Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

Published by pranthip.chon2557, 2017-11-01 23:57:45

Description: หน่วยที่ 3_1

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3 วงจรกรองความถี่ (FILTER CIRCUIT)สาระการเรียนรู้ 3.1 วงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-C 3.2 วงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-L 3.3 วงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ L-C 3.4 วงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-L-C 3.5 เซรามิกฟิ ลเตอร์ หรือคริสตอลฟิ ลเตอร์ (Ceramic or Crystal Filter)ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงัจุดประสงค์ปลายทาง มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ลกั ษณะการทางานและคุณสมบตั ิของวงจรกรองความถ่ีจุดประสงค์นาทาง 1. บอกคุณสมบตั ิของ RLC ได้ 2. อธิบายวงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-C ได้ 3. อธิบายวงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-L ได้ 4. อธิบายวงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ L-C ได้ 5. อธิบายวงจรกรองความถ่ีวทิ ยแุ บบ R-L-C ได้ 6. อธิบายเซรามิกฟิ ลเตอร์ หรือคริสตอลฟิ ลเตอร์ (Ceramic or Crystal Filter) ได้

- 37 -บทนา อุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ที่ประกอบอยใู่ นวงจร กรองความถ่ี คือ R (Resistor)L (Inductor) และ C (Capacitor) ซ่ึงอุปกรณ์เหล่าน้ีจะมีคุณสมบตั ิประจาตวั คือ ตวั ตา้ นทาน หรือ Rจะยอมใหค้ วามถี่ทุกความถี่ผา่ นได้ แต่จะลดระดบั ความแรงของสัญญาณลง ตวั เหนี่ยวนา หรือ L จะยอมใหค้ วามถ่ีต่าผา่ นไดง้ ่ายความถ่ีสูงผา่ นไดย้ าก และ ตวั เก็บประจุ หรือ C จะยอมให้ความถ่ีสูงผา่ นไดง้ ่าย ส่วนความถ่ีต่าผา่ นไดย้ าก จากคุณสมบตั ิของ R-L-C ตามที่กล่าวมาแลว้ เราสามารถนาไปทาเป็นวงจรกรองความถี่ได้4 แบบ คือ วงจรกรองความถี่ต่าผา่ น (Low Pass Filter) วงจรกรองความถ่ีสูงผา่ น (High Pass Filter)วงจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ น (Band Pass Filter) วงจรกรองยา่ นความถี่ไมผ่ า่ น (Band Stop Filter)3.1 วงจรกรองความถว่ี ทิ ยุแบบ R-C ลกั ษณะวงจรกรองความถ่ีแบบ R-C น้ีจะประกอบดว้ ย ตวั ตา้ นทานและตวั เกบ็ ประจุ ซ่ึงตวัตา้ นทานจะยอมใหค้ วามถ่ีผา่ นทุกยา่ นความถ่ี และตวั เก็บประจุจะยอมใหค้ วามถ่ีสูงผา่ นไดง้ ่าย ดงัรูป ท่ี 3.1 ก และ ข (ก) (ข) รูปท่ี 3.1 วงจรกรองความถ่ีแบบ R-C รูปท่ี 3.1 ก. วงจรกรองความถ่ีแบบ R-C ที่ยอมใหค้ วามถี่ต่าผา่ นตวั ตา้ นทานไปไดง้ ่ายส่วนความถ่ีสูงน้นั จะผา่ นตวั เกบ็ ประจุลงกราวด์ รูปท่ี 3.1 ข. วงจรกรองความถ่ีแบบ R-C ที่ความถ่ีสูงจะผ่านตวั เก็บประจุไปได้ง่ายตามคุณสมบตั ิของตวั เกบ็ ประจุ

- 38 -3.2 วงจรกรองความถว่ี ทิ ยุแบบ R-L ลกั ษณะวงจรกรองความถ่ีแบบ R-L น้ีจะประกอบดว้ ย ตวั ตา้ นทานและตวั เหน่ียวนา ซ่ึงคุณสมบตั ิตวั เหน่ียวนาจะยอมใหค้ วามถ่ีต่าผา่ นง่าย ง่าย ดงั รูปท่ี 3.2 ก และ ข (ก) (ข) รูปที่ 3.2 วงจรกรองความถ่ีแบบ R-L รูปที่ 3.2 ก. วงจรกรองความถ่ีแบบ R-L ท่ียอมใหค้ วามถ่ีสูงผา่ นไดง้ ่าย ส่วนความถ่ีต่าจะผา่ นตวั เหน่ียวนาลงกราวด์ รูปที่ 3.2 ข. วงจรกรองความถี่แบบ R-L ที่ความถ่ีต่าจะผ่านตวั เหนี่ยวนาได้ง่าย ตามคุณสมบตั ิของตวั เหน่ียวนา3.3 วงจรกรองความถี่วทิ ยุแบบ L-C ลกั ษณะวงจรกรองความถี่แบบ L-C น้ีจะประกอบดว้ ยตวั เหน่ียวนา และตวั เก็บประจุ ซ่ึงจากคุณสมบตั ิของอุปกรณ์น้ี จะนามาจดั เป็ นวงจรกรองความถี่ได้ 4 แบบ คือ 3.3.1 วงจรกรองความถีต่ ่าผ่าน (Low Pass Filter) เป็นวงจรกรองความถี่ท่ียอมใหค้ วามถี่ที่ต่ากวา่ ความถี่ที่กาหนดไวผ้ า่ นได้ แต่ความถ่ีที่สูงกวา่ ค่า ความถ่ีที่กาหนดไวจ้ ะไม่ยอมใหผ้ า่ น ดงั รูปท่ี 3.3

- 39 - ความถี่ผา่ น ความถี่คทั ออฟ (CUT OFF FREQUENCY) (ก) (ข) รูปท่ี 3.3 วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ น (Low Pass Filter) จากรูปท่ี 3.3 จากคุณสมบตั ิของ L และ C เมื่อป้ อนความถี่ใหก้ บั วงจร ความถี่ต่าจะผา่ นตวัเหนี่ยวนาไปไดง้ ่าย ส่วนความถี่สูงจะผา่ นตวั เกบ็ ประจุไดง้ ่าย เม่ือความถ่ีสูงผา่ นตวั เก็บประจุลงกราวด์ แลว้ จึงเหลือเฉพาะความถี่ต่าออกทางเอาตพ์ ตุ ดงั น้นั ถา้ เรานาเอาความถ่ีสูง ๆ ป้ อนใหก้ บัวงจรความถี่สูงจะผา่ นตวั เกบ็ ประจุไดม้ ากข้ึน ความถ่ีต่าจะสามารถผา่ นออกเอาตพ์ ุตลดลงเหลือเพียง 70.7 % จากความแรงสูงสุด 100 % หรือลดลงจากปกติเหลือนอ้ ยกวา่ -3 dB เราจะเรียกความถ่ียา่ นน้ีวา่ ความถ่ีคทั ออฟ (Cut Off Frequency) วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ น สามารถแบ่งยอ่ ยไดอ้ ีก 2 แบบ คือ 3.3.1.1 วงจรกรองความถี่ต่าผา่ นชนิดที (T. Type Low Pass Filter) 3.3.1.2 วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นชนิดพาย ( .Type Low Pass Filter) 3.3.1.1 วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นชนิดที (T. Type Low Pass Filter) จากวงจรกรองความถี่ต่าผา่ นที่ใช้ L หรือ C เพยี งตวั เดียวไมส่ ามารถกาจดั สัญญาณความถี่สูง ๆ ไดห้ มด ทาใหค้ วามถ่ีสูง ๆ ยงั ผา่ นไปได้ เพ่ือใหป้ ระสิทธิภาพ ของวงจรกรองความถ่ีดียง่ิ ข้ึน จึงต่อ L เพมิ่ เขา้ ไปในวงจรทาใหม้ ีรูปวงจรคลา้ ยตวั “T” เราจึงเรียกวงจรกรองความถี่แบบน้ีวา่ ชนิดที ดงั รูป 3.4 รูปท่ี 3.4 วงจรกรองความถี่ต่าผา่ นชนิดที

- 40 - 3.3.1.2 วงจรกรองความถี่ต่าผา่ นชนิดพาย ( .TYPE Low Pass Filter) เพ่ือเพิ่มประสิทธิ ภาพการกาจดั ความถี่สูง ๆ ไดห้ มด จึงเพมิ่ ตวั C ใน วงจรอีก 1 ตวั มีลกั ษณะคลา้ ยตวั  จึงเรียกวงจรกรองความถี่ต่าชนิดพาย () เรา นิยมใชเ้ ป็นวงจรกรองสญั ญาณในวงจรแปลงไฟ AC เป็น DC (Power Supply) และ วงจรเรกกเู ลเตอร์ (Regulator) ดงั รูปท่ี 3.5 รูปท่ี 3.5 วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นชนิดพาย 3.3.2 วงจรกรองความถี่สูงผ่าน (High Pass Filter) เป็นวงจรกรองความถ่ีท่ียอมใหค้ วามถ่ีท่ีสูงกวา่ ความถ่ีที่กาหนดไวผ้ า่ นได้ แต่ความถ่ีที่ต่ากวา่ ความถ่ีที่กาหนดไวจ้ ะผา่ นไม่ได้ ดงั รูปที่ 3.6 ความถ่ีผา่ น ความถี่คทั ออฟ (CUT OFF FREQUENCY) (ก) (ข) รูปท่ี 3.6 วงจรกรองความถี่สูงผา่ น (High Pass Filter) จากรูปที่ 3.6 จากคุณสมบตั ิของ L และ C เม่ือป้ อนสัญญาณความถ่ีใหก้ บั วงจรความถี่สูงจะผา่ นตวั เกบ็ ประจุไปไดง้ ่าย ส่วนความถี่ต่าจะผา่ นตวั เหน่ียวนาไปไดง้ ่าย เม่ือความถี่ต่าผา่ นตวัเหน่ียวนาลงกราวด์ จึงเหลือเฉพาะความถ่ีสูงผา่ นออกทางเอาตพ์ ุต ถา้ เราป้ อนความถ่ีสูง ๆ ใหก้ บัวงจรจะทาใหค้ วามถี่ผา่ นออกไปทางเอาตพ์ ุตมากข้ึน ประมาณ 70.7 % จากความแรงสูงสุด 100 %ซ่ึงเรียกวา่ ช่วงความถี่คทั ออฟ (Cut Off Frequency)

- 41 - วงจรกรองความถี่สูงผา่ น สามารถแบ่งยอ่ ยไดอ้ ีก 2 แบบ คือ 3.3.2.1 วงจรกรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดที (T. Type High Pass Filter) 3.3.2.2 วงจรกรองความถี่สูงผา่ นชนิดพาย ( .Type High Pass Filter) 3.3.2.1 วงจรกรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดที (T. Type High Pass Filter) จากวงจรกรองความถ่ีสูงผา่ นท่ีใช้ C หรือ L เพียงตวั เดียวไม่สามารถกาจดั สัญญาณความถี่ต่า ๆ ไดห้ มด เพอื่ ใหป้ ระสิทธิ ภาพของวงจรกรองความถี่ดียงิ่ ข้ึน จึงต่อ C เพมิ่ เขา้ ไปในวงจรทาใหม้ ีรูปวงจรคลา้ ยตวั “ T ” เราจึงเรียกวงจรกรอง ความถี่แบบน้ีวา่ ชนิดที ดงั รูป 3.7 รูปท่ี 3.7 วงจรกรองความถี่สูงผา่ นชนิดที 3.3.2.2 กรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดพาย ( .TYPE High Pass Filter) เพือ่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการกาจดั ความถ่ีต่า ๆ ไดห้ มด จึงเพมิ่ ตวั L ในวงจร อีก 1 ตวั มีลกั ษณะคลา้ ยตวั  จึงเรียกวงจรกรองความถ่ีสูงชนิดพาย () ดงั รูปท่ี 3.8 รูปที่ 3.8 วงจรกรองความถี่สูงผา่ นชนิดพาย3.3.3 วงจรกรองย่านความถี่ผ่าน (Band Pass Filter) เป็นวงจรกรองความถ่ีท่ียอมใหเ้ ฉพาะ ความถี่ในยา่ นท่ีกาหนดไวผ้ า่ นไปได้ ส่วนความถี่ที่ต่ากวา่ หรือสูงกวา่ ยา่ นที่กาหนดไวจ้ ะผา่ นวงจรไปไมไ่ ด้ ดงั รูปท่ี 3.9

- 42 -LOW PASS HIGH PASS (ก) ความถ่ีผา่ น ความถี่คทั ออฟ (CUT OFF FREQUENCY) (ข) รูปที่ 3.9 วงจรกรองยา่ นความถี่ผา่ น (Band Pass Filter) จากรูปที่ 3.9 เมื่อเรานาเอาวงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นมาต่อรวมกบั วงจรกรองความถ่ีสูง ก็จะทาใหไ้ ดว้ งจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ นไดเ้ ช่นกนั หรือ อาจใชจ้ ากวงจรเรโซแนนทท์ ้งั แบบขนานกบัแบบอนั ดบั ตอ่ รวมกนั ได้ ดงั รูป 3.10 รูปที่ 3.10 วงจรเรโซแนนทต์ ่อเป็นวงจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ น จากรูปที่ 3.10 ดว้ ยคุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนานถา้ ความถ่ีต่ากวา่ และสูงกวา่ คา่ตอบสนองความถี่ของวงจร ความถ่ีจะถูกบายพาสลงกราวดไ์ มอ่ อกเอาตพ์ ตุ แต่ถา้ ความถี่ที่ป้ อนตรง

- 43 -กบั ความถ่ีเรโซแนนท์ จะมีศกั ยต์ กคร่อมวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนานสูงสุด จึงทาใหม้ ีสัญญาณส่งออกเอาตพ์ ุตสูง จากคุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั ถา้ ความถ่ีที่ป้ อนเขา้ มาต่ากวา่และสูงกวา่ ความถี่เรโซแนนทจ์ ะผา่ นวงจรไดย้ าก แต่ถา้ ความถ่ีเรโซแนนท์ ที่ป้ อนเขา้ มาวงจรมีค่าความตา้ นทานตรงกบั ความถี่น้ี ความถ่ีจึงผา่ นออกเอาตพ์ ุตไดม้ าก เมื่อปรับค่าการตอบสนองความถ่ีตรงกนั ท้งั เรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั และเรโซแนนทข์ นาน จะทาใหส้ ามารถกาหนดยา่ นผา่ นของความถ่ีไดต้ ามตอ้ งการ 3.3.4. วงจรกรองย่านความถ่ีไม่ผ่าน (Band Stop Filter) เป็นวงจรกรองท่ีมีคุณสมบตั ิตรงขา้ มกบั แบบกรองยา่ นความถ่ีผา่ น นน่ั คือจะไม่ยอมใหค้ วามถี่ต่าง ๆ ในยา่ นท่ีกาหนดไวผ้ า่ น แตถ่ า้ ความถ่ีในยา่ นที่ต่ากวา่ หรือสูงกวา่ ที่กาหนดไว้ จะยอมใหผ้ า่ นไปได้ ดงั รูปที่ 3.11 (ก) ความถี่ ความถ่ี ผา่ น ผา่ น ความถี่คทั ออฟ (CUT OFF FREQUENCY) (ข) รูปท่ี 3.11 วงจรกรองยา่ นความถ่ีไมผ่ า่ น จากรูปที่ 3.11 ลกั ษณะการต่อวงจรจะตรงกนั ขา้ มกบั วงจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ น จะมีวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนานต่ออนั ดบั กบั วงจร วงจรเรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั ตอ่ ขนานกบั วงจร โดยกาหนดจุดเรโซแนนทใ์ หเ้ ท่ากนั ทุกวงจร

- 44 - คุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนาน คือ ถา้ ความถ่ีท่ีป้ อนเขา้ มามีคา่ ความถ่ีต่ากวา่หรือสูงกวา่ ความถ่ีเรโซแนนทข์ องวงจรแบบขนาน ความถ่ีจะผา่ นวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนานได้ง่ายเพราะความตา้ นทานวงจรเรโซแนนทข์ นานจะมีคา่ ต่า และเม่ือไดท้ าการป้ อนความถี่เขา้ มาตรงกบั ความถ่ี เรโซแนนทข์ องวงจรความถ่ี จะผา่ นวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนานไม่ได้ เพราะความตา้ นทานของวงจรสูง คุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั คือ ถา้ ความถ่ีที่ป้ อนเขา้ มาต่ากวา่ หรือสูงกวา่ความ ถี่เรโซแนนท์ ความถ่ีจะผา่ นวงจรเรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั ไดย้ าก เพราะวงจรมีความตา้ นทานสูง และ ถา้ ความถ่ีท่ีป้ อนเขา้ มาตรงกบั ความถ่ีเรโซแนนท์ จะผา่ นวงจรเรโซแนนทแ์ บบอนั ดบั ไดง้ ่ายเพราะวงจรมีความตา้ นทานต่า เมื่อวงจรเรโซแนนทท์ ้งั สองมีคา่ ตอบสนองความถี่ท่ากนั จะทาให้การกาหนดความถ่ีผา่ นและความถี่ไมผ่ า่ นเทา่ กนั สามารถกาหนดยา่ นความถ่ีไดถ้ ูกตอ้ ง3.4 วงจรกรองความถวี่ ทิ ยุแบบ R-L-C ลกั ษณะวงจรกรองความถ่ีแบบ R-L-C น้ีจะประกอบดว้ ย ตวั ตา้ นทาน ตวั เหนี่ยวนา และตวัเก็บประจุ ซ่ึงมกั ทาเป็นวงจร กรองยา่ นความถี่ผา่ น (Band Pass Filter) ซ่ึงยอมใหค้ วามถี่เฉพาะยา่ นท่ีกาหนดผา่ นไปได้ ความถ่ีที่สูงกวา่ หรือต่ากวา่ ยา่ นท่ีกาหนดไวจ้ ะไมส่ ามารถผา่ นไปได้ ดงั รูปท่ี3.12 รูปที่ 3.12 วงจรกรองความถี่แบบ R-L-C หรือ Band Pass Filter และทาเป็นวงจรกรองยา่ นความถ่ีไม่ผา่ น (Band Stop Filter) ซ่ึงจะไม่ยอมใหค้ วามถี่ต่าง ๆในยา่ นท่ีกาหนดไวผ้ า่ น แตถ่ า้ ความถี่ในยา่ นท่ีต่ากวา่ หรือสูงกวา่ ยา่ นท่ีกาหนดไวจ้ ะผา่ นไปได้ ดงั รูปที่ 3.13

- 45 - (ก) (ข) รูปท่ี 3.13 วงจรกรองความถ่ีแบบ R-L-C หรือ Band Stop Filter3.5 เซรามกิ ฟิ ลเตอร์ หรือคริสตอลฟิ ลเตอร์ (Ceramic or Crystal Filter) นอกจากจะใชอ้ ุปกรณ์ R-L-C มาทาเป็นวงจรกรองความถี่แลว้ เรายงั มีอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กรอง (Filter) ท่ีเรียกวา่ เซรามิก ฟิ ลเตอร์ หรือคริสตอล ฟิ ลเตอร์ ซ่ึงคุณสมบตั ิของตวั เซรามิกจะคลา้ ยกบั คุณสมบตั ิของคริสตอล คือ จะใหก้ ารตอบสนองความถ่ีเรโซแนนทเ์ พียงความถี่เดียว ถา้ความถ่ีที่ป้ อนเขา้ มาตรงกบั ความถ่ีเรโซแนนทข์ องตวั เซอรามิก ตวั เซอรามิกจะยอมใหค้ วามถ่ีน้นัผา่ นตวั มนั ออกเอาตพ์ ุตได้ แตถ่ า้ ความถี่ที่ป้ อนเขา้ มาไม่ตรงกบั ความถ่ีเรโซแนนท์ ความถ่ีน้นั จะไม่สามารถผา่ นตวั เซอรามิกได้ ดงั รูปที่ 3.14 ตวั เกบ็ ประจุเกิดจากแผน่ โลหะประกบ ตวั คริสตอล รูปท่ี 3.14 ลกั ษณะวงจรสมมูลยแ์ ละรูปร่างจริง ที่มา : พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ์ .2541 หนา้ 65 ตวั เซอรามิก ฟิ ลเตอร์ จะทางานเหมือนวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนาน คือ จะเป็นตวั กาหนดความถ่ีผา่ นตวั มนั เพียงความถ่ีเดียว การตอบสนองความถี่ของเซอรามิก ฟิ ลเตอร์ ข้ึนอยกู่ บั การผลิตผลึกแร่ใหต้ อบสนองความถ่ีที่คา่ ใด เซอรามิก ฟิ ลเตอร์ก็จะตอบสนองความถี่ท่ีค่าน้นั

- 46 - ดงั น้นั ความถี่ตา่ ง ๆ ท่ีถูกป้ อนเขา้ มาที่ขาเขา้ (IN) จะผา่ นตวั เซอรามิก ฟิ ลเตอร์ไดเ้ พยี งความถ่ีเดียว ท่ีตรงกบั ความถี่เรโซแนนทข์ องตวั เซอรามิก ฟิ ลเตอร์ คือจะไปทาใหผ้ ลึกแร่ส่ันเหน่ียวนาความถี่น้นั ส่งออกทางขาออก (OUT) ส่วนความถี่อื่น ๆ ท่ีไมต่ รงความถี่เรโซแนนทก์ ็จะถูกกาจดั ทิง้ เซอรามิก ฟิ ลเตอร์ นิยมใชป้ ็นวงจรจูนด์ IF ของเคร่ืองรับวทิ ยุ เครื่องรับโทรทศั น์ และอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การรับความถ่ี หรือกาหนดความถี่ผา่ นตามตอ้ งการบทสรุป ตวั ตา้ นทาน จะยอมใหค้ วามถ่ีทุกความถี่ผา่ นได้ แตจ่ ะลดระดบั ความแรงของสัญญาณลงตวั เหนี่ยวนา จะยอมใหค้ วามถี่ต่าผา่ นไดง้ ่ายความถ่ีสูงผา่ นไดย้ าก และตวั เกบ็ ประจุ จะยอมให้ความถ่ีสูงผา่ นไดง้ ่าย ส่วนความถ่ีต่าผา่ นไดย้ าก จากคุณสมบตั ิของ RLC ทาเป็นวงจรกรองความถี่ได้ 4 แบบ คือ วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นวงจรกรองความถ่ีสูงผา่ น วงจรกรองยา่ นความถี่ผา่ น วงจรกรองยา่ นความถี่ไมผ่ า่ น วงจรกรองความถี่ต่าผา่ น จะยอมใหค้ วามถี่ท่ีต่ากวา่ ความถ่ีที่กาหนดไวผ้ า่ นไดแ้ ต่ความถ่ีท่ีสูงกวา่ คา่ ความถ่ีที่กาหนดไวจ้ ะไม่ยอมใหผ้ า่ น วงจรกรองความถี่สูงผา่ น จะยอมใหค้ วามถี่ท่ีสูงกวา่ ความถ่ีที่กาหนดไวผ้ า่ นได้ แต่ความถี่ที่ต่ากวา่ ความถี่ท่ีกาหนดไวจ้ ะผา่ นไมไ่ ด้ วงจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ น จะยอมใหเ้ ฉพาะความถี่ในยา่ นที่กาหนดไวผ้ า่ นไปได้ ส่วนความถ่ีที่ต่ากวา่ หรือสูงกวา่ ยา่ นท่ีกาหนดไวจ้ ะผา่ นวงจรไปไม่ได้ วงจรกรองยา่ นความถ่ีไมผ่ า่ น จะไมย่ อมใหค้ วามถี่ตา่ ง ๆ ในยา่ นที่กาหนดไวผ้ า่ น แตถ่ า้ความถี่ในยา่ นท่ีต่ากวา่ หรือสูงกวา่ ที่กาหนดไวจ้ ะผา่ นไปได้ เซรามิก ฟิ ลเตอร์ หรือคริสตอล ฟิ ลเตอร์ จะใหก้ ารตอบสนองความถ่ีเรโซแนนทเ์ พียงความถ่ีเดียว ถา้ ความถี่ที่ป้ อนเขา้ มาตรงกบั ความถ่ีเรโซแนนทข์ องตวั เซอรามิก ตวั เซอรามิกจะยอมใหค้ วามถี่น้นั ผา่ นตวั มนั ออกเอาตพ์ ตุ ได้ จึงนามาทาเป็นตวั กรอง

- 47 - ศัพท์สาคญั ในหน่วยท่ี 31. Band Pass Filter วงจรกรองยา่ นความถ่ีผา่ น2. Band Stop Filter วงจรกรองยา่ นความถี่ไม่ผา่ น3. Capacitor ตวั เก็บประจุ4. Ceramic Filter เซอรามิก ฟิ ลเตอร์5. Crystal Filter คริสตอล ฟิ ลเตอร์6. Cut Off Frequency ความถี่คทั ออฟ7. Filter Circuit วงจรกรองความถ่ี8. High Pass Filter วงจรกรองความถ่ีสูง9. Inductor ตวั เหน่ียวนา10. Low Pass Filter วงจรกรองความถี่ต่า11. Power Supply แหล่งจ่ายไฟ12. Regulator วงจรเรกกเู ลเตอร์13. Resistor ตวั ตา้ นทาน14. T. Type High Pass Filter กรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดที กรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดพาย15. . Type High Pass Filter16. T. Type Low Pass Filter กรองความถ่ีต่าผา่ นชนิดที กรองความถี่ต่าผา่ นชนิดพาย17. . Type Low Pass Filter

- 48 - บรรณานุกรมชิงชยั วรรณรักษ.์ แผนการสอนแยกย่อยแบบพศิ ดาร. หนองคาย :ประพนั ธ์ พพิ ฒั นสุข และ วลิ าวลั ย์ โฉมเฉลา. ทฤษฎีเคร่ืองรับวิทยุ AM-FM. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี คร่ืองรับวิทย.ุ กรุงเทพ ฯ : สานกั พิมพ์ ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ.พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ ทฤษฎเี คร่ืองรับวทิ ยุ. กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศนู ยส์ ่งเสริมวชิ าการ.พนั คา ช่อวงศ.์ เคร่ืองส่งวิทยุและสายอากาศ. กรุงเทพ ฯ : สานกั พิมพ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ.น.ท. วโิ รจน์ แกว้ จนั ทร์. ทฤษฎเี ครื่องส่งวทิ ยุ. บริษทั สกายบุก๊ ส์ จากดั .ร.ต.อ. สุชาติ กงั วารจิตต.์ เครื่องรับส่งวทิ ยุและระบบวทิ ยุสื่อสาร. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชน่ั , 2532.GEORGE KENNEDY. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. THIRD EDITION : McGRAW-HILL. 1984.WILLIAM SCHWEBER. ELECTRONIC COMMUNICATION SYSTEM. A CompleteCourse Fourth Edition :Prentice Hall. 2002.

- 49 - แบบฝึ กหัดหน่วยท่ี 3ตอนที่ 1 จงเติมคาในช่องวา่ งและตอบคาถามในขอ้ ต่อไปน้ีใหม้ ีความถูกตอ้ งสมบรู ณ์มากที่สุด1. คุณสมบตั ิของตวั ตา้ นทาน (R) คือ ................................................................................................ ........................................................................................................................................................2. คุณสมบตั ิของตวั เหนี่ยวนา (L) คือ ............................................................................................... ........................................................................................................................................................3. คุณสมบตั ิของตวั เก็บประจุ (C) คือ .............................................................................................. ........................................................................................................................................................4. วงจรกรองความถี่มีกี่แบบ ............. แบบ อะไรบา้ ง ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................5. วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ น ยงั แบ่งยอ่ ยได้ 2 แบบ คือ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................6. คุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบขนาน คือ ............................................................................. ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................7. คุณสมบตั ิของวงจรเรโซแนนทแ์ บบอนุกรม คือ ........................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................8. คุณสมบตั ิของเซรามิก ฟิ ลเตอร์ คือ ............................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................

- 50 -ตอนท่ี 2 จงเขียนรูปวงจรกรองความถ่ีตอ่ ไปน้ี1. วงจรกรองความถ่ีต่าผา่ นชนิดที (T.Type Low pass Filter)2. วงจรกรองความถ่ีสูงผา่ นชนิดพาย (.Type High pass Filter)3. วงจรกรองความถ่ีผา่ น (Band pass Filter)4. วงจรกรองความถี่ไม่ผา่ น (Band Stop Filter)

- 51 - แบบทดลองฝึ กปฏบิ ัติท้ายหน่วยที่ 3 วงจรกรองความถ่แี บบต่าง ๆ(ใช้โปรแกรม Electronic Workbench จาลองการทดลอง)จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม1. ประกอบวงจรกรองความถี่แบบตา่ ง ๆ ในโปรแกรม Electronic Workbench ได้2. บอกคุณสมบตั ิของวงจรกรองความถี่แบบตา่ ง ๆ ได้3. วดั สญั ญาณเอาตพ์ ทุ ของวงจรกรองความถี่แบบต่าง ๆ ได้เครื่องมือและอุปกรณ์1. เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง2. โปรแกรมElectronic Workbench Version 4.11 หรือ 5.12 1 ชุด

- 52 -ลาดบั ข้นั การปฏบิ ตั ิ1. ประกอบวงจร Low Pass Filter แบบ T–Type ตามรูปท่ี 3.15 ก. และแบบ -Type ตามรูปที่ 3.15 ข. โดยใช้ โปรแกรมElectronic Workbench 5 mF 5 mF output 390 10000 pF 1k 5 Vp-p (ก) T –Type 10 mF output 390 1k 5000 pF 3 Vp-p (ข)  - Type รูปที่ 3.15 วงจร Low Pass Filter2. ป้ อนสัญญาณโดยใชเ้ คร่ืองมือ A.C Voltage Source คา่ 10 V. เขา้ ทางดา้ นอินพตุ ของวงจร Low Pass Filter ตามรูปท่ี 3.15 ก. และ ข. ปรับความถ่ีตามตารางที่ 3.1 ใช้ ดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ วดั สัญญาณทางดา้ นเอาตพ์ ุตของวงจรท้งั รูปท่ี 3.15 ก. และ 3.15 ข. บนั ทึกค่าที่อา่ นไดล้ งใน ตารางที่ 3.1ความถี่ (F) 1 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.T –Type V. - Type V. ตารางที่ 3.1

- 53 -3. นาเอาผลการทดลองแบบ T–Type และ -Type ที่ไดจ้ ากตารางที่ 3.1 ไปเขียนลงในกราฟท่ี 3.1 และกราฟที่ 3.2 Vp-p54321 F 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 5 0 กราฟท่ี 3.1 แบบ T –Type Vp-p54321 F 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 5 0 กราฟท่ี 3.2 แบบ  - Type4. ใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพื่อเปรียบเทียบสัญญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร Low Pass Filter แบบ T–Type ตามรูปท่ี 3.15 ก. โดยกาหนดความถี่ สูงสุดของสัญญาณเขา้ วงจร (F) = 40 kHz. กาหนดคา่ ความถี่ ต่าสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (I) = 1 kHz. วาดรูปที่ไดล้ งในกราฟที่ 3.3

- 54 - Vp-p 10 15 20 25 30 35 F 40 kHz.5 กราฟท่ี 3.3 แบบ T –Type จาก BODE PLOTTER43210 055. จากการใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งท่ีขนาดสัญญาณมีคา่ เทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) มีคา่ ความถ่ีเทา่ กบั ________kHz.ใส่เคร่ืองหมายและคา่ ความถี่ลงในกราฟท่ี 3.36. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพ่ือเปรียบเทียบสญั ญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร Low Pass Filter แบบ -Type ตามรูปที่ 3.15 ข โดยกาหนดความถี่ สูงสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (F) = 40 kHz. กาหนดค่าความถี่ ต่าสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (I) = 1 kHz. วาดรูปที่ไดล้ งในกราฟท่ี 3.4 Vp-p 10 15 20 25 30 35 F 40 kHz.5 กราฟที่ 3.4 แบบ  - Type จาก BODE PLOTTER43210 057. จากการใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งที่ขนาดสัญญาณมีค่าเทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) มีค่าความถี่เท่ากบั _________kHz. ใส่เคร่ืองหมายและคา่ ความถ่ีลงในกราฟท่ี 3.4

- 55 -8. ประกอบวงจร High Pass Filter แบบ T–Type ตามรูปท่ี 3.16 ก. และแบบ -Type ตามรูปที่ 3.16 ข. 10000 pF 10000 pF output 390 1k 5 mF 5 Vp-p (ก) T –Type 5000 pF output 390 1k 10 mF 3 Vp-p (ข)  - Type รูปที่ 3. 16 วงจร High Pass Filter9. ป้ อนสญั ญาณโดยใชเ้ คร่ืองมือ A.C Voltage Source คา่ 10 V. เขา้ ทางดา้ นอินพุต ของวงจร High Pass Filter ตามรูปที่ 3.16 ก. และ ข. ปรับความถ่ีตามตารางที่ 3.2 ใช้ ดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ วดั สญั ญาณทางดา้ นเอาตพ์ ุตของวงจรท้งั รูปที่ 3.16 ก. และ 3.16 ข. บนั ทึกค่าท่ีอ่านไดล้ งใน ตารางที่ 3.2ความถ่ี (F) 10 15 20 25 30 35 40 45 50 kHz.T –Type Vp-p - Type Vp-p ตารางที่ 3.210. นาเอาผลการทดลองแบบ T–Type และ -Type ท่ีไดจ้ ากตารางท่ี 3.2 ไปเขียนลงในกราฟ รูปท่ี 3.5 กราฟแบบ T –Type และกราฟรูปที่ 3.6 กราฟ แบบ  - Type

- 56 - Vp-p54321 F 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 5 0 กราฟรูปท่ี 3.5 แบบ T –Type Vp-p54321 F 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 5 0 กราฟรูปที่ 3.6 แบบ  - Type11. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพอื่ เปรียบเทียบสญั ญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร High Pass Filter แบบ T–Type ตามรูปที่ 3.16 ก. โดยกาหนดความถ่ี สูงสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (F) = 50 kHz. กาหนดค่าความถี่ ต่าสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (I) = 10 kHz. วาดรูปที่ไดล้ งในกราฟที่ 3.7 Vp-p54321 F 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 0 กราฟที่ 3.7 แบบ T –Type จาก BODE PLOTTER

- 57 -12. จากการใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งที่ขนาดสัญญาณมีค่าเท่ากบั 0.707 Vin.(- 3 dB) มีค่าความถ่ีเทา่ กบั ________ kHz..ใส่เครื่องหมายและค่าความถี่ลงในกราฟท่ี 3.713. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพ่ือเปรียบเทียบสัญญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร High Pass Filter แบบ -Type ตามรูปที่ 3.16 ข. โดยกาหนดความถี่ สูงสุดของสัญญาณเขา้ วงจร (F) = 50 kHz. กาหนดคา่ ความถ่ี ต่าสุดของสญั ญาณเขา้ วงจร (I) = 10 kHz. วาดรูปที่ไดล้ งในกราฟที่ 3.8 Vp-p54321 F 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 0 กราฟที่ 3.8 แบบ T –Type จาก BODE PLOTTER14. จากการใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งท่ีขนาดสญั ญาณมีค่าเท่ากบั 0.707 Vin.(- 3 dB) มีคา่ ความถ่ีเทา่ กบั ________ kHz.ใส่เครื่องหมายและคา่ ความถ่ีลงในกราฟที่ 3.815. ประกอบวงจร Band Pass Fillter ตามรูปท่ี 3.17 output 390 10000 pF 10 mF 5 Vp-p รูปที่ 3.17 วงจร Band Pass Fillter16. ป้ อนสัญญาณโดยใชเ้ คร่ืองมือ A.C Voltage Source คา่ 10 V. เขา้ ทางดา้ นอินพุต ของวงจร Band Pass Filter ตามรูปที่ 3.17 ปรับความถี่ตามตารางที่ 3.3 ใชด้ ิจิตอลมลั ติมิเตอร์วดั สัญญาณ ทางดา้ นเอาตพ์ ุตของวงจรรูป 3.17 บนั ทึกค่าที่อา่ นไดล้ งในตารางที่ 3.3

- 58 - ความถ่ี(F) 1 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 kHz. Output V. ตารางท่ี 3.3 F17. นาผลการทดลองท่ีไดจ้ ากตาราง 3.3 ไปเขียนลงในกราฟรูปท่ี 3.9 40 kHz. Vp-p 5 4 3 2 1 0 0 5 10 15 20 25 30 35 กราฟรูปท่ี 3.9 Band Pass Filter18. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพ่ือเปรียบเทียบสัญญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร Band Pass Filter โดยกาหนดความถี่สูงสุดของสัญญาณเขา้ วงจร (F) = 70 kHz. กาหนดค่าความถี่ ต่าสุดของสัญญาณเขา้ วงจร(I) = 1 kHz. วาดรูปที่ไดล้ ง ในกราฟท่ี 3.10 Vp-p54321 F 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 0 กราฟรูปท่ี 3.10 Band Pass Filter จาก BODE PLOTTER

- 59 -19. จากการใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งท่ีขนาดสัญญาณมีคา่ เทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งแรก F1 มีค่าความถ่ีเท่ากบั ________ kHz.ใส่เคร่ืองหมายและคา่ ความถี่ลงในกราฟ ที่ 3.10 และตาแหน่งท่ีขนาดสัญญาณมีคา่ เท่ากบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งท่ี 2 F2 มี ค่าความถ่ีเท่ากบั ________ kHz.ใส่เคร่ืองหมายและคา่ ความถ่ีลงในกราฟท่ี 3.1020. ประกอบวงจร Band Stop Fillter แบบอนุกรมตามรูปที่ 3.18 ก.และแบบขนานตามรูปท่ี 3.18 ข. 390 5 mH 1k 5000 pF 5 Vp-p (ก) แบบอนุกรม 5 mH 390 5000 pF 1k 5 Vp-p (ข) แบบขนาน รูปท่ี 3.18 วงจร Band Stop Fillter21. ป้ อนสัญญาณโดยใชเ้ คร่ืองมือ A.C Voltage Source คา่ 10 V. เขา้ ทางดา้ นอินพุต ของวงจร Band Stop Filter แบบอนุกรมและแบบขนานตาม รูปที่ 3.18 ก. และ ข. ปรับความถ่ีตาม ตารางท่ี 3.4 ใชด้ ิจิตอลมลั ติมิเตอร์ วดั สัญญาณทางดา้ นเอาตพ์ ุตของ วงจรรูป 3.18 ก. และ ข. บนั ทึกค่าที่อ่านไดล้ งในตารางท่ี 3.4ความถี่ (F) 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 kHz.อนุกรม V.ขนาน V. ตารางที่ 3.4

- 60 -22. นาผลการทดลองท่ีไดจ้ ากตาราง 3.4 ไปเขียนลงในกราฟรูปท่ี 3.11 กราฟ Band Stop Filter แบบอนุกรม และกราฟรูปท่ี 3.12 กราฟ Band Stop Filter แบบขนาน Vp-p5 10 15 20 25 30 35 F4 40 kHz.3 กราฟรูปท่ี 3.11 Band Stop Filter แบบอนุกรม210 05 Vp-p54321 F 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 5 0 กราฟรูปท่ี 3.12 Band Stop Filter แบบขนาน23. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพ่อื เปรียบเทียบสัญญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร Band Stop Filter แบบอนุกรม โดยกาหนดความถี่สูงสุดของสญั ญาณ เขา้ วงจร (F) = 70 kHz. กาหนดค่าความถี่ ต่าสุดของสัญญาณเขา้ วงจร(I) = 10 kHz. วาดรูปท่ี ไดล้ งในกราฟที่ 3.13 Vp-p54321 F 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 0 กราฟรูปท่ี 3.13 Band Stop Filter แบบอนุกรม

- 61 -24. จากการใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งที่ขนาดสญั ญาณมีคา่ เทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งแรก F1 มีคา่ ความถี่เทา่ กบั _______ kHz.ใส่เคร่ืองหมายและค่าความถ่ีลงในกราฟ ท่ี3.13 และตาแหน่งที่ขนาดสัญญาณมีค่าเทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งที่ 2 F2 มี คา่ ความถี่เทา่ กบั _______ kHz.ใส่เคร่ืองหมายและคา่ ความถ่ีลงในกราฟที่ 3.1325. ใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER วดั ทดลองเพื่อเปรียบเทียบสัญญาณ FREQUENCY RESPOND ของวงจร Band Stop Filter แบบขนาน โดยกาหนดความถี่สูงสุดของสัญญาณ เขา้ วงจร (F) = 70 kHz. กาหนดคา่ ความถี่ ต่าสุดของสัญญาณเขา้ วงจร(I) = 10 kHz. วาดรูป ท่ีไดล้ งในกราฟท่ี 3.14 Vp-p54321 F 5 10 15 20 25 30 35 40 kHz.0 0 กราฟรูปที่ 3.14 Band Stop Filter แบบขนาน26. จากการใชเ้ คร่ืองมือ BODE PLOTTER ตาแหน่งท่ีขนาดสญั ญาณมีคา่ เท่ากบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งแรก F1 มีคา่ ความถี่เทา่ กบั _______ kHz.ใส่เครื่องหมายและค่าความถี่ลงในกราฟที่ 3.13 และตาแหน่งท่ีขนาดสัญญาณมีค่าเทา่ กบั 0.707 Vin.(- 3 dB) ตาแหน่งที่ 2 F2 มีคา่ ความถี่ เทา่ กบั ________ kHz. ใส่เครื่องหมายและค่าความถ่ีลงในกราฟที่ 3.14สรุปผลทดลอง………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- 62 - ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน แบบทดลองฝึ กปฏบิ ัตทิ ้ายหน่วยที่ 3 วงจรกรองความถแี่ บบต่าง ๆลาดบั หวั ขอ้ ประเมิน ผา่ น ไม่ผา่ น ที่1 การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ 1.1 การลงโปรแกรมสาหรับการทดลอง2 ความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 2.1 ต่อวงจร Low Pass Filter ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.2 ต่อวงจร High Pass Filter ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.3 ตอ่ วงจร Band Pass Fillter ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.4 ตอ่ วงจร Band Stop Fillter ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.5 ใชเ้ ครื่องมือดิจิตอลมลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั เอาตพ์ ุททุกวงจรได้ ถูกตอ้ ง 2.6 ใชเ้ ครื่องมือ BODE PLOTTER หาคา่ Frequency Response ได้ ถูกตอ้ ง 2.7 นาผลที่ไดจ้ ากการวดั ไปเขียนลงกราฟไดถ้ ูกตอ้ ง 2.8 เขียนรูปกราฟจาก BODE PLOTTER ไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม 2.9 สรุปผลการทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง รวมคะแนนหมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมินผล หวั ขอ้ ที่ผา่ นในคร้ังแรกจะไดค้ ะแนนเตม็ 1 คะแนน ถา้ ผา่ นคร้ังที่ 2 จะไดค้ ะแนน 0.5 คะแนน ถา้ ไม่ผา่ นคร้ังที่ 2 ไดค้ ะแนน 0 คะแนนขอ้ แนะนา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ .............................................. ผปู้ ระเมิน (.............................................)

- 63 - แบบประเมนิ ผลหน่วยที่ 3จงทาเคร่ืองหมาย  ลงในคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุด1. คุณสมบตั ิของตวั เหน่ียวนาจะยอมใหค้ วามถ่ีใดผา่ นไดง้ ่ายก. ความถ่ีต่า ข. ความถี่สูงค. ความถี่ปานกลาง ง. ทุกความถ่ี2. จากรูปวงจรที่ 3.19 คา่ ความถ่ีท่ีออกเอาตพ์ ุต จะเป็นความถี่ใด รูปวงจรที่ 3.19ก. ความถ่ีต่าข. ความถี่สูงค. ความถ่ีปานกลางง. ทุกความถี่3. วงจรกรองความถ่ีที่ยอมใหค้ วามถี่ที่ต่ากวา่ กาหนดไวผ้ า่ น เรียกวา่ วงจรใดก. Low Pass Filter ข. High Pass Filterค. Band Pass Filter ง. Band Stop Filter4. จากรูปวงจรที่ 3.20 คา่ ความถ่ีที่ออกเอาตพ์ ตุ จะเป็นความถ่ีใด รูปวงจรท่ี 3.20ก. ความถ่ีต่าข. ความถ่ีสูงค. ความถ่ีปานกลางง. ทุกความถี่

- 64 -5. วงจร High Pass Filter มีการทางานอยา่ งไรก. ยอมใหค้ วามถี่ต่ากวา่ กาหนดผา่ นข. ยอมใหค้ วามถ่ีสูงกวา่ กาหนดผา่ นค. ยอมใหเ้ ฉพาะความถ่ียา่ นท่ีกาหนดผา่ นง. ยอมใหเ้ ฉพาะความถี่ที่สูงกวา่ และต่ากวา่ ยา่ นกาหนดผา่ น6. วงจรกรองความถ่ีที่ยอมใหค้ วามถ่ีเฉพาะท่ีกาหนดผา่ น คือวงจรใดก. Low Pass Filter ข. High Pass Filterค. Band Pass Filter ง. Band Stop Filter7. จากรูปวงจรที่ 3.21 ค่าความถี่ท่ีออกเอาตพ์ ุต จะเป็นความถี่แบบใด รูปวงจรท่ี 3.21ก. ความถี่ท่ีต่ากวา่ กาหนดข. ความถ่ีท่ีสูงกวา่ กาหนดค. ความถ่ีที่กาหนดง. ความถี่ท่ีต่าและสูงกวา่ กาหนด8. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะการทางานของวงจรกรองยา่ นความถ่ีไมผ่ า่ นก. ใหค้ วามถ่ีในยา่ นที่กาหนดไวผ้ า่ นข. ใหค้ วามถี่สูงและต่ากวา่ ในยา่ นที่กาหนดไวผ้ า่ นค. ใหค้ วามถ่ีต่ากวา่ ท่ีกาหนดไวผ้ า่ นง. ใหค้ วามถ่ีสูงกวา่ ที่กาหนดไวผ้ า่ น9. วงจรกรองยา่ นความถ่ีไม่ผา่ นนาไปใชใ้ นงานลกั ษณะใดก. ใชใ้ นการขยายความถ่ีข. ใชก้ รองความถี่สูงผา่ นค. ใชใ้ นการเปลี่ยนเฟสความถ่ีท่ีตอ้ งการง. ใชใ้ นการลดทอนช่วงความถ่ีที่ไมต่ อ้ งการ10. ความถี่ใดที่สามารถผา่ นคริสตอลฟิ ลเตอร์ได้ก. ความถี่ต่า ข. ความถ่ีสูงค. ความถ่ีปานกลาง ง. ความถี่เรโซแนนท์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook