก่ี รุงเทพมหานคร และที่ปากนา้ จ.สมุทรปราการจดุ ประสงค์เพือ่ แจ้งขา่ วเรือเข้าและออกระหว่างกรงุ เทพฯกบั จังหวดั สมทุ รปราการ

ประวตั ิ ( ตอ่ )ปี 2426 จัดตัง้ กรมโทรเลขขน้ึ และทาหน้าทีร่ ับผิดชอบงานดา้ นโทรศพั ท์พ.ศ. 2429 เริ่มมีผเู้ ชา่ ประมาณ 60 รายเปิดให้บรกิ ารโทรศัพทใ์ หก้ ับประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และธนบรุ ี โดยเปน็ เคร่อื งระบบแม็กนีโต ( Magneto System )หรือระบบไฟฟ้าประจาเครอื่ ง ( Local Battery :LB )

ประวตั ิ ( ตอ่ ) พ.ศ. 2450 ตดิ ตั้งชุมสายโทรศพั ทแ์ หง่ แรก โดยเป็นชุมสายโทรศพั ท์ไฟกลางใช้ พนักงานตอ่ (Central Battery Manual System : CB) ท่ชี มุ สายวดั เลียบ พ.ศ. 2465 เพ่ิมชุมสายโทรศพั ทแ์ ห่งที่ สองท่ีโทรศัพท์กลางบางรกั

ประวตั ิ ( ต่อ )พ.ศ. 2470 วางเคเบลิ เชื่อมต่อวดั เลียบ-บางรกัพ.ศ. 2471 เปดิ ให้บริการโทรศพั ทท์ างไกลพ.ศ. 2478 เริม่ ใชช้ มุ สายระบบ STEP BY STEPพ.ศ. 2480 ตดิ ต้ังใชช้ มุ สายอตั โนมตั คิ รง้ั แรกพ.ศ. 2497 สถาปนาเป็นองค์การโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย

ประวตั ิ ( ต่อ )พ.ศ. 2502 เรมิ่ ใชช้ ุมสายโทรศพั ท์ครอสบาร์ ตดิ ตั้งคร้งั แรกในประเทศท่ีชมุ สายโทรศพั ท์จังหวัดชลบุรีพ.ศ. 2503 รบั โอนโทรศพั ท์ในภมู ภิ าค จานวน 47ชมุ สาย จานวน 9,700 เลขหมายพ.ศ. 2507 ติดต้ังชุมสายครอสบาร์ในนครหลวงและรับโอนโทรศัพทท์ างไกลพ.ศ. 2517 เปลยี่ นเลขหมายเปน็ 6 หลักพ.ศ. 2518 ใหบ้ รกิ ารโทรศัพทท์ างไกลอตั โนมัตเิ ป็นครั้งแรก

ประวัติ ( ต่อ )พ.ศ. 2519 เปล่ียนใช้เลขหมายโทรศพั ท์ 7 ตวั ในนครหลวงพ.ศ. 2520 ใชเ้ ครื่องโทรศัพทแ์ บบกดปมุ่พ.ศ. 2521 ใหบ้ ริการโทรศพั ท์ไรส้ ายพ.ศ. 2522 เปิดบรกิ ารโทรศัพทส์ าธารณะแบบไม่มีผู้ดแู ลพ.ศ. 2523 บรกิ ารโทรศัพท์ทางไกลอัตโนมตั ทิ ัว่ประเทศสมบูรณ์แบบ

ประวตั ิ ( ตอ่ )พ.ศ. 2525 บริการโทรศพั ทส์ าธารณะทางไกลอัตโนมตั ิพ.ศ. 2526 ชุมสายโทรศพั ท์ระบบเอส พี ซี แห่งแรกพ.ศ. 2527 ให้บริการโทรศัพทต์ ่างประเทศระบบอตั โนมตั ิพ.ศ. 2531 ใหบ้ ริการโทรศพั ท์สาธารณะถึง 1 ลา้ นเลขหมาย เปิดใหบ้ รกิ ารพิเศษ SPC อนั ประกอบดว้ ยบริการเปล่ียนเรียกเลขหมาย, บริการเรียก ซา้อัตโนมัต,ิ บริการเลขหมายด่วน, บรกิ ารรบั สายเรียกซอ้ น, บรกิ ารเลขหมายยอ่ และบริการประชุมทางโทรศัพท์

ประวตั ิ ( ต่อ ) พ.ศ. 2532 เชื่อมโยงเครอื ข่ายด้วยเคเบลิ ใยแกว้ และ ไมโครเวฟ ดาเนนิ การเชอ่ื มโยงเครือข่ายโทรคมนาคมกบั ประเทศมาเลเซีย ดว้ ยระบบเคเบิลใยแกว้ นาแสง และระบบ วิทยไุ มโครเวฟ เปดิ บรกิ ารโทรศัพท์เคลือ่ นท่สี าธารณะบน รถไฟ พ.ศ. 2533 เปิดบริการหลากหลายรปู แบบ เปดิ บริการโทรศัพทท์ างไกลฟรี 088 เปิดให้บรกิ ารสื่อสาร ขอ้ มลู ระบบดาต้าเนต็ (Datanet) เปดิ ใหบ้ รกิ ารโทรศัพท์ ตดิ ตามตวั (Paging) โฟนลิงค์ และเพจโฟน เปดิ ให้บริการ โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ ระบบความถี่ 900 MHz

ประวัติ ( ตอ่ ) พ.ศ. 2534 สูเ่ ทคโนโลยีนาสมัย เปดิ ใหส้ ัมปทาน โทรศพั ท์สาธารณะแบบใช้บัตร (Card phone) เปดิ ให้บริการส่อื สารขอ้ มูลเพอื่ ธรุ กิจผ่านดาวเทยี ม (ISBN) พ.ศ. 2535 ขยายบริการโทรศพั ท์ 3 ลา้ นเลขหมาย ขยายบรกิ ารโครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย สาหรับเขตนครหลวง 2 ลา้ นเลขหมาย และสว่ น ภูมภิ าคอกี 1 ล้านเลขหมาย

ประวัติ ( ตอ่ )พ.ศ. 2539 เปิดให้บรกิ ารโทรศพั ท์รหัสส่วนตัว PINPhone108 ในเขตนครหลวง ทดลองขยายพน้ื ทใี่ หบ้ ริการ PIN Phone ไปยงั จงั หวัดต่าง ๆพ.ศ. 2540 ปรับเปลยี่ นโทรศพั ท์ระบบครอสบาร์ (แบบหมนุ )เปน็ ระบบเอสพซี ี (แบบกดปมุ่ ) ทงั้ หมดพ.ศ. 2544 เพม่ิ เลขหมายโทรศัพท์ท่วั ประเทศ(Numbering Plan) จากเลขหมาย 7 หลัก เป็นเลขหมาย 8หลัก (กดรหัสพื้นทตี่ ามด้วยหมายเลขเดิม) พรอ้ มเปลี่ยนหมายเลข แจง้ เหตุเสียจาก 17 เป็น \"1177\"

ประวัติ ( ต่อ ) พ.ศ. 2545 1 ม.ค. เปดิ ใหบ้ รกิ าร TOT online \"1222\" ในอัตรา 3 บาท ทวั่ ประเทศ 25 มี.ค. เปิดใหบ้ รกิ ารโทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่รี ะบบ 1900 MHz Thai Mobile เปน็ การดาเนนิ การรว่ มระหวา่ ง กสท. และ ทศท 17 พ.ค. ใหบ้ รกิ ารอปุ กรณ์ส่ือสารโทรคมนาคม ระหว่างกรม อตุ นุ ิยมวิทยากบั ทศท. 29 พ.ค. PIN Phone 108 สามารถใช้บรกิ าร Audiotex ได้ 31 ก.ค. แปลงสภาพเป็น บรษิ ัท ทศท คอร์ปอเรชน่ั จากัด (มหาชน) 9 ส.ค. เปดิ ให้บรกิ าร TOT POSTPAID บรกิ ารบตั รรหสั โทรศัพท์ และบรกิ าร PRIVATE NET 12 ก.ย. เปดิ ใหบ้ รกิ าร Broadband-ISDN บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสูง

ประวตั ิ ( ต่อ ) พ.ศ. 2548 เปลยี่ นชอ่ื เป็น บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) โดยได้รับใบอนญุ าตให้ประกอบกจิ การ โทรคมนาคมแบบที่หนง่ึ และแบบทส่ี าม และ ใบอนญุ าตให้บรกิ ารอินเทอร์เน็ตแบบที่หนง่ึ

ประวัติ ( ตอ่ )ปจั จุบนั ชมุ สายโทรศพั ท์เปน็ แบบ Soft Switchซ่งึ เปน็ ชุมสายบนเทคโนโลยี Next GenerationNetworking : NGN ซ่ึงถอื ว่าเป็นเทคโนโลยีโครงข่ายสมัยใหมท่ ่รี องรับการสือ่ สารขอ้ มลู เสยี ง และภาพที่อยู่บนโครงขา่ ยเดียวกนั ( Single Network )และรองรบั บรกิ ารทอ่ี ยู่ในรปู ข้อมลู แพกเกจในปัจจุบนัและในอนาคต

THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook