Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ความถี่และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

หน่วยที่ 1 ความถี่และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Published by pranthip.chon2557, 2017-11-01 23:38:02

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 1 ความถี่และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้ าสาระการเรียนรู้ 1.1 ความถ่ี 1.2 คลื่นและส่วนประกอบ 1.3 ความยาวคลื่น 1.4 คล่ืนเสียงหรือความถี่เสียง 1.5 คลื่นวทิ ยหุ รือความถี่วทิ ยุ 1.6 การแบง่ ยา่ นความถี่วทิ ยุผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงัจุดประสงค์ปลายทาง มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั คุณสมบตั ิของ ความถ่ีและคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้ าจุดประสงค์นาทาง 1. บอกลกั ษณะของความถ่ีได้ 2. อธิบายลกั ษณะและส่วนประกอบของคลื่นได้ 3. แสดงวธิ ีคานวณหาความถ่ีและความยาวคล่ืนได้ 4. บอกลกั ษณะและคุณสมบตั ิของคล่ืนเสียงหรือความถี่เสียงได้ 5. บอกลกั ษณะและคุณสมบตั ิของคล่ืนวทิ ยหุ รือความถี่วทิ ยไุ ด้ 6. บอกลกั ษณะการแบง่ ยา่ นความถ่ีวทิ ยไุ ด้

-2-บทนา ในปี พ.ศ. 2422 นกั วทิ ยาศาสตร์ ชื่อนายไอริช เฮิรตซ์ ไดค้ น้ พบสมมุติฐานจากการทดลองเรียกวา่ ความถี่ ซ่ึงหมายถึง คา่ ท่ีบอกความเร็วรอบในการเคลื่อนที่ครบรอบคล่ืนภายในระยะเวลา 1วนิ าที (S)1.1 ความถ่ี (Frequency) เพื่อเป็ นเกียรติแก่ นายไอริช เฮิรตซ์ จึงไดเ้ รียกชื่อหน่วยของความถี่น้ีวา่ เฮิรตซ์ (Hertz)หรือยอ่ วา่ Hz. โดยมีหน่วยที่สูงกวา่ เฮิรตซ์ (Hz.) คือ กิโลเฮิรตซ์ (kHz.), เมกะเฮิรตซ์ (MHz.), กิกะเฮิรตซ์ (GHz.) และทีราเฮิรตซ์ (THz.)1 kHz. = 1,000 Hz. = 110 3 Hz.1 MHz. = 1,000,000 Hz. = 1,000 kHz. = 110 6 Hz.1 GHz. = 1,000,000,000 Hz. = 1,000 MHz. = 110 9 Hz.1 THz. = 1,000 GHz. = 1,000,000 MHz. = 1 10 12 Hz.1.2 คลน่ื และส่วนประกอบ คลื่น (Wave) เป็นคาที่เรามกั จะพบบ่อย ๆ ในการเรียนเกี่ยวกบั ระบบสื่อสาร ไม่วา่ จะเป็นคล่ืนวทิ ยุ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ า หรือคลื่นเสียง ซ่ึงเราไมส่ ามารถมองเห็นดว้ ยตาเปล่า ตอ้ งใชเ้ ครื่องมือตรวจวดั สญั ญาณเทา่ น้นั เพื่อใหม้ องเห็นภาพลกั ษณะการเกิดคลื่นไดช้ ดั เจนยงิ่ ข้ึน ใหน้ ึกถึงการโยนกอ้ นหินลงไปในน้าที่มีผิวนิ่งและเรียบ เม่ือกอ้ นหินกระทบผวิ น้า ผวิ น้าจะเป็นลูกคลื่น ลูกคล่ืนตรงที่กอ้ นหินตกกระทบจะมีขนาดใหญ่ และขนาดจะคอ่ ย ๆ ลดลง จนเรียบเป็ นน้าน่ิง ดงั รูปท่ี 1.1

-3-ทิศทางการเคล่ือนไหวของ ทิศทางการเคล่ือนไหวของ ผิวน้า ผวิ น้า รูปที่ 1.1 แสดงคล่ืนท่ีเกิดจากการโยนกอ้ นหินลงกระทบผิวน้า จะเห็นไดว้ า่ ผวิ น้าที่กระเพ่ือมข้ึนลงมีลกั ษณะเป็นลอน ซ่ึงถา้ เราดูทางภาคตดั ขวาง จะมีลกั ษณะเป็นรูปคลื่นไซน์ (Sine Wave) มีส่วนประกอบตา่ ง ๆ ดงั รูปท่ี 1.2แอมปลิจูด (Amplitude) ความยาวคล่ืน (Wave Length) ไซเกิล (cycle) รูปที่ 1.2 ส่วนประกอบรตูป่าภงาพๆ1ของคล่ืนไซน์ (Sine Wave) ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของคลื่นไซน์ (Sine Wave) มีดงั น้ี 1. แอมปลิจูด (Amplitude) คือ ความสูงของสญั ญาณจุด B เป็นจุดสูงสุดของคล่ืนเรียกวา่ ยอดคล่ืน และจุด D เป็นจุดต่าสุดของคล่ืน เรียกวา่ ทอ้ งคล่ืน ความสูงของสัญญาณหรือแอมปลิจูดน้นั จะดูจากระยะก่ึงกลางถึงยอดคล่ืน จุด AB หรือระยะก่ึงกลางถึงทอ้ งคลื่น จุด CD 2. ความยาวคล่ืนหรือเวฟเลงท์ (Wave Length) คือ ระยะจากจุด B-F เป็นระยะความห่างจากยอดคล่ืนหน่ึงไปยงั อีกยอดคล่ืนหน่ึงใชส้ ัญลกั ษณ์แทนความยาวคลื่น คือ แลมดา้ () มีหน่วยเป็น เมตร

-4- 3. ไซเคิล (Cycle) คือ การเคล่ือนท่ีของคล่ืนจาก จุด A ไป B ไป C ไป D ไป E ครบหน่ึงรอบ เรียกวา่ 1 ลูกคลื่น หรือ 1 ไซเคิล 4. ความถ่ี (Frequency) คือ จานวนไซเคิลต่อวนิ าที ถา้ 1 วนิ าที เกิดจานวนไซเคิล 60 คร้ังจะเรียกวา่ 60 ไซเคิล หรือ 60 เฮิรตซ์ (Hertz) มีอกั ษรยอ่ คือ Hz.1.3 ความยาวคลนื่ (Wave Length) ความยาวคล่ืน (Wave Length) มกั ใชอ้ กั ษรกรีก  (แลมดา้ ) แทน คือ คา่ ความยาวที่วดั จากยอดคลื่นหน่ึงไปยงั ยอดคล่ืนหน่ึง มีหน่วยเป็นเมตร (m) และสามารถแปลงเป็นหน่วยที่สูงกวา่ เมตรและต่ากวา่ เมตรไดด้ งั น้ี คือ1 Km = 103 m , 1 cm = 10- 2 m1 mm = 10- 3 m , 1 m = 10- 6 m1 nm = 10- 9 m , 1 pm = 10- 12 m คาบ หรือรอบเวลา (Period) คือ ระยะเวลาที่คล่ืนใชไ้ ปในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบคล่ืนเขียนแทนดว้ ยตวั T มีหน่วยเป็น วนิ าที การเกิดคลื่นทุกชนิดจะตอ้ งมีแหล่งกาเนิด คล่ืนในน้า เกิดจากการโยนกอ้ นหินกระทบผวิ น้า สาหรับคล่ืนวทิ ยุ เกิดจากการเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟ้ าในสายอากาศ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดคล่ืนวทิ ยกุ ระจายออกรอบ ๆ สายอากาศ มีลกั ษณะคลา้ ยกบั คล่ืนท่ีเกิดในน้า ดงั รูปที่ 1.3

-5- การกระจายของคล่ืนวิทยุ เคร่ืองรับ เคร่ืองส่งรูปที่ 1.3 การเคล่ือนที่ของกระแสไฟฟ้ าในสายอากาศทาใหเ้ กิดคลื่นวทิ ยุการคานวณหาคา่ ความยาวคล่ืน () ความถี่ (f) และเวลา (T)กาหนดให้ V แทน ความเร็วแสง มีค่า 3 x10 8 m / วนิ าที F แทน ความถ่ี มีหน่วยเป็ น เฮิรตซ์ (Hz.)  แทน ความยาวคล่ืน มีหน่วยเป็น เมตร (m) T แทน คาบ มีหน่วยเป็น วนิ าที (s)สรุปสูตรไดด้ งั น้ี คือC  หรือ F  C หรือ   c F  Fและ F  1 หรือ T  1 T F

-6-ตวั อยา่ ง 1.1 จงหาความยาวคลื่นของความถี่ 10 เมกะเฮิรตซ์วธิ ีทา =V เมตร = 130F110086 เมตร = 30 เมตร ........................................................................................................................................................ตวั อยา่ ง 1.2 จงหาค่าความถี่ เมื่อมีความยาวคล่ืน 5 เมตรวธิ ีทา F = V เฮิรตซ์ λ = 3108 เฮิรตซ์ 5 = 60 เมกะเฮิรตซ์ ........................................................................................................................................................ตวั อยา่ ง 1.3 จงหาคาบของคลื่น ซ่ึงมีความถ่ี 1,000 เมกะเฮิรตซ์วธิ ีทา T =1 วนิ าที F = 1 วนิ าที 1000106 = 10 - 9 วนิ าที = 1 นาโนวนิ าที (1 นาโนวนิ าที = 10-3 ไมโครวนิ าที = 10– 9 วนิ าที)........................................................................................................................................................ จากตวั อยา่ งการคานวณท้งั 3 ขอ้ เราจะเห็นไดว้ า่ ความยาวคล่ืนและความถี่จะแปรผกผนั ซ่ึงกนั และกนั คือ ถา้ ค่าความถ่ีต่าลง ความยาวคล่ืนจะยาวมากข้ึน และถา้ คา่ ความถี่สูงข้นึ ความยาวคล่ืนก็จะส้นั ลง เราจึงเรียกคลื่นวทิ ยทุ ี่มีความถี่ต่าวา่ คลื่นยาว และเรียกคล่ืนวทิ ยทุ ี่มีความถ่ีสูงวา่คลื่นส้ัน

-7-1.4 คลน่ื เสียงหรือความถเ่ี สียง (Audio Wave or Audio Frequency) คล่ืนเสียงหรือความถ่ีเสียง (Audio Wave or Audio Frequency) คือ ความถี่ที่อยใู่ นยา่ นที่มนุษยส์ ามารถเปล่งเสียงและรับฟังไดอ้ ยา่ งสบาย ๆ จะอยใู่ นช่วงระหวา่ ง 20 เฮิรตซ์ (Hz.) ถึง20,000 เฮิรตซ์ (Hz.) ความสามารถในการรับฟังเสียงน้นั ข้ึนอยกู่ บั ประสาทหูของแต่ละคนโดยความถี่ต่าจะรับฟังเป็ นเสียงทุม้ ความถ่ีสูงจะรับฟังเป็นเสียงแหลม เสียงที่มนุษยพ์ ดู และสามารถรับฟังไดร้ ู้เรื่องจะอยทู่ ่ีความถี่ประมาณ 20-3,400 เฮิรตซ์ (Hz.) และความถ่ีเสียงสูงประมาณ15,000 เฮิรตซ์ (Hz.) ข้ึนไป หูมนุษยจ์ ะรับฟังไดแ้ ตไ่ มค่ อ่ ยรู้เร่ือง ความถ่ีเสียงท่ีเกิดจากการพดู จะมีความดงั อยใู่ นระดบั หน่ึงและเดินทางไปไดไ้ ม่ไกล ดงั น้นัถา้ ตอ้ งการใหม้ ีความดงั มากข้ึน มีระยะทางการไดย้ นิ เสียงไกลข้ึน กจ็ ะตอ้ งนาไปต่อเขา้ กบั เครื่องขยายเสียง (Audio Amplifier)1.5 คลน่ื วทิ ยุหรือความถว่ี ทิ ยุ (Radio Wave or Radio Frequency) คล่ืนวทิ ยหุ รือความถ่ีวทิ ยุ (Radio wave or Radio Frequency) เป็นคล่ืนท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน คือคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้ า จึงประกอบดว้ ยการรวมตวั กนั ระหวา่ งสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าดงั รูป 1.4E สนามไฟฟ้ า H สนามแม่เหลก็ ทิศทางการ เคลื่อนท่ี รูปภาพ 2 รูปที่ 1.4 ทิศทางการเคลื่อนท่ีของคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้ า คลื่นวทิ ยุ มีการเดินทางไดเ้ ท่ากบั ความเร็วแสงประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวนิ าที หรือ186,000 ไมลต์ อ่ วนิ าที หรือประมาณ 310 8 เมตรต่อวนิ าที (m / s)

-8-1.6 การแบ่งย่านความถว่ี ทิ ยุ (Radio Frequency Range) คลื่นวทิ ยุ เป็นพลงั งานคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้ าท่ีนามาใช้ สาหรับการติดตอ่ ส่ือสารกนั อยา่ งกวา้ งขวาง โดยมีแถบความถ่ีวทิ ยุ (Frequency Spectrum) อยใู่ นช่วงประมาณ 10 kHz. – 300 GHz.แบง่ เป็นยา่ นความถ่ีวทิ ยทุ ่ีใชง้ านในระบบการส่ือสารท่ีเป็ นสากลไดเ้ ป็น 8 ยา่ น ไดด้ งั ตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 ย่านความถว่ี ิทยุชื่อเรียกขาน ช่ือยอ่ ยา่ นความถ่ี การนาไปใชง้ านVery Low Frequency VLF 3 kHz.-30 kHz. คล่ืนเสียงและการสื่อสารทางทะเลLow FrequencyMedium Frequency LF 30 kHz.-300 kHz. วทิ ยเุ ดินเรือและวทิ ยคุ ล่ืนยาวHigh FrequencyVery High Frequency MF 300 kHz.-3 MHz. วทิ ยกุ ระจายเสียง AM HF 3 MHz.-30 MHz. วทิ ยสุ มคั รเลน่ และวทิ ยคุ ล่ืนส้นั VHF 30 MHz.-300 MHz. โทรทศั นย์ า่ น VHF วทิ ยุ FM วทิ ยเุ ดินเรือ วทิ ยสุ มคั รเล่นUltra High Frequency UHF 300 MHz.-3 GHz. โทรทศั นย์ า่ น UHF เรดา้ ร์และไมโครเวฟSuper High Frequency SHF 3 GHz.-30 GHz. เรดา้ ร์ ไมโครเวฟ และสื่อสารดาวเทียมExtremely High Frequency EHF 30 GHz.-300 GHz. การทดลองกรณีพเิ ศษ

-9-บทสรุป แอมปลิจดู คือ ความสูงของสัญญาณ ความยาวคล่ืน คือ ค่าความยาวที่วดั จากยอดคลื่นหน่ึงไปยงั ยอดคล่ืนหน่ึง มีหน่วยเป็นเมตร ความถ่ีคือ จานวนไซเคิลตอ่ วนิ าที คลื่นวทิ ยุ เกิดจากการเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟ้ าในสายอากาศ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดคลื่นวทิ ยุกระจายออกรอบ ๆ สายอากาศมีลกั ษณะคลา้ ยกบั คลื่นท่ีเกิดในน้า คลื่นวทิ ยทุ ่ีมีความถ่ีต่า เรียกวา่ คลื่นยาว คล่ืนวทิ ยทุ ี่มีความถี่สูง เรียกวา่ คลื่นส้นั คล่ืนเสียงหรือความถ่ีเสียง คือ ความถ่ีที่อยใู่ นยา่ นที่มนุษยส์ ามารถเปล่งเสียงและรับฟังได้จะอยใู่ นช่วง 20–20,000 เฮิรตซ์ แตเ่ สียงที่ฟังรู้เรื่องอยทู่ ่ีความถ่ีประมาณ 20–3,400 เฮิรตซ์ คล่ืนวทิ ยหุ รือความถ่ีวทิ ยุ เป็ นคลื่นท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน คือ คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้ า ประกอบดว้ ยการรวมตวั กนั ระหวา่ งสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ า คล่ืนวทิ ยเุ ดินทางเท่ากบั ความเร็วแสงประมาณ 310 8 เมตรตอ่ วนิ าที (m / s) คล่ืนวทิ ยเุ ป็นพลงั งานคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้ า มีแถบความถี่วทิ ยอุ ยใู่ นช่วงประมาณ 10 kHz. –300 GHz. แบง่ ไดเ้ ป็น 8 ยา่ น คือ VLF, LF, MF, HF, VHF, UHF, SHF, EHF

- 10 - ศัพท์สาคญั ในหน่วยที่ 11. Amplitude ความสูงของสญั ญาณ2. Audio Wave คลื่นเสียง3. Audio Frequency ความถี่เสียง4. Audio Amplifier เครื่องขยายเสียง5. Cycle ไซเคิล6. Extremely High Frequency ความถี่สูงยบิ7. Frequency ความถี่8. Frequency Spectrum สเปกตรัมความถ่ีวทิ ยุ9. Hertz เฮิรตซ์10. High Frequency ความถี่สูง11. Low Frequency ความถ่ีต่า12. Medium Frequency ความถ่ีกลาง13. Period คาบ14. Radio Wave คล่ืนวทิ ยุ15. Radio Frequency ความถี่วทิ ยุ16. Radio Frequency Range ยา่ นความถี่วทิ ยุ17. Sine Wave คล่ืนไซน์18. Super High Frequency ความถี่สูงยอด19. Ultra High Frequency ความถ่ีสูงยงิ่20. Very High Frequency ความถี่สูงมาก21. Very Low Frequency ความถี่ต่ามาก22. Wave คล่ืน23. Wave Length ความยาวคล่ืน

- 11 - บรรณานุกรมชิงชยั วรรณรักษ.์ แผนการสอนแยกย่อยแบบพศิ ดาร. หนองคาย :ประพนั ธ์ พพิ ฒั นสุข และ วลิ าวลั ย์ โฉมเฉลา. ทฤษฎีเคร่ืองรับวิทยุ AM-FM. กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี คร่ืองรับวิทย.ุ กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี ครื่องรับวทิ ย.ุ กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ.พนั คา ช่อวงศ.์ เครื่องส่งวทิ ยุและสายอากาศ. กรุงเทพ ฯ : สานกั พิมพ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.น.ท. วโิ รจน์ แกว้ จนั ทร์. ทฤษฎเี ครื่องส่งวิทยุ. บริษทั สกายบุก๊ ส์ จากดั .ร.ต.อ. สุชาติ กงั วารจิตต.์ เคร่ืองรับส่งวทิ ยุและระบบวทิ ยุส่ือสาร. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ , 2532.GEORGE KENNEDY. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. THIRD EDITION : McGRAW-HILL. 1984.WILLIAM SCHWEBER. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. A CompleteCourse Fourth Edition :Prentice Hall.2002

- 12 - แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 1ตอนที่ 1 จงเติมคาในช่องวา่ งและตอบคาถามในขอ้ ตอ่ ไปน้ีใหม้ ีความถูกตอ้ งสมบูรณ์มากท่ีสุด1. ใครเป็นผคู้ น้ พบสมมุติท่ีฐานจากการทดลองที่เรียกวา่ ความถ่ี ......................................................................................................................................................2. ความยาวคล่ืน คือ...........................................................................................................................3. คาบเวลา คือ ..................................................................................................................................4. คล่ืนวทิ ยเุ ดินทางไดเ้ ร็วเท่าไร.........................................................................................................5. กิจการโทรทศั น์ วทิ ยุ FM และวทิ ยเุ ดินเรือ ใชย้ า่ นความถ่ีวทิ ยทุ ่ีเรียกวา่ อะไร ........................................................................................................................................................ตอนที่ 2 จงแสดงวธิ ีคานวณหาคา่ ต่อไปน้ี1. จงหาคา่ ความยาวคลื่นของความถ่ี 15 เมกะเฮิรตซ์2. จงหาคา่ ความถี่ เมื่อมีความยาวคลื่น 10 เมตร

- 13 - แบบทดลองฝึ กปฏบิ ตั ทิ ้ายหน่วยที่ 1 คลน่ื และส่วนประกอบของคลน่ืจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม1. ใชเ้ ครื่องกาเนิดสัญญาณในการปฏิบตั ิงานได้2. ใชอ้ อสซิลโลสโคปในการปฏิบตั ิงานได้3. ประกอบวงจรวดั สัญญาณไฟฟ้ าแบบต่าง ๆ ได้4. คานวณหาคา่ ความความถี่ ความยาวคลื่นของสัญญาณไฟฟ้ าได้เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ 1 เคร่ือง1. ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) 1 เคร่ือง2. เคร่ืองกาเนิดสัญญาณ (Function Generator) 1 ตวั3. ตวั ตา้ นทาน 1 k 10 เส้น4. สายต่อวงจรข้อควรระวงั / ข้อเสนอแนะ1. ไมค่ วรเล่นหรือหยอกลอ้ กนั ในขณะประกอบวงจร2. ควรต่อวงจรดว้ ยความระมดั ระวงั มิเช่นน้นั อาจเกิดความเสียหายได้3. เม่ือมีปัญหาหรือไม่เขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน ควรรีบปรึกษาครูผสู้ อน

- 14 -ลาดบั ข้นั การปฏิบตั ิ1. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 1.1สญั แญหำลณง่ หกลำเำนยิดแบOบ/P R ออสซิลโลสโคป CH1 CH2 1kΩ รูปท่ี 1.5 การต่อออสซิลโลสโคปเขา้ กบั เคร่ืองกาเนิดสัญญาณ2. ปรับเคร่ืองกาเนิดสัญญาณ (Function Generator) ไปท่ีคล่ืนไซน์ ปรับคา่ ความแรงประมาณ 50 % ปรับความถ่ีใหอ้ า่ นท่ีจอออสซิลโลสโคปใน 1 รอบคล่ืน3. บนั ทึกรูปคลื่นไซน์ บนั ทึกค่าความแรงของสญั ญาณ คา่ ความถ่ี และวาดรูปคลื่นลงใน ตารางกราฟท่ี 1.1ค่าแรงดนั = …………….. Vp-pค่าความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 1.1

- 15 -4. ปรับเคร่ืองกาเนิดสญั ญาณ (Function Generator) ไปท่ีคล่ืนส่ีเหลี่ยม ปรับคา่ ความแรง ประมาณ 50 % ปรับความถ่ีใหอ้ ่านที่จอออสซิลโลสโคปใน 1 รอบคลื่น5. บนั ทึกรูปคล่ืนส่ีเหล่ียม บนั ทึกคา่ ความแรงของสญั ญาณ คา่ ความถ่ี และวาดรูปคล่ืนลงใน ตารางกราฟที่ 1.2 คา่ แรงดนั = …………….. Vp-p ค่าความถ่ี = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 1.26. ปรับเครื่องกาเนิดสญั ญาณ (Function Generator) ไปท่ีคล่ืนสามเหล่ียม ปรับคา่ ความแรง ประมาณ 50 % ปรับความถ่ีใหอ้ ่านท่ีจอออสซิลโลสโคปใน 1 รอบคลื่น7. บนั ทึกรูปคลื่นสามเหล่ียม บนั ทึกคา่ ความแรงของสัญญาณ ค่าความถ่ี และวาดรูปคล่ืนลงใน ตารางกราฟท่ี 1.3

- 16 - ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p คา่ ความถ่ี = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 1.3คาถาม1. จากตารางกราฟที่ 1.1 รูปคลื่นไซน์ ความแรง (Amplitude ) มีคา่ เทา่ ไร ……………………………………………………………………………………………………2. จากตารางกราฟท่ี 1.1 รูปคลื่นไซน์ ความถ่ี (frequency ) มีค่าเทา่ ไร ……………………………………………………………………………………………………3. นาค่าท่ีวดั ได้ จากตารางกราฟท่ี 1.1 มาหาคา่ ความยาวคล่ืนไดเ้ ทา่ ไร …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………

- 17 - ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน แบบทดลองฝึกปฏิบตั ิทา้ ยหน่วยท่ี 1 คลื่นและส่วนประกอบของคล่ืนลาดบั หวั ขอ้ ประเมิน ผา่ น ไม่ผา่ น ที่2 การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ 2.1 การเตรียมอุปกรณ์การทดลอง 2.2 การเตรียมเคร่ืองมือช่าง (หวั แร้ง คีมตดั ไขควงและอ่ืน ๆ) 2.3 การเตรียมเครื่องมือวดั (มิเตอร์ ออสซิลโลสโคปและอื่น ๆ)3 ความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 3.1 ต่อวงจรทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2 วดั สญั ญาณที่จุดตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3.3 แกไ้ ขปัญหาในขณะปฏิบตั ิการทดลองได้4 การทางานของวงจร 4.1 ปรับรูปคลื่นไซนไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง 4.2 ปรับรูปคล่ืนส่ีเหล่ียมไดถ้ ูกตอ้ ง 4.3 ปรับรูปคล่ืนสามเหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง 4.4 คานวณหาคา่ ความยาวคล่ืนไดถ้ ูกตอ้ ง รวมคะแนนหมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมินผล หวั ขอ้ ที่ผา่ นในคร้ังแรกจะไดค้ ะแนนเตม็ 1 คะแนน ถา้ ผา่ นคร้ังที่ 2 จะไดค้ ะแนน 0.5 คะแนน ถา้ ไม่ผา่ นคร้ังที่ 2 ไดค้ ะแนน 0 คะแนนขอ้ แนะนา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ .............................................. ผปู้ ระเมิน (.............................................)

- 18 - แบบประเมนิ ผลหน่วยท่ี 1จงทาเครื่องหมาย  ลงในคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุด1. หูมนุษยส์ ามารถรับฟังความถี่เสียงไดใ้ นช่วงใดก. 20 Hz. – 2,000 Hz. ข. 20 Hz. – 20,000 Hz.ค. 30 Hz. – 3,000 Hz. ง. 30 Hz. – 30,000 Hz.2. มนุษยส์ ามารถพดู และฟังกนั รู้เร่ืองในช่วงความถ่ีใดก. 20 Hz. – 1,400 Hz. ข. 20 Hz. – 2,400 Hz.ค. 20 Hz. – 3,400 Hz. ง. 20 Hz. – 4,400 Hz.3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็ว เท่าไร ก. 3  10 3 เมตร/วนิ าที ข. 3  10 6 เมตร/วนิ าที ค. 3  108 เมตร/วนิ าที ง. 3  10 9 เมตร/วนิ าที4. ความถ่ีวทิ ยุ 30 เมกะเฮิรตซ์ จะมีความยาวคล่ืนเท่าใดก. 3 เมตร ข. 10 เมตรค. 15 เมตร ง. 30 เมตร5. ถา้ คล่ืนวทิ ยมุ ีความยาวคลื่น 300 เมตร จะมีความถี่เท่าใดก. 1 MHz. ข. 10 MHz.ค. 100 MHz. ง. 1,000 MHz.6. ความสมั พนั ธ์ของความยาวคลื่นและความถี่ กล่าววา่ อยา่ งไรก. เมื่อความถี่ลดลง ความยาวคลื่นจะลดลงข เมื่อความถ่ีเพม่ิ ข้ึน ความยาวคลื่นจะเพ่มิ ข้ึนค. เมื่อความถี่ลดลง ความยาวคลื่นจะเพมิ่ ข้ึน ง. ความยาวคล่ืนจะมีค่าเทา่ กบั 1 ของความถี่เสมอ 27. ขอ้ ใดคือ ความหมายของความยาวคลื่นก. ระยะทางระหวา่ งสถานีสองสถานีที่คล่ืนวทิ ยเุ ดินทางไปได้ข. ระยะทางที่คล่ืนวทิ ยเุ ดินทางไปไดภ้ ายใน 1 วนิ าทีค. ระยะทางในแนวระดบั สายตา (Line of Sight) ที่คล่ืนในยา่ นความถี่สูงง. ระยะทางท่ีคล่ืนวทิ ยเุ ดินทางไปไดภ้ ายในระยะท่ีคลื่นเปลี่ยนแปลงไปครบ 1รอบคล่ืน

- 19 -8. วทิ ยเุ ดินเรือ ใชย้ า่ นความถ่ีในช่วงใด ก. 3 kHz. – 30 kHz. ข. 30 kHz. – 300 kHz. ค. 300 kHz. – 3 MHz. ง. 3 MHz. – 30 MHz.9. ระบบวทิ ยกุ ระจายเสียง AM จะใชค้ วามถ่ีในยา่ นใด ก. LF ข. MF ค. HF ง. VHF10. ระบบวทิ ยกุ ระจายเสียง FM จะใชค้ วามถ่ีในยา่ นใด ก. LF ข. MF ค. HF ง. VHF


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook