Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 4

หน่วยที่ 4

Published by pranthip.chon2557, 2017-11-01 23:59:42

Description: หน่วยที่ 4

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 4 วงจรมอดูเลต (MODULATOR CIRCUIT)สาระการเรียนรู้ 4.1 การมอดูเลตแบบเอเอม็ (AM : Amplitude Modulation) 4.2 แถบความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอเอม็ 4.3 การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ (FM : Frequency Modulation) 4.4 แถบคล่ืนความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ 4.5 การมอดูเลตแบบพเี อม็ (PM : Phase Modulation)ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงัจุดประสงค์ปลายทาง มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ลกั ษณะและการทางานของวงจรผสมคล่ืนวทิ ยุจุดประสงค์นาทาง 1. อธิบายวธิ ีการมอดูเลตแบบเอเอม็ (AM : Amplitude Modulation) ได้ 2. เขียนแถบความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอเอม็ ได้ 3. อธิบายวธิ ีการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ (FM : Frequency Modulation) ได้ 4. เขียน แถบคล่ืนความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ ได้ 5. อธิบายวธิ ีการมอดูเลตแบบพีเอม็ (PM : Phase Modulation) ได้

- 63 -บทนา ปัจจุบนั การส่งข่าวสารหรือขอ้ มูลโดยใชค้ ลื่นวทิ ยมุ ีความสาคญั มาก การทาใหข้ อ้ มลูขา่ วสารเดินทางไปไดร้ ะยะไกล ตอ้ งทาการผสมขอ้ มลู ขา่ วสารเขา้ กบั คล่ืนพาหะ หรือเรียกอีกอยา่ งวา่ การมอดูเลต ทาได้ 3 แบบ คือ การมอดูเลตแบบเอเอม็ การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ การมอดูเลตแบบพเี อม็4.1 การมอดูเลตแบบเอเอม็ (AM : Amplitude Modulation) การมอดูเลตแบบเอเอม็ หรือการผสมคล่ืนทางความสูง (AM : Amplitude Modulation) คือการนาเอาความถี่เสียง (AF : Audio Frequency) หรือ คล่ืนเสียง (Audio Wave) ไปผสมกบั คลื่นพาหะ (Carrier Wave) หรือที่เรียกวา่ ความถ่ีวทิ ยุ (RF : Radio Frequency) หรือคลื่นวทิ ยุ (RadioWave) ซ่ึงความแรงของคลื่นวทิ ยหุ รือคลื่นพาหะ จะถูกสัญญาณเสียงควบคุมให้เพิ่มหรือลดลงตามสัญญาณ เสียงช่วงบวกหรือช่วงลบที่เขา้ มาผสม ถา้ สญั ญาณเสียงช่วงบวกเขา้ มาผสมจะทาใหค้ วามแรง หรือความสูง (Amplitude) ของคล่ืนพาหะหรือคล่ืนวทิ ยสุ ูงมากข้ึนกวา่ เดิม แตถ่ า้ สญั ญาณเสียงช่วงลบเขา้ มาผสม จะทาใหค้ วามแรงหรือความสูง (Amplitude) ของคลื่นพาหะ หรือคลื่นวทิ ยจุ ะต่าลงกวา่ เดิม ดงั รูปท่ี 4.1 คล่ืนเสียง คลื่นพาหะวงจรผสมคล่ืน คล่ืน AMทางความสูง รูปที่ 4.1 ลกั ษณะการผสมคลื่นทาง AM

- 64 - นอกจากน้นั ช่วงห่างในการเปล่ียนแปลงความสูงของคลื่นพาหะยงั มีผลมาจากการท่ีความถ่ีของสัญญาณเสียงมีการเปลี่ยนแปลงสูงข้ึนหรือต่าลง เช่น ถา้ สญั ญาณเสียงมีความถี่ต่า (มีช่วงกวา้ ง)ระดบั การเปล่ียนแปลงความสูงของคลื่นพาหะจะห่างออก และถา้ สัญญาณเสียงมีความถี่สูง (มีช่วงแคบ) ระดบั การเปลี่ยนแปลงความสูงของคลื่นพาหะจะถ่ีข้ึน ดงั แสดงในรูปท่ี 4.2คล่ืนเสียง คล่ืนเสียงคลื่นพาหะ คล่ืนพาหะคลื่น AM คล่ืน AMรูปท่ี 4.2 เปรียบเทียบความถี่สญั ญาณเสียงต่อการเปลี่ยนแปลงความสูงของคล่ืนพาหะ สาหรับระดบั หรือดรรชนีการมอดูเลต (m) จะเป็นค่าอตั ราส่วนแอมพลิจดู สูงสุดของสัญญาณท่ีนามามอดูเลต (Modulating Signal) ต่อแอมพลิจูดสูงสุดของสัญญาณคลื่นพาห์ ซ่ึงบางคร้ังจะเรียกวา่ ความลึกของการมอดูเลต (Depth of modulation) หรือ องคป์ ระกอบการมอดูเลต(Modulation Factor) หรือดรรชนีการมอดูเลต (Modulation Index) ก็ได้ ซ่ึงจะมีค่าต้งั แต่ 0 - 1คานวณไดจ้ ากสูตรที่ (4.1)ระดบั หรือดรรชนีการมอดูเลต (m)  Emax  Emin .............................................(4.1) Emax  Eminคา่ ระดบั การมอดูเลตนิยมวดั เป็นเปอร์เซ็นต์ (Percent of Modulation) คานวณไดจ้ ากสูตร ที่ (4.2)เปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลต (% mod)  Emax  Emin 100 ...............................................(4.2) Emax  Emin

- 65 -โดยกาหนดให้ m = ดรรชนีการผสมคลื่น AM ไมม่ ีหน่วย E max = ระดบั แรงดนั วดั จากแกนศูนยถ์ ึงยอดสูงสุด ตาแหน่งแรงสุด หน่วย Vp E min = ระดบั แรงดนั วดั จากแกนศนู ยถ์ ึงยอดสูงสุด ตาแหน่งเบาสุด หน่วย Vpรูปท่ี 4.3 แสดงการวดั เปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลตท่ีมา : นท.วโิ รจน์ แกว้ จนั ทร์.2544 หนา้ 26จากรูปที่ 4.3 สามารถอธิบายไดด้ งั น้ีรูปท่ี 4.3 (ก) มีแอมปลิจดู จากยอดบวกถึงยอดลบเทา่ กบั 40 Vp-p ซ่ึงยงั ไมม่ ีการมอดูเลต จะมีเปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลตเท่ากนั ศนู ย์ (0 เปอร์เซ็นต)์รูปท่ี 4.3 (ข) คลื่นพาห์จะถูกมอดูเลตดว้ ยสัญญาณเสียงเต็มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมีE max = 80 Vp-p และมี E min = 0 Vp-pเปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลต (% mod)  Emax  Emin  100 Emax  Emin  80V  0V 100 80V  0V = 100 %

- 66 -รูปที่ 4.3 (ค) คลื่นพาห์จะถูกมอดูเลตดว้ ยสัญญาณเสียง 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมี E max = 60 Vp-p และมี E min = 20 Vp-pเปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลต (% mod) 100 Emax  Emin  Emax  Emin  60V  20V 100 60V  20V  8400VV100 = 0.5  100 = 50 % และถ้ามีระดบั การมอดูเลตเกิน 1 หรือมีเปอร์เซ็นต์การมอดูเลตเกิน 100 % จะทาให้สัญญาณ เสียงที่รับได้ที่เครื่องรับเกิดความเพ้ียน (Distortion) เราเรียกว่า การมอดูเลตเกินกาลงั(Over Modulation) ดงั รูปท่ี 4.4 พาหะหายไป รูปที่ 4.4 การโอเวอ่ ร์มอดูเลชนั่4.2 แถบความถขี่ องการมอดูเลตแบบเอเอม็ แถบคล่ืนความถ่ีที่เกิดจากการนาเอาคล่ืนเสียงผสมกบั คลื่นพาหะ เรียกวา่ แถบคล่ืนความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอเอม็ (AM Spectrum Frequency) ซ่ึงการมอดูเลตแบบเอเอ็มน้ี มีผลทาให้เกิดความถี่หลายความถ่ี ความถี่ที่เกิดข้ึนมาจะประกอบดว้ ย ความถี่พ้ืนฐานของคลื่นเสียง (fm) ความถ่ีพ้ืนฐานของคล่ืนพาหะ (fc) และแถบความถี่ดา้ นขา้ ง (Sideband Frequency) ซ่ึงมี 2 ดา้ น คือ แถบความถี่ดา้ นขา้ งสูง (Upper Sideband Frequency) หรือ USF (fc + fm) แถบความถ่ีดา้ นขา้ งต่า (Lower Sideband Frequency) หรือ LSF (fc - fm) ความกวา้ งของแถบความถ่ีดา้ นขา้ งท้งั สองรวมเรียกวา่ แถบกวา้ ง (Bandwidth) หรือ BW

ความแรง (V) - 67 - คลื่นเสียง คลื่นพาหะ ความถ่ี (Hz) รูปที่ 4.5 ลกั ษณะแถบคล่ืนความถ่ีของการมอดูเลตแบบเอเอม็ ที่มา : พนั ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ 2536 หนา้ 41 จากรูปท่ี 4.5 แสดงลกั ษณะแถบคลื่นความถี่ของการมอดูเลตแบบเอเอม็ ประกอบดว้ ยคลื่นเสียงมีความถ่ี fm คลื่นพาหะมีความถี่ fc แถบความถี่ดา้ นขา้ งต่า (LSF) มีความถี่ fc - fm และแถบความถ่ีดา้ นขา้ งสูง (USF) มีความถ่ี fc + fm จากความถ่ีพาหะ (fc) ถึงแถบความถี่ดา้ นขา้ งต่า (LSF)เรียกวา่ แถบดา้ นต่า (Lower Sideband) หรือ LSB และจากความถ่ีพาหะ (fc) ถึงแถบความถี่ดา้ นขา้ งสูง (USF) เรียกวา่ แถบดา้ นสูง (Upper Sideband) หรือ USB เมื่อนาเอา LSB มารวมกบั USB จะไดแ้ ถบกวา้ ง (BW) ออกมา แถบกวา้ งน้ีจะเป็นแถบความถี่ ท่ีผสมคลื่นแบบ AM จะถูกส่งออกกระจายคลื่นไปจากเคร่ืองส่งวทิ ยุ AM ดงั รูปท่ี 4.6

- 68 - รูปที่ 4.6 แถบความถี่การผสมคล่ืนแบบ AM ท่ีมา : พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ 2540 หนา้ 42 แถบความถ่ีที่ไดจ้ ากการมอดูเลตแบบเอเอม็ มีหลายชนิดดว้ ยกนั คือ 1. ชนิดแถบขา้ ง 2 ดา้ นมีพาหะ (Double Sideband Full Carrier) หรือ DSBFC 2. ชนิดแถบขา้ ง 2 ดา้ นไม่มีพาหะ (Double Sideband Suppressed Carrier) หรือ DSBSC 3. ชนิดแถบขา้ งดา้ นเดียวไม่มีพาหะ (Single Sideband Suppressed Carrier) หรือ SSBSC แบง่ ยอ่ ยออกเป็น - SSBSC ใชแ้ ถบดา้ นสูง USB หรือ SSBSC- USB - SSBSC ใชแ้ ถบดา้ นต่า LSB หรือ SSBSC- LSB4.3 การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ (FM: Frequency Modulation) การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ หรือ การผสมคล่ืนทางความถ่ี (FM: Frequency Modulation) คือการผสมคลื่นท่ีสญั ญาณเสียงไปควบคุมใหค้ วามถ่ีวทิ ยุ (ความถ่ีคล่ืนพาหะ) เปลี่ยนแปลงความถี่ไปตามสัญญาณเสียงท่ีส่งเขา้ มาควบคุม ความถ่ีคลื่นพาหะจะเพิ่มสูงข้ึนจากปกติเม่ือมีสญั ญาณเสียงช่วงบวกเขา้ มาผสม และความถ่ีคลื่นพาหะจะลดต่าลงจากปกติเม่ือมีสัญญาณเสียงช่วงลบเขา้ มาผสม

- 69 - คล่ืนเสียง คล่ืนพาหะจงจรผสมคล่ืน คลื่น FM ทางความถี่ รูปท่ี 4.7 ลกั ษณะการมอดูเลตแบบเอฟเอม็คลื่นเสียงคล่ืนFM (ก) คลื่นเสียงมีความถ่ีต่าคลื่นเสียง คล่ืน FM (ข) คล่ืนเสียงมีความถ่ีสูงรูปท่ี 4.8 การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ ท่ีสญั ญาณเสียงมีความแรงต่างกนั

- 70 - จากรูปท่ี 4.8 ความแรงของความถี่เสียงจะไปเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่นวทิ ยุ ดงั น้ี เม่ือความถี่เสียงช่วงบวกเขา้ มา จะทาใหค้ วามถ่ีของคลื่นวทิ ยุสูงข้ึน (ชิดมากข้ึน) และเม่ือความถ่ีเสียงช่วงลบเขา้ มา จะทาใหค้ วามถ่ีของคลื่นวทิ ยุต่าลง (ห่างมากข้ึน) ถา้ ขนาดความแรงของความถี่เสียงช่วงบวกมากข้ึน (สูงข้ึน) ความถ่ีของคล่ืนวทิ ยกุ จ็ ะยง่ิ สูงข้ึน (ถ่ีมากข้ึน) เช่นเดียวถา้ ขนาดความแรงของความถี่เสียงช่วงลบมากข้ึน (สูงข้ึน) ความถ่ีของคลื่นวิทยกุ จ็ ะยงิ่ ลดต่าลง (ห่างมากข้ึน) เปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลชนั่ (Percent of Modulation) คิดจากอตั ราส่วนของการเบี่ยงเบนความถ่ี (fc) ต่อการเบี่ยงเบนความถี่สูงสุด (Fc) ที่กาหนดไวเ้ ป็ นการมอดูเลชน่ั เตม็ ท่ี (Full -Modulation) ที่ 100 % ดงั สมการท่ี 4.3% การมอดูเลชนั่ = (fc/Fc)  100 ………................................................(4.3)โดยที่ fc = การเบ่ียงเบนความถ่ี Fc = การเบ่ียงเบนความถี่สูงสุดตวั อยา่ งท่ี 4.1 เคร่ืองส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ FM กาหนดคา่ เบี่ยงเบนสูงสุด (Fc )ไวเ้ ทา่ กบั 75 กิโลเฮิรตซ์ ที่การมอดูเลชน่ั ท่ี 100 % และมีคา่ การเบ่ียงเบนความถี่ (fc) ไวเ้ ท่ากบั 45กิโลเฮิรตซ์ เคร่ืองส่งจะมีการมอดูเลชนั่ ที่ก่ีเปอร์เซ็นต์วธิ ีทา จากสูตร % การมอดูเลชน่ั = (fc/Fc)  100แทนค่า = (45 KHz /75 KHz)  100 เครื่องส่งจะทาการมอดูเลชนั่ ท่ี = 60 %........................................................................................................................................................ ดรรชนีการมอดูเลชนั่ (Modulation Index) หรือบางคร้ังเรียกวา่ มอดูเลชน่ั แฟกเตอร์(Modulation Factor) เป็นคา่ อตั ราส่วนระหวา่ งช่วงการเบ่ียงเบนความถ่ี (fc) ต่อความถี่เสียง (fm)หรือ ความถี่ที่นามามอดูเลต คานวณหาคา่ ไดด้ งั สมการท่ี 4.4ดรรชนีการมอดูเลชนั่ (M.I) = fc / fm ………….............................................(4.4)โดยที่ fc = การเบี่ยงเบนความถ่ี fm = ความถ่ีท่ีนามามอดูเลต

- 71 -ตวั อยา่ งที่ 4.2 กาหนดใหส้ ญั ญาณที่นามามอดูเลต (fm) เป็น 10 กิโลเฮิรตซ์ และมีการเบ่ียงเบนความถี่ (fc) เทา่ กบั  25 กิโลเฮิรตซ์ จะมีค่าดรรชนีการมอดูเลชน่ั เท่าไรวธิ ีทา จากสูตร ดรรชนีการมอดูเลชน่ั (M.I) = fc / fmแทนคา่ = 25 กิโลเฮิรตซ์ /10 กิโลเฮิรตซ์ จะมีคา่ ดรรชนีการมอดูเลชนั่ = 2.5อตั ราส่วนการเบี่ยงเบน (Deviation Ratio) เป็นอตั ราส่วนการเบี่ยงเบนความถ่ีสูงสุด(Fc)ท่ี 100 % มอดูเลชนั่ ตอ่ ความถ่ีท่ีนามามอดูเลตสูงสุด (Fm) ซ่ึงอตั ราส่วนการเบ่ียงเบนน้ีนามาใชป้ ระโยชน์ในการหาค่าแบนวดิ ทก์ วา้ งสุดที่ตอ้ งการของระบบเอฟเอม็ ดงั สมการท่ี 4.5 อตั ราส่วนการเบ่ียงเบน = Fc / Fm .............................................................(4.5)โดยที่ Fc = การเบี่ยงเบนความถี่สูงสุด Fm = ความถี่ที่นามามอดูเลตสูงสุดตวั อยา่ งท่ี 4.3 ในเครื่องส่งวทิ ยวุ ทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ FM ( 88-108 เมกะเฮิรตซ์) กาหนดใหก้ ารเบ่ียงเบนความถี่สูงสุดไวเ้ ท่ากบั  75 กิโลเฮิรตซ์ สาหรับการมอดูเลชน่ั 100 % และมีความถ่ีที่นามามอดูเลตสูงสุด 15 กิโลเฮิรตซ์ จะมีอตั ราส่วนการเบ่ียงเบนเทา่ ไรวธิ ีทา จากสูตร อตั ราส่วนการเบี่ยงเบน = Fc / Fmแทนคา่ = 75 กิโลเฮิรตซ์ /15 กิโลเฮิรตซ์ จะมีอตั ราส่วนการเบี่ยงเบน = 54.4 แถบคลนื่ ความถขี่ องการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ จะทาใหเ้ กิดแถบคลื่นความถี่ ซ่ึงความถ่ีพาหะจะเกิดการเปล่ียนแปลงเพม่ิ ข้ึนหรือลดลง และเกิดมีความถ่ีพาหะใหม่เพ่มิ ข้ึนอีกเป็ นจานวนมาก อยใู่ นรูปของแถบความถี่ดา้ นขา้ งเป็นคู่ ๆ กระจายออกไปจากความถี่พาหะ (fc) เป็นลาดบั ท้งั ความถ่ีดา้ นขา้ งสูง(USF) และความถี่ดา้ นขา้ งต่า (LSF) ระดบั ความแรงของความถ่ีแตล่ ะคา่ จะเปลี่ยนแปลงไปไม่แน่นอนโดยสามารถหาค่าไดจ้ ากตารางเบสเซล ฟังกช์ นั่ ตารางที่ 4.1

- 72 - ตารางที่ 4.1 ตารางเบสเซล ฟังก์ชันดรรชนี ความแรง ความแรงของความถ่ีดา้ นขา้ งคูท่ ่ีการผสม คลื่นพาหะ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12คล่ืน ()0.25 0.98 0.12 0.01 . . . . . . . . . .0.5 0.94 0.24 0.03 . . . . . . . . . .1.0 0.77 0.44 0.11 0.02 . . . . . . . . .1.5 0.51 0.56 0.23 0.06 0.01 . . . . . . . .2.0 0.22 0.58 0.35 0.13 0.03 0.01 . . . . . . .2.4 0 0.52 0.43 0.20 0.06 0.01 . . . . . . .3.0 -0.26 0.34 0.49 0.31 0.13 0.04 0.01 . . . . . .4.0 -0.40 0.07 0.36 0.43 0.28 0.13 0.05 0.02 . . . . .5.0 -0.18 -0.33 0.05 0.36 0.39 0.26 0.13 0.05 0.02 0.01 . . .5.5 0 -0.34 -0.12 0.26 0.40 0.32 0.19 0.09 0.03 0.01 . . .6.0 0.15 -0.28 -0.24 0.11 0.36 0.36 0.25 0.13 0.06 0.02 0.01 . .7.0 0.30 0 -0.30 -0.17 0.16 0.35 0.34 0.23 0.13 0.06 0.02 0.01 .8.0 0.17 0.23 -0.11 -0.29 -0.10 0.19 0.34 0.32 0.22 0.13 0.06 0.03 0.018.65 0 0.27 0.06 -0.24 -0.23 0.03 0.26 0.34 0.28 0.18 0.10 0.05 0.02 จากตารางท่ี 4.1 แสดงตารางเบสเซลฟังกช์ นั ช่องแรกซา้ ยมือเป็นช่องแสดงดรรชนีการผสมคล่ืนแบบFM () ช่องที่ 2 แสดงขนาดความแรงของคลื่นพาหะ (fc) และช่องทางขวามือแสดงความแรงของความถ่ีดา้ นขา้ งคู่ท่ี 1 ถึง 12 ดรรชนีการผสมคล่ืนแต่ละค่าจะทาใหเ้ กิดจานวนคู่ของความถ่ีดา้ นขา้ งไมเ่ ทา่ กนั คือ ถา้ ดรรชนีการผสมคลื่นนอ้ ย จะเกิดความถี่ดา้ นขา้ งนอ้ ย ถา้ ดรรชนีการผสมคลื่นมาก ก็จะเกิดความถี่ดา้ นขา้ งมาก ท่ีดรรชนีการผสมคลื่นตา่ งกนั จะมีความแรงของคลื่นพาหะ และความถ่ีดา้ นขา้ งแตกตา่ งกนั ความแรงแตล่ ะค่าดรรชนี ความถ่ีดา้ นขา้ งยงิ่ ห่างจากศนู ยก์ ลางยงิ่ มีระดบั ความแรงลดลง ดงั รูปท่ี 4.9 รูปที่ 4.9 แสดงแถบคลื่นความถ่ีของการผสมคล่ืนแบบ FM ที่  = 2

- 73 - จากรูปที่ 4.9 แสดงแถบคลื่นความถ่ีของการผสมคล่ืนแบบ FM ท่ี  = 2 มีความแรงคลื่นพาหะ 0.22 จะมีความถ่ีดา้ นขา้ ง 5 คู่ โดยคูท่ ่ี 1 ความถ่ี fc  fm มีค่าความแรงคลื่น 0.58 คู่ท่ี 2ความถ่ี fc  2 fm มีค่าความแรงคลื่น 0.35 คู่ท่ี 3 ความถ่ี fc  3fm มีคา่ ความแรงคลื่น 0.13 คู่ท่ี 4ความถี่ fc  4 fm มีค่าความแรงคลื่น 0.03 คู่ที่ 5 ความถี่ fc  2fm มีค่าความแรงคล่ืน 0.01 ซ่ึงท้งั หมดเป็นค่าท่ีไดจ้ ากตารางเบสเซล ฟังกช์ น่ั4.5 การมอดูเลตแบบพเี อม็ (PM : Phase Modulation) การมอดูเลตแบบพเี อม็ (PM) จะคลา้ ยกบั การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ (FM) แต่จะแตกต่างกนัคือ การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ ความถี่ของคล่ืนพาหะ (Carrier) จะเปล่ียนไปตามความถี่เสียง (AF)ช่วงบวกและช่วงลบ แต่การมอดูเลตแบบพีเอม็ หรือแบบเฟส ความถี่ของคลื่นพาหะจะเปล่ียนความถ่ีสูงข้ึนขณะที่สญั ญาณเสียงเปลี่ยนเฟสจากลบเป็นบวก และความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนความถ่ีต่าลง ขณะท่ีสญั ญาณเสียงเปลี่ยนเฟสจากบวกเป็นลบ ดงั รูปที่ 4.10 คลื่นเสียง คลื่นพาหะวงจรผสมคล่ืน คลื่น PM ทางเฟส รูปที่ 4.10 การมอดูเลตแบบพีเอม็ จากรูปที่ 4.10 แสดงการมอดูเลตแบบพเี อม็ โดยวงจรมอดูเลตแบบพีเอม็ หรือแบบเฟส(Phase Modulation) ทาหนา้ ท่ีผสมคลื่นเสียงกบั คล่ืนพาหะเขา้ ดว้ ยกนั คลื่นพาหะจะถูกคล่ืนเสียงควบคุมความถ่ี เกิดการเปลี่ยนแปลงความถ่ีสูงข้ึนหรือต่าลง ตามเฟสของคลื่นเสียง โดยคล่ืนเสียงในช่วงการเปล่ียนเฟสจากบวกเป็นลบ คลื่นพาหะจะมีความถี่ต่าลงนอ้ ยกวา่ ปกติ และคล่ืนเสียงในช่วงการเปลี่ยนเฟสจากลบเป็นบวก คล่ืนพาหะก็จะมีความถ่ีสูงข้ึนมากกวา่ ปกติเช่นกนั ความถ่ี

- 74 -คล่ืนพาหะจะเกิดการเปล่ียนแปลงมากท่ีสุดในช่วงท่ีคล่ืนเสียงเปล่ียนระดบั ความแรงเคลื่อนผา่ นตาแหน่งศูนยเ์ สมอ ดูจากการทางานของรูปที่ตาแหน่ง T1 คล่ืนเสียงที่ป้ อนเขา้ มาผา่ นตาแหน่งศูนยค์ ลื่น PMเบี่ยงเบนไปยงั ความถี่ต่าสุด และท่ีตาแหน่ง T2 คลื่นเสียงท่ีป้ อนผา่ นตาแหน่งศนู ยอ์ ีกคร้ัง คล่ืน PMเบี่ยงเบนไปยงั ความถี่สูงสุด ดงั น้นั คล่ืน PM ท่ีไดอ้ อกมากค็ ือคลื่น FM นนั่ เอง ในบางคร้ังการผสมคลื่นแบบ PM จึงอาจถูกเรียกวา่ คลื่น FM แบบออ้ ม (Indirect FM)บทสรุป การมอดูเลตแบบเอเอม็ หรือการผสมคล่ืนทางความสูง คือ การนาเอาความถี่เสียง หรือคลื่นเสียง ไปผสมกบั ความถี่วทิ ยหุ รือคลื่นวทิ ยุ ความสูงของคลื่นวทิ ยหุ รือคลื่นพาหะ จะถูกสัญญาณเสียงควบคุมใหเ้ พมิ่ หรือลดลงตามสัญญาณเสียงช่วงบวกหรือช่วงลบที่เขา้ มาผสม แถบคลื่นความถ่ีที่เกิดจากการนาเอาคล่ืนเสียงผสมกบั คล่ืนพาหะ เรียกวา่ แถบคลื่นความถี่ของการมอดูเลตแบบเอเอม็ ความถี่ท่ีเกิดข้ึนมาจะประกอบดว้ ย ความถ่ีพ้ืนฐานของคลื่นเสียง (fm)ความถ่ีพ้ืนฐานของคลื่นพาหะ (fc) และแถบความถ่ีดา้ นขา้ ง ซ่ึงมี 2 ดา้ น คือ แถบความถี่ดา้ นขา้ งสูง หรือ USF แถบความถ่ีดา้ นขา้ งต่า หรือ LSF ความกวา้ งของแถบความถี่ดา้ นขา้ งท้งั สองรวมเรียกวา่ แถบกวา้ ง (Bandwidth) หรือ BW การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ หรือ การผสมคล่ืนทางความถ่ี คือ การผสมคลื่นทีสัญญาณเสียงไปควบคุมใหค้ วามถี่วทิ ยุ (ความถ่ีคล่ืนพาหะ) เปลี่ยนแปลงความถ่ีไปตามสญั ญาณเสียงช่วงบวกและช่วงลบ การมอดูเลตแบบพเี อม็ (PM) จะใชเ้ ฟสของสัญญาณเสียงควบคุมคลื่นพาหะ คือ ความถ่ีของคล่ืนพาหะจะเปล่ียนความถี่สูงข้ึนขณะท่ีสัญญาณเสียงเปลี่ยนเฟสจากลบเป็นบวก และความถ่ีของคล่ืนพาหะจะเปลี่ยนความถี่ต่าลง ขณะท่ีสัญญาณเสียงเปลี่ยนเฟสจากบวกเป็นลบ การผสมคลื่นแบบ PM ก็คือการผสมคล่ืนแบบ FM แบบออ้ มนนั่ เอง

- 75 -ศัพท์สาคญั ในหน่วยท่ี 41. Amplitude Modulation การผสมคลื่นทางความสูง2. AM Spectrum Frequency แถบความถ่ีของการมอดูเลตแบบ AM3. Audio Frequency ความถี่เสียง4. Audio Wave คลื่นเสียง5. Bandwidth แถบกวา้ ง6. Carrier Wave คล่ืนพาหะ7. Depth of Modulation ความลึกของการมอดูเลต8. Deviation Ratio อตั ราส่วนการเบ่ียงเบน9. Distortion ความเพ้ียน10. Double Sideband Full Carrier ชนิดแถบขา้ ง 2 ดา้ นมีพาหะ11. Double Sideband Suppressed Carrier ชนิดแถบขา้ ง 2 ดา้ นไมม่ ีพาหะ12. Frequency Modulation การผสมคลื่นทางความถี่13. Full Modulation มอดูเลชน่ั เตม็ ท่ี14. Lower Sideband Frequency แถบความถ่ีดา้ นขา้ งต่า15. Modulating Signal สัญญาณที่นามามอดูเลต16. Modulation Factor องคป์ ระกอบการมอดูเลต17. Modulation Index ดรรชนีการมอดูเลต18. Over Modulation การมอดูเลตเกินกาลงั19. Percent of Modulation เปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลชนั่20. Phase Modulation การผสมคลื่นทางเฟส21. Radio Frequency ความถี่วทิ ยุ22. Sideband Frequency แถบความถี่ดา้ นขา้ ง23. Single Sideband Suppressed Carrier ชนิดแถบขา้ งดา้ นเดียวไมม่ ีพาหะ24. Upper Sideband Frequency แถบความถี่ดา้ นขา้ งสูง

- 76 - บรรณานุกรมชิงชยั วรรณรักษ.์ แผนการสอนแยกย่อยแบบพศิ ดาร. หนองคาย :ประพนั ธ์ พพิ ฒั นสุข และวลิ าวลั ย์ โฉมเฉลา. ทฤษฎเี คร่ืองรับวทิ ยุ AM-FM. กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี ครื่องรับวทิ ย.ุ กรุงเทพ ฯ : สานกั พิมพ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี คร่ืองรับวทิ ย.ุ กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศนู ยส์ ่งเสริมวชิ าการ.พนั คา ช่อวงศ.์ เครื่องส่งวิทยแุ ละสายอากาศ. กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ.น.ท. วโิ รจน์ แกว้ จนั ทร์. ทฤษฎเี คร่ืองส่งวทิ ย.ุ บริษทั สกายบุก๊ ส์ จากดั .ร.ต.อ. สุชาติ กงั วารจิตต.์ เครื่องรับส่งวทิ ยุและระบบวทิ ยุส่ือสาร. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ , 2532.GEORGE KENNEDY. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. THIRD EDITION : McGRAW-HILL. 1984WILLIAM SCHWEBER. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. A CompleteCourse Fourth Edition :Prentice Hall. 2002

- 77 - แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 4ตอนท่ี 1 จงเติมคาในช่องวา่ งและตอบคาถามในขอ้ ตอ่ ไปน้ีใหม้ ีความถูกตอ้ งสมบรู ณ์มากท่ีสุด1. การผสมคลื่นทางความสูงหรือ AM คือ ......................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................2. ดรรชนีการมอดูเลต (m) คือ ........................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................3. การมอดูเลตเกินกาลงั (Over Modulation) คือ ................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................4. แถบคลื่นความถี่ของการผสมคล่ืนแบบ (AM Spectrum Frequency) ประกอบดว้ ยความถ่ีใดบา้ ง ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................5. การผสมคลื่นทางความถี่ หรือ FM คือ ........................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................6. การผสมคลื่นทางเฟส หรือ PM คือ ................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................

- 78 -ตอนท่ี 2 จงแสดงวธิ ีคานวณค่าต่อไปน้ี1. เคร่ืองส่งวทิ ยรุ ะบบ FM กาหนดคา่ เบ่ียงเบนสูงสุด (Fc) =  80 กิโลเฮิรตซ์ ท่ีการมอดูเลชน่ั ที่ 100 % และมีค่าเบี่ยงเบนความถ่ี (fc) =  40 กิโลเฮิรตซ์ เคร่ืองส่งจะมีการมอดูเลชนั่ กี่ เปอร์เซ็นต์2. กาหนดใหส้ ญั ญาณที่นามามอดูเลต (fm) เป็น 20 กิโลเฮิรตซ์ และมีการเบ่ียงเบนความถี่ (fc) =  55 กิโลเฮิรตซ์ จะมีค่าดรรชนีการมอดูเลตเท่าไร3. ในเครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ FM กาหนดใหก้ ารเบี่ยงเบนความถ่ีสูงสุดเท่ากบั  55 กิโลเฮิรตซ์ สาหรับการมอดูเลชน่ั 100 % และมีความถ่ีที่นามามอดูเลตสูงสุด 25 กิโลเฮิรตซ์ จะมีอตั ราการเบี่ยงเบนเท่าไร

- 79 - แบบทดลองฝึ กปฏบิ ตั ทิ ้ายหน่วยที่ 4 การมอดูเลตแบบเอเอม็จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม1. ประกอบวงจรมอดดูเลตแบบเอเอม็ ได้2. บอกการมอดูเลตแบบเอเอม็ ได้3. คานวณหาเปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลตได้เคร่ืองมือและอุปกรณ์1. ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) 1 เครื่อง2. สวพี เจนเนอเรเตอร์ (Sweep Generator) 1 เคร่ือง3. R 300  1 ตวั4. R 120  1 ตวั5. R 1.8 k 1 ตวั6. R 15 k 1 ตวั7. R 47 k 1 ตวั8. C .01 F 3 ตวั9. C .001 F 1 ตวั10. C 500 pF 1 ตวั11. C 220 pF 1 ตวั12. C 100 F 1 ตวั13. คอยลก์ ระป๋ อง 3 ตวั14. อินพทุ ทรานสฟอร์เมอร์ 2 ตวั15. XTAL 27 MHz. 1 ตวั16. ไดโอด 1 ตวั17. ทรานซิสเตอร์ BC5488 1 ตวั18. เฟท 2N3819 1 ตวั19. แผงตอ่ วงจร 1 แผง20. สายต่อวงจร 20 เส้น

- 80 -ลาดับข้นั การปฏบิ ัติ T11. ประกอบวงจรมอดูเลตแบบ AM ตามรูปที่ 4.11 +VCC AF INPUT OUTPUT 12015 KBC5488 104 2N3819 103 T210347 K 221 500 1.8K 300 100 μF รูปท่ี 4.11 วงจรมอดูเลตแบบ AM2. ป้ อนสัญญาณ A.F Signal ความถ่ี 1 kHz. ใหส้ ญั ญาณ เขา้ ทางดา้ น AF INPUT ใชอ้ อสซิลโลสโคปวดั สัญญาณเสียงท่ีป้ อนเขา้ มา ปรับความแรงของสัญญาณจนไดร้ ูป คล่ืนสญั ญาณ AM ท่ีดีท่ีสุด บนั ทึกคา่ ความแรงของสัญญาณ คา่ ความถ่ี และวาดรูปคล่ืนลง ในตารางกราฟที่ 4.1 ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p ค่าความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 4.1

- 81 -3. วดั ความแรงของสัญญาณ RF INPUT เปรียบเทียบกบั สญั ญาณ AF INPUT โดยใหค้ วามแรง ของสญั ญาณ AF มีค่าเท่ากบั 1/2 ของสัญญาณ RF4. นาออสซิลโลสโคปไปวดั สัญญาณท่ีจุดเอาตพ์ ตุ ของวงจร บนั ทึกค่าความแรงของสัญญาณ ค่าความถ่ี และวาดรูปคล่ืนที่ไดล้ งในตารางกราฟที่ 4.2 ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p คา่ ความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 4.25. วดั ความแรงของสัญญาณ RF INPUT เปรียบเทียบกบั สญั ญาณ AF INPUT โดยใหค้ วามแรง ของสัญญาณ AF มีค่าเท่ากบั ความแรงของสัญญาณ RF6. นาออสซิลโลสโคปไปวดั สัญญาณท่ีจุดเอาตพ์ ุตของวงจร บนั ทึกค่าความแรงของสัญญาณ คา่ ความถ่ี และวาดรูปคลื่นที่ไดล้ งในตารางกราฟที่ 4.3

- 82 - ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p ค่าความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟที่ 4.37. วดั ความแรงของสัญญาณ RF INPUT เปรียบเทียบกบั สัญญาณ AF INPUT โดยใหค้ วามแรง ของสัญญาณ AF มีคา่ มากกวา่ ความแรงของสัญญาณ RF เพื่อใหเ้ กิดการโอเวอร์มอดูเลชนั่8. นาออสซิลโลสโคปไปวดั สัญญาณที่จุดเอาตพ์ ุตของวงจร บนั ทึกค่าความแรงของสัญญาณ คา่ ความถี่ และวาดรูปคลื่นท่ีไดล้ งในตารางกราฟท่ี 4.4 คา่ แรงดนั = …………….. Vp-p ค่าความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 4.4

- 83 -9. จากตารางกราฟท่ี 4.1 คานวณหาคา่ เปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลต………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………สรุปผลการทดลอง………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- 84 - ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน แบบทดลองฝึ กปฏิบตั ิท้ายหน่วยท่ี 4 การมอดูเลตแบบเอเอม็ลาดบั หวั ขอ้ ประเมิน ผา่ น ไมผ่ า่ น ที่1 การเตรียมอุปกรณ์และเคร่ืองมือ 2.1 การเตรียมอุปกรณ์การทดลอง 2.2 การเตรียมเครื่องมือช่าง (หวั แร้ง คีมตดั ไขควงและอ่ืน ๆ) 2.3 การเตรียมเครื่องมือวดั (มิเตอร์ ออสซิลโลสโคปและอ่ืน ๆ)2 ความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 3.1 ตอ่ วงจรการมอดูเลตแบบเอเอม็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2 วดั สัญญาณ AF INPUT ท่ีต่อเขา้ วงจรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3.3 วดั สญั ญาณเอาตพ์ ตุ ขณะที่ความแรงของสัญญาณ AF มีค่า เทา่ กบั 1/2 ของสัญญาณ RF ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3.4 วดั สญั ญาณเอาตพ์ ุตขณะที่ความแรงของสญั ญาณ AF มีค่า เทา่ กบั ความแรงของสญั ญาณ RF ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3.5 วดั สัญญาณเอาตพ์ ตุ ขณะที่เกิดการโอเวอร์มอดูเลชน่ั ไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง3 การทางานของวงจร 4.1 เขียนรูปคล่ืนท่ีไดล้ งกราฟไดถ้ ูกตอ้ ง 4.2 คานวณหาค่าเปอร์เซ็นตก์ ารมอดไดถ้ ูกตอ้ ง รวมคะแนนหมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมินผล หวั ขอ้ ท่ีผา่ นในคร้ังแรกจะไดค้ ะแนนเตม็ 1 คะแนน ถา้ ผา่ นคร้ังท่ี 2 จะไดค้ ะแนน 0.5 คะแนน ถา้ ไมผ่ า่ นคร้ังท่ี 2 ไดค้ ะแนน 0 คะแนนขอ้ แนะนา……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ................................................ ผปู้ ระเมิน (.............................................)

- 85 - การมอดูเลตแบบเอฟเอม็จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม1. ประกอบวงจรมอดดูเลตแบบเอฟเอม็ ได้2. อธิบายการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ ได้เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์1. ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) 1 เคร่ือง2. สวพี เจนเนอเรเตอร์ (Sweep Generator) 1 เครื่อง3. R 300  2 ตวั4. R 120  2 ตวั5. R 15 k 1 ตวั6. R 47 k 1 ตวั7. C .01 F 3 ตวั8. C .001 F 1 ตวั9. C 18 pF 2 ตวั10. C 100 pF 1 ตวั11. C 500 pF 1 ตวั12. C 100 F 2 ตวั13. คอยล์ 2 ตวั14. คอยปรับค่าได้ 1 ตวั15. XTAL 16 MHz. 1 ตวั16. วาริแคปไดโอด 1 ตวั17. ทรานซิสเตอร์ BC5488 1 ตวั18. เฟท 2N3819 1 ตวั19. แผงตอ่ วงจร 1 แผง20. สายตอ่ วงจร 20 เส้น

- 86 -ลาดับข้นั การปฏบิ ัติ1. ประกอบวงจรมอดูเลตแบบ FM ตามรูปที่ 4.12INPUT 104 R+FVCChC 120 Ld 100 μF 0.01 X-TAL 16 K BC5488 0.01 2N3819 OUTPUT 16MHz 18 600 18 VC 47 K 300 120 300 100 μF 101 รูปที่ 4.12 วงจรมอดูเลตแบบ FM2. ป้ อนสญั ญาณคล่ืน Sine Wave ความถ่ี 1 kHz. ใหค้ วามแรงสญั ญาณ 5 Vp-p จาก Function Generator ตอ่ เขา้ ที่จุด Input3. นาเอาออสซิลโลสโคปไปวดั สัญญาณท่ีขา C ของทรานซิสเตอร์ บนั ทึกค่าความแรงของ สญั ญาณ ค่าความถ่ี และวาดรูปคล่ืนที่ไดล้ งในตารางกราฟท่ี 4.5 ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p ค่าความถ่ี = …………….. Hz. ตารางกราฟที่ 4.5

- 87 -4. นาเอาออสซิลโลสโคปไปวดั สญั ญาณท่ีจุดเอาตพ์ ตุ ของวงจร บนั ทึกคา่ ความแรงของสัญญาณ ค่าความถ่ี และวาดรูปคล่ืนที่ไดล้ งในตารางกราฟท่ี 4.6 ค่าแรงดนั = …………….. Vp-p คา่ ความถี่ = …………….. Hz. ตารางกราฟท่ี 4.6สรุปผลการทดลอง………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- 88 - ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน แบบทดลองฝึ กปฏิบตั ิท้ายหน่วยท่ี 4 การมอดูเลตแบบเอฟเอม็ลาดบั หวั ขอ้ ประเมิน ผา่ น ไม่ผา่ น ที่1 การเตรียมอุปกรณ์และเคร่ืองมือ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์การทดลอง 1.2 การเตรียมเครื่องมือช่าง (หวั แร้ง คีมตดั ไขควงและอื่น ๆ) 1.3 การเตรียมเครื่องมือวดั (มิเตอร์ ออสซิลโลสโคปและอ่ืน ๆ)2 ความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 2.1 ต่อวงจรการมอดูเลตแบบเอฟเอม็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.2 วดั สัญญาณท่ีขา C ของทรานซิสเตอร์ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.3 วดั สัญญาณท่ีเอาตพ์ ตุ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.4 เขียนรูปคล่ืนที่ขา C ของทรานซิสตเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.5 เขียนรูปคลื่นท่ีจุดเอาตพ์ ุตไดถ้ ูกตอ้ ง รวมคะแนนหมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมินผล หวั ขอ้ ท่ีผา่ นในคร้ังแรกจะไดค้ ะแนนเตม็ 1 คะแนน ถา้ ผา่ นคร้ังท่ี 2 จะไดค้ ะแนน 0.5 คะแนน ถา้ ไม่ผา่ นคร้ังที่ 2 ไดค้ ะแนน 0 คะแนนขอ้ แนะนา……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ................................................ ผปู้ ระเมิน (.............................................)

- 89 - แบบประเมนิ ผลหน่วยที่ 4จงทาเคร่ืองหมาย  ลงในคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุด1. คล่ืนพาหะเราเรียกอีกอยา่ งวา่ อะไรก. คลื่นเสียง ข. คล่ืนวทิ ยุค. คล่ืนมอดูเลต ง. คลื่นไซน์2. เม่ือทาการผสมคล่ืนแลว้ ทาใหค้ ลื่นพาหะมีความสูงเปลี่ยนแปลง เรียกวา่ อะไรก. Amplitude Modulation ข. Frequency Modulationค. Phase Modulation ง. Single Sideband3. ความสูงของสัญญาณเราเรียกวา่ อะไรก. Frequency ข. Sidebandค. Amplitude ง. Bandwidth4. สญั ญาณคล่ืน AM มีค่า Emax = 35 Vp และ Emin = 7 Vp มีเปอร์เซ็นตก์ ารมอดูเลตเท่าไรก. 64.71 % ข. 66.67 %ค. 100 % ง. 150 %5. การผสมคลื่นแบบ AM มีค่าแถบกวา้ ง (Bandwidth) เทา่ กบั ขอ้ ใดก. คา่ fm + fc ข. คา่ fm - fcค. คา่ fm - fc ถึง fm + fc ง. คา่ fc - fm ถึง fc + fm6. ขอ้ ใดคือการผสมคลื่น แบบ FMก. การผสมคล่ืนที่ทาใหค้ ลื่นพาหะมีระดบั ความสูงเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณเสียงข. การผสมคลื่นท่ีคล่ืนเสียงและคล่ืนพาหะมีระดบั ความแรงเท่ากนัค. การผสมคลื่นท่ีทาใหค้ ล่ืนพาหะมีความถี่เปล่ียนแปลงตามสญั ญาณเสียงง. การผสมคลื่นที่ทาความถ่ีเปล่ียนแปลงตามเฟส7. อตั ราส่วนแรงดนั ของสญั ญาณมอดูเลตสูงสุดต่อแรงดนั คล่ืนพาห์สูงสุดคือคา่ อะไรก. ดรรชนีการมอดูเลชน่ั ข. การเบ่ียงเบนความถี่สูงสุดค. อตั ราส่วนแรงดนั ง. เดซิเบล8. ค่าของอะไรที่มีผลทาใหเ้ กิดความถี่ดา้ นขา้ งของการผสมคลื่นแบบ FMก. ความแรงของคลื่นพาหะ ข. ขนาดของสัญญาณเสียงท่ีผสมค. อตั ราส่วนการเบี่ยงเบน ง. ดรรชนีการผสมคลื่น ()

- 90 -9. ดรรชนีการมอดูเลชนั่ จะมีคา่ เทา่ ไร เม่ือ (fm) เป็น 20 กิโลเฮิรตซ์ และมีการเบี่ยงเบนความถ่ี (fc) เทา่ กบั  30 กิโลเฮิรตซ์ ก. 0.5 ข. 1.5 ค. 2.0 ง. 2.510. การผสมที่เมื่อเฟสเปล่ียนแปลงแลว้ ทาใหค้ วามถี่เปลี่ยนแปลง เรียกวา่ อะไร ก. AM ข. FM ค. PM ง. SSB


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook