สถานการณแ์ ละผลการดาํ เนินงาน ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ISBN : 978-616-11-4790-7 พมิ พค ร้งั ที่ 1 : ป 2564 จำนวน : 2,000 เลม จัดทำโดย : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 88/22 ถนนตวิ านนท ตำบลตลาดขวญั อำเภอเมอื ง จังหวดั นนทบรุ ี โทรศัพท 0-2590-4053 ออกแบบและผลติ : บรษิ ัท มินนี่ กรปุ จำกัด 189 หมู 2 ตำบลลำไทร อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทมุ ธานี โทรศพั ท 097-289-6649
คาํ นํา ฝุนละอองขนาดเล็กและผลกระทบตอสุขภาพเปนประเด็นที่สำคัญ กระทรวงสาธารณสุขไดบูรณาการรวมกับ หนวยงานในทุกระดับอยางตอเนื่องในทุกพื้นที่ ภายใตหลักการ สงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคและสรางความรอบรู ดานสุขภาพ โดยใน ป 2564 ไดกำหนดมาตรการหลักในการดำเนินงาน 6 มาตรการ เพื่อปองกันและลดผลกระทบ ตอสุขภาพของประชาชน รายงานสถานการณและผลการดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝุนละออง ขนาดเล็ก ป 2564 ฉบับนี้ คณะทำงานไดรวบรวมผลการดำเนินงานจากรายงานสถานการณและการดำเนินงานของ หนวยงาน ขอมูลจากการประชุมสรุปผลการดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝุนละออง ขนาดเล็ก และรายงานสรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในป 2564 จากหนวยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด ระดับเขต ระดบั กรมตา ง ๆ รวมถงึ กรงุ เทพมหานคร เพอ่ื สรปุ สถานการณฝ นุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน สถานการณผ ลกระทบ ตอ สขุ ภาพ ผลการดำเนินงานท่สี ำคญั และขอ เสนอตอ การพฒั นางาน คณะทำงานขอขอบคณุ ผบู รหิ ารและหนว ยงานทกุ ระดบั ทร่ี ว มดำเนนิ การเพอ่ื ดแู ล คมุ ครองสขุ ภาพของประชาชน ในพื้นที่เสี่ยง ทั้งการสื่อสาร แจงเตือน การดูแล รักษาสุขภาพประชาชน อันนำไปสูการลดการเจ็บปวยจากมลพิษทาง อากาศตามเปาหมายของวาระแหงชาติ ตามแผนปฏิบัติการแกไขปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก และเปาหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน สุดทายนี้ คณะทำงานขอขอบคุณทุกทานที่ใหขอมูล ทำใหรายงานฉบับนี้มีความสมบูรณและมีประโยชนอยางยิ่ง ตอการขบั เคลอื่ นในการดำเนนิ งานตอ ไป คณะทำงาน 2564 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข ก กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สารบญั ก คำนำ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบญั รปู ภาพ 1 บทสรุปผบู ริหาร 7 บทนำ 9 สว นท่ี 1 สถานการณฝ นุ ละอองขนาดไมเกนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) และผลกระทบตอ สุขภาพ 10 1.1 สถานการณฝุนละอองขนาดไมเ กิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของประเทศไทย 14 1.2 สถานการณผลกระทบตอสุขภาพ 21 สว นท่ี 2 ผลการดำเนินงานท่ีสำคัญ 23 2.1 การบริหารจดั การ 29 2.2 การดำเนินงานและผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ 29 2.2.1 พัฒนาฐานขอมลู เฝาระวังและแจง เตอื นความเสีย่ งตอ สขุ ภาพ 35 2.2.2 เฝา ระวังผลกระทบตอสขุ ภาพ และสอบสวนโรคอยางทันทวงที 38 2.2.3 ยกระดับความรอบรูแ ละตอบโตความเสีย่ งตอสขุ ภาพ 44 2.2.4 ดแู ลสุขภาพประชาชนในพนื้ ทีเ่ สี่ยง 52 2.2.5 มาตรการทางกฎหมาย สนับสนนุ การปองกนั และลดการเกิดมลพษิ ทตี่ น ทาง 57 2.2.6 การสง เสรมิ ตนแบบองคก รลดมลพิษทางอากาศและพนื้ ทส่ี ีเขยี ว 61 2.3 การบรู ณาการเพ่ือดูแลสขุ ภาพประชาชนในระดบั ประเทศและระดบั พ้ืนที่ 71 สวนท่ี 3 ปจจยั ความสำเร็จ ปญ หา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะตอการดำเนินงาน 72 3.1 ปจ จยั ความสำเรจ็ 75 3.2 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 81 เอกสารอา งอิง 83 ภาคผนวก 84 รายนามทปี่ รึกษา 85 คำสง่ั เรื่อง แตงตงั้ คณะทำงานจดั ทำรายงานสถานการณแ ละผลการดำเนินงาน ดา นการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝุนละอองขนาดเล็ก ป 2564 ข สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สารบญั ตาราง 11 ตารางท่ี 1 สถานการณฝ ุน ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ของประเทศไทย ป 2564 ระหวา งวนั ท่ี 1 กันยายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 13 ตารางที่ 2 จำนวนจดุ ความรอ นสะสม ระหวา ง 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม ในพืน้ ที่ 9 จังหวดั ภาคเหนอื 24 ตารางที่ 3 กลไกและเกณฑการเปดศนู ยป ฏิบตั ิการฉุกเฉินดา นการแพทยแ ละสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝุนละอองขนาดเลก็ 50 ตารางที่ 4 รายการสนบั สนนุ ทรัพยากรดานการแพทยแ ละสาธารณสขุ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข ค กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สารบญั รูปภาพ 12 รูปท่ี 1 เปรียบเทียบแนวโนม สถานการณ PM2.5 พื้นทเี่ ส่ยี งสำคญั ของประเทศไทย 14 รปู ที่ 2 กราฟแสดงจำนวนผูปว ยที่ไดร บั รายงานจำแนกตามรายโรค ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระหวา งวันท่ี 1 ตลุ าคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 15 รปู ที่ 3 จำนวนผูปวยแยกตามกลมุ อายทุ ีม่ ารบั การรกั ษาดวยกลมุ โรค ASTHMA, COPD, ACS และโรคทางเดนิ หายใจอน่ื ๆ ในโรงพยาบาลเครอื ขา ยพ้ืนที่กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ระหวางวันท่ี 1 ตลุ าคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 15 รปู ท่ี 4 กราฟแสดงแนวโนม ระหวางจำนวนผปู วย (Asthma, COPD, ACS, โรคทางเดินหายใจอ่ืน ๆ) และคาเฉลีย่ รายวนั ระดบั ฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ระหวา งเดือนสิงหาคม 2562 - พฤษภาคม 2564 16 รูปท่ี 5 อัตราปว ยดวยโรคที่เกย่ี วของกบั มลพิษทางอากาศ เปรียบเทยี บคาเฉล่ีย PM2.5 รายเดือน ในพืน้ ท่เี ขตสขุ ภาพท่ี 1 - 13 ระหวางเดอื นมกราคม 2563 - พฤษภาคม 2564 17 รปู ที่ 6 จำนวนผูปวยดวยโรคทอ่ี าจมคี วามเกย่ี วขอ งกบั มลพิษทางอากาศ จำแนกตามกลมุ อายุและเพศ ในพน้ื ที่เขตสุขภาพที่ 1 ป 2563 – 2564 17 รปู ที่ 7 อตั ราปว ยดวยโรคทเ่ี กี่ยวของกบั มลพษิ ทางอากาศ เปรียบเทียบคา เฉลี่ย PM2.5 รายเดือน ในพน้ื ท่ีเขตสขุ ภาพที่ 1 ระหวางเดอื นมกราคม 2563 – พฤษภาคม 2564 18 รูปท่ี 8 จำนวนผปู วยดว ยโรคทอ่ี าจมีความเกี่ยวของกบั มลพษิ ทางอากาศ จำแนกตามกลุม อายุและเพศ ในพนื้ ทีเ่ ขตสขุ ภาพท่ี 7 ป 2563 – 2564 18 รูปท่ี 9 อัตราปวยดวยโรคทเ่ี ก่ยี วขอ งกับมลพิษทางอากาศ เปรียบเทียบคา เฉลย่ี PM2.5 รายเดอื น ในพน้ื ที่เขตสขุ ภาพที่ 7 ระหวางเดือนมกราคม 2563 – พฤษภาคม 2564 19 รูปท่ี 10 รอ ยละของอาการจากการรับสมั ผัส PM2.5 จำแนกรายอาการ 19 รูปท่ี 11 รอ ยละของอาการจากการรบั สมั ผสั PM2.5 เปรยี บเทียบรายเดือน 22 รูปท่ี 12 มาตรการดา นสาธารณสขุ กรณี หมอกควันและฝนุ ละอองขนาดเลก็ 23 รปู ท่ี 13 กลไกการตอบโตภ าวะฉกุ เฉินการดานการแพทยแ ละสาธารณสขุ (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ 25 รูปที่ 14 ขอ สง่ั การเตรยี มความพรอ มดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ 26 รูปท่ี 15 ขอส่ังการศนู ยปฏิบตั กิ ารฉุกเฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเล็ก ครง้ั ท่ี 1/2564 43 รูปที่ 16 พฤติกรรมการปองกันตนเองจากฝุนละอองขนาดเลก็ PM2.5 46 รูปที่ 17 รายช่ือคลินิกมลพษิ ในประเทศไทย 47 รปู ที่ 18 สรปุ จำนวนผปู ว ยทง้ั หมดในระบบคลนิ กิ มลพษิ ออนไลน และรอ ยละกลมุ อาการผดิ ปกติ จำแนกรายป ง สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
WHO ประมาณการว่ามีประชากรท่ีตอ้ ง “เสียชีวิตก่อนเวลาอนั ควร” จากมลพิษทางอากาศ ทง้ั Indoor Air Pollution และ Outdoor Air Pollution ท่วั โลก ประมาณ 7 ลา้ นคนต่อปี ป 2016 พบวา เสยี ชวี ติ จาก Outdoor Air Pollution ประมาณ 4.2 ลา นคนตอ ป ดว ยโรคหลอดเลอื ดสมองและโรคหวั ใจขาดเลอื ด 58% โรคปอดอดุ กน้ั เรอื้ รงั 18% โรคตดิ เชื้อเฉยี บพลันของระบบหายใจสว นลาง (COPD) 18% และโรคมะเร็งปอด 6% เสยี ชวี ติ จาก Indoor Air Pollution ประมาณ 3.8 ลานคนตอป ดวยโรคปอดอักเสบ 27% โรคหัวใจขาดเลือด 27% โรคปอดอดุ ก้ันเรื้อรัง (COPD) 20% โรคหลอดเลือดสมอง 18% และโรคมะเรง็ ปอด 8% ที่มา : WHO
บทสรุปผูบ้ ริหาร สถานการณฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เปนปญหาที่สำคัญของประเทศไทย ที่ยังพบเกินคามาตรฐานของประเทศโดยเฉพาะในชวงตนป ทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่หมอกควัน ภาคเหนือ และพื้นที่อื่น ๆ ซึ่งมาจากหลายสาเหตุทั้งไฟปาและการเผาในที่โลง การเผาเศษวัชพืชและเศษวัสดุ ทางการเกษตร การจราจร อุตสาหกรรม หมอกควันขามแดน รวมทั้งภูมิประเทศและภาวะความกดอากาศสูงทำใหเกิด สภาวะอากาศปด จงึ ทำใหค วามรนุ แรงของปญ หาเพม่ิ ขน้ึ ซง่ึ อาจกอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพแกป ระชาชน โดยเฉพาะ ประชาชนกลมุ เสย่ี ง ทง้ั เดก็ หญงิ ตง้ั ครรภ ผสู งู อายุ และผทู ม่ี โี รคประจำตวั เชน โรคระบบทางเดนิ หายใจ หอบหดื เปน ตน จากรายงานสถานการณคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ป 2564 พบวา ในภาพรวมสถานการณ มลพิษทางอากาศมีแนวโนมดีขึ้นจากป 2563 อยางไรก็ดี PM2.5 ยังเปนประเด็นที่สำคัญ โดยป 2564 พบคา PM2.5 เกินคามาตรฐาน 49 จังหวัด มีคา PM2.5 สูงสุด เทากับ 402 มคก./ลบ.ม. และมีจำนวนวันที่เกินคามาตรฐานสูงสุดถึง 67 วัน นอกจากนี้ ยังพบพื้นที่ที่มีคา PM2.5 อยูในระดับที่มีผลกระทบตอสุขภาพ (≥91 มคก./ลบ.ม.) ถึง 25 จังหวัด กระจายอยูในภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศไทย ในสวนของจุดความรอนสะสมในประเทศมีแนวโนมลดลงจากป 2563 โดยสวนใหญพบในพื้นที่ปาอนุรักษในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน นอกจากนี้ ยังพบปญหาหมอกควันขามแดนจากประเทศ เพื่อนบาน ซึ่งลวนแตสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ดังกลาว โดยเฉพาะกลุมเสี่ยง ทั้งเด็กเล็ก ผูสูงอายุ ผทู ่มี โี รคประจำตวั และหญงิ ตั้งครรภ ทง้ั น้ี จากรายงานการเฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจาก PM2.5 ป 2564 ในระบบบรกิ ารสาธารณสขุ พบอตั ราปว ย ดวยกลุมโรคทางเดินหายใจมากที่สุด รองลงมา คือ กลุมผิวหนังอักเสบ กลุมโรคตาอักเสบและกลุมโรคหัวใจหลอดเลือด และสมองอดุ ตนั ขาดเลอื ด ตามลำดบั และพบอตั ราปว ยในกลมุ ผสู งู อายุ 60 ปข น้ึ ไปมากทส่ี ดุ นอกจากน้ี จากการเฝา ระวงั อาการที่เกี่ยวของกับการรับสัมผัสฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 ดวยประชาชนผานอนามัยโพล พบมากถึงรอยละ 40.15 ทม่ี อี าการทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การรบั สมั ผสั PM2.5 โดยพบอาการคดั จมกู /มนี ำ้ มกู มากทส่ี ดุ รองลงมาคอื แสบจมกู และ แสบตา/คันตา ซึ่งเปนลักษณะอาการเฉียบพลันที่เกิดขึ้นเมื่อไดรับสัมผัส PM2.5 โดยเฉพาะชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ซ่ึงสอดคลองกับสถานการณ PM2.5 ทีม่ แี นวโนมสงู เกนิ มาตรฐานในชว งเวลาดงั กลา ว 1 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
เพื่อปองกันและลดผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน จากสถานการณขางตน กระทรวงสาธารณสุข โดยทุกหนวยงานที่เกี่ยวของไดรวมกับภาคีเครือขายกำหนดยุทธศาสตรการดำเนินงาน ภายใตหลักการ “สงเสริม สุขภาพปองกันโรค และสรางความรอบรูดานสุขภาพ” เพื่อใหประชาชนในพื้นที่เสี่ยงไดรับการคุมครองสุขภาพ มีภูมิคุมกันและจัดการสุขภาพตนเองได พรอมจัดทำแผนเผชิญเหตุตามระดับความรุนแรงที่สอดรับกับแผนปฏิบัติ การขบั เคลอ่ื นวาระแหง ชาติ “การแกไ ขปญ หามลพษิ ดา นฝนุ ละออง” โดยใหห นว ยงานสาธารณสขุ ในทกุ ระดบั ดำเนนิ งาน ตามแนวทางดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี ฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ป 2564 ใน 6 มาตรการหลกั และจดั ตง้ั กลไกการบรหิ ารจดั การดา นการแพทยส าธารณสขุ เพอ่ื รบั มอื กบั สถานการณไ ดอ ยา งทนั ทว งที และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมีผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคญั ดังนี้ พัฒนาระบบขอ มลู เฝา ระวังและ จัดทำฐานขอมูลสิ่งแวดลอม ขอมูลผลกระทบตอสุขภาพ แจง เตอื นความเสย่ี งตอสขุ ภาพ และขอมูลกลุมเสี่ยงจำแนกรายกลุมอายุ โรคประจำตัว และหญิงตั้งครรภ และวิเคราะหขอมูล ไดแก คาดการณ สถานการณ PM2.5 และความเสี่ยงตอสุขภาพ และคำแนะนำ ในการปฏิบัติตนสำหรับประชาชน เพื่อสื่อสาร เตือนภัย พรอมใหคำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับประชาชนทุกวัน ผา นชอ งทางตา ง ๆ เชน เพจ “คนรกั อนามยั ใสใ จอากาศ PM2.5” เว็บไซต กลุมไลน Application อสม. และ “H4U” ปายประชาสัมพันธในพื้นที่ รายการโทรทัศน YouTube วิทยุ เสยี งตามสายหอกระจายขา ว และธงสเี ตือนภัย เปนตน เฝา ระวังผลกระทบตอสขุ ภาพ เฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจาก PM2.5 ในกลุมโรคที่ และสอบสวนโรคอยา งทันทวงที เกย่ี วขอ ง ไดแ ก 1) กลมุ โรคระบบทางเดนิ หายใจ 2) กลมุ โรคหวั ใจ หลอดเลือดและสมองอุดตันขาดเลือด 3) กลุมโรคตาอักเสบ 4) กลุมโรคผิวหนังอักเสบ 5) ผลกระทบในระยะยาว เชน โรคมะเร็งปอด ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ เขตสุขภาพที่ 1-13 โดยจากรายงานเฝาระวังฯ พบวา ตั้งแต มกราคม-พฤษภาคม 2564 พบผูปวยมาเขารับบริการดวย โรคระบบทางเดินหายใจมากที่สุด โดยเฉพาะในกลุมอายุ 60 ปขึ้นไป นอกจากนี้ ยังมีการเฝาระวังโดยใหประชาชน เฝา ระวงั อาการทเ่ี กย่ี วขอ งจากการรบั สมั ผสั PM2.5 ดว ยตนเอง ผา นทางอนามยั โพล ซง่ึ พบวา รอ ยละ 40.15 มอี าการเกย่ี วขอ ง กบั การรบั สมั ผสั PM2.5 โดยสว นใหญเ ปน อาการทางเดนิ หายใจ สวนตน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 2 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ยกระดบั ความรอบรู จัดทำชุดความรูและสื่อสารขอมูลผลกระทบตอสุขภาพ และความเสยี่ งตอสขุ ภาพ และการปองกันตนเองแกประชาชนผานชองทางตาง ๆ เชน เสียงตามสาย วิทยุ Line Facebook โทรทัศน YouTube และสื่อบุคคลทั้ง อสม./อสส. ทีมปฏิบัติการ PM2.5 เจาหนาที่ สาธารณสุข ลงพื้นที่เชิงรุก รณรงค ประชาสัมพันธใหความรู ประชาชนถึงผลกระทบและการปองกันตนเอง และพัฒนา ตนแบบชุมชนจัดการความเสี่ยงตอสุขภาพจาก PM2.5 เพื่อ สงเสริมการมีสวนรวมแกประชาชนในการลดกิจกรรมที่ทำให เกิดฝุนในชุมชน นอกจากนี้ ไดจัดตั้งศูนยแกไขปญหามลพิษ ทางอากาศ ดา นผลกระทบตอ สขุ ภาพ (ศกพ.ส.) พรอ มจดั แถลง สถานการณและใหคำแนะนำในการปฏิบัติตนที่เหมาะสม แกประชาชนทุกสัปดาห รวมทั้ง ตอบโตขอมูลขาวสาร ดานสุขภาพ รวมทั้ง มีสายดวน “1422” เพื่อใหประชาชน รเู ทา ทนั สถานการณแ ละปอ งกนั ตนเองไดอ ยา งถกู ตอ ง พรอ มทง้ั สำรวจความรูแ ละพฤตกิ รรมของประชาชนในพน้ื ที่เสีย่ ง ดแู ลสขุ ภาพประชาชนทุกกลุมวยั จัดระบบบริการสุขภาพ ไดแก การใหบริการคลินิกมลพิษ ออนไลน และเปด คลนิ กิ มลพษิ ในโรงพยาบาลสงั กดั กรมการแพทย กรุงเทพมหานครและในพื้นที่เสี่ยงทั่วประเทศ เพื่อเปนคลินิก เฉพาะทางสำหรบั ประชาชนทไ่ี ดร บั ผลกระทบจาก PM2.5 และ ตอบขอสงสัย ใหคำแนะนำแกประชาชน ซึ่งปจจุบันมีคลินิก มลพษิ ในโรงพยาบาล จำนวน 60 แหง ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ ในกรงุ เทพมหานคร จำนวน 68 แหง การจดั เตรยี มหอ งปลอดฝนุ ในพื้นที่เสี่ยงในสถานบริการสาธารณสุข สถานที่ที่มีกลุมเสี่ยง เชน โรงเรียน ศูนยเด็กเล็ก สถานที่ดูแลผูสูงอายุ ในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 2,760 แหง เจาหนาที่สาธารณสุขและอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) ลงพื้นที่เยี่ยมบาน แนะนำ วิธีการปฏิบัติในการดูแลและปองกันสุขภาพ และเตรียม ความพรอมรวมกับชุมชน ประชาคมหมูบาน และผูเกี่ยวของ รวมถงึ ออกหนว ยแพทยเ คลอ่ื นทแ่ี ละสนบั สนนุ อปุ กรณป อ งกนั สว นบุคคล เชน หนา กากอนามัย/N95 เปนตน 3 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สนับสนุนการใชกฎหมาย สนับสนุนการลดฝุนละอองขนาดเล็กจากแหลงกำเนิดและ การจดั การเหตรุ ำคาญ รวมถงึ การประกาศพน้ื ทค่ี วบคมุ เหตรุ ำคาญ จากฝนุ ละออง ภายใตพ ระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ โดยไดจ ดั สง คมู อื คำแนะนำ ชแ้ี จงแนวทาง และแลกเปลย่ี นเรยี นรแู นวทางการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา ดว ย การสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของแบบบูรณาการ แกส ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั และองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (อปท.) รวมทง้ั ใหค ำปรกึ ษาผา นกลไกคณะกรรมการสาธารณสขุ จงั หวดั และ Call Center 0 2590 4219 นอกจากน้ี ไดข บั เคลอ่ื น การเฝา ระวงั สถานการณ PM2.5 ผา นคณะกรรมการควบคมุ โรค จากการประกอบอาชพี และโรคจากสง่ิ แวดลอ มจงั หวดั ภายใต พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ โรคจากการประกอบอาชพี และโรคจาก สง่ิ แวดลอม พ.ศ. 2562 ขบั เคล่อื นองคกรลดฝุน ละออง จัดกิจกรรมองคกรลดฝุนในสำนักงานและสถานบริการ ในหนว ยงานสาธารณสขุ สาธารณสุขในทุกระดับ ไดแก ปลูกตนไมเพิ่มพื้นที่สีเขียว และลดกจิ กรรมทก่ี อ ใหเ กดิ ฝนุ ละอองขนาดเลก็ เชน การบำรงุ รักษาเครื่องยนตของหนวยงานอยางสม่ำเสมอตามมาตรฐาน มลพษิ ไมตดิ เครื่องยนตขณะจอดรถ ลดการใชร ถยนตส วนตัว หรือ Work from Home หากคาฝุนอยูในระดับที่เริ่มมี อันตรายตอสุขภาพ (> 75 มคก./ลบ.ม.) รวมทั้ง จัดเตรียม หองปลอดฝุน ในองคกร สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 4 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
นอกจากนี้ ไดเปดศูนยปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข กรณีหมอกควัน และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในระดบั จงั หวดั เขตสขุ ภาพ กรม และกระทรวง ตามระดบั ความรนุ แรงของฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในพื้นที่ และมีการรายงานและประชุมติดตามการดำเนินงานกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเปนระยะ ทั้งนี้ ไดทำงาน รว มกบั หนว ยงานภาคเี ครอื ขา ย ไดแ ก กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ภาควิชาการ สมาคม และภาคประชาสังคม เพ่อื ดแู ลสุขภาพประชาชนทง้ั ระดับประเทศและระดับพนื้ ทอี่ ยางเขมแข็ง จากการดำเนินงานที่ผานมา พบวา นโยบาย การใหความสำคัญของผูบริหารในทุกระดับ รวมทั้งการ บรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไ ขปญ หา PM2.5 ในภาพรวมตง้ั แตต น นำ้ กลางนำ้ ปลายนำ้ รวมทง้ั ความสนใจ การมสี ว นรว ม ของประชาชน และภาคประชาสังคมเปนปจจัยสำคัญที่สงผลใหการดำเนินงานขับเคลื่อนใหการดูแล ปองกันสุขภาพ ประชาชนจาก PM2.5 มปี ระสทิ ธภิ าพ แตอ ยา งไรกด็ ี ยงั ตอ งมกี ารพฒั นาตวั ชว้ี ดั ดา นสขุ ภาพและการเฝา ระวงั การเจบ็ ปว ย ทบ่ี ง ชถ้ี งึ ผลกระทบตอ สขุ ภาพจาก PM2.5 เพม่ิ ชอ งทางการสอ่ื สารทร่ี วดเรว็ และเขา ถงึ ประชาชน พฒั นาวจิ ยั และนวตั กรรม ในการปองกันผลกระทบตอสุขภาพ รวมถึง กำกับ ติดตาม และเขมงวดการลดฝุนละอองจากแหลงกำเนิดอยางตอเนื่อง และจรงิ จัง เพื่อใหประชาชนไดอยูใ นสง่ิ แวดลอมทด่ี ี อนั นำไปสกู ารมคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ ตี อไป
ฝ่ ุนละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ยงั เป็ นปัญหามลพิษทางอากาศ ท่ีสาํ คญั ของประเทศไทย ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของประชาชนทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาว
บทนํา
บทนํา ฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน หรอื PM2.5 ยงั เปน ปญ หามลพษิ ทางอากาศทส่ี ำคญั ของประเทศไทย ซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยในปที่ผานมายังพบคา PM2.5 เกินคามาตรฐาน กระจายในทุกภาค ทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต โดย สาเหตุมาจากทั้งไฟปาและการเผาในที่โลง การเผาเศษวัชพืชและเศษวัสดุทางการเกษตร การจราจร อุตสาหกรรม หมอกควนั ขา มแดน รวมทง้ั สภาพภมู ปิ ระเทศและภาวะความกดอากาศสงู ทำใหเ กดิ สภาวะอากาศปด ทำใหค วามรนุ แรง สถานการณเพิ่มขึ้น รัฐบาลไดกำหนดใหปญหาฝุนละอองเปนวาระแหงชาติ และจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระ แหงชาติ “การแกไขปญหามลพิษดานฝุนละออง” โดยบูรณาการการทำงานของทุกภาคสวน เพื่อเปาหมายที่สำคัญ คือ ลดจำนวนวนั ท่คี า ฝนุ ละอองเกนิ มาตรฐานและลดการเจบ็ ปวยดวยโรคท่เี กยี่ วของกบั การรับสมั ผสั ฝนุ ละออง เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานใหบรรลุเปาหมายที่กำหนด กระทรวงสาธารณสุข ไดกำหนดยุทธศาสตรภายใต หลักการ “สงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และสรางความรอบรูดานสุขภาพ” เพื่อใหประชาชนในพื้นที่เสี่ยงไดรับการ คมุ ครองสขุ ภาพ มภี มู คิ มุ กนั และจดั การสขุ ภาพตนเองได พรอ มจดั ทำแผนเผชญิ เหตตุ ามระดบั ความรนุ แรงของสถานการณ โดยไดส ง่ั การใหห นว ยงานสาธารณสขุ ในทกุ ระดับดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานดา นการแพทยและสาธารณสขุ กรณีฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ป 2564 ใน 6 มาตรการหลัก คือ 1) พัฒนาฐานขอมูล เฝาระวังและ แจง เตอื นความเสย่ี งตอ สขุ ภาพ 2) เฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพ และสอบสวนโรคอยา งทนั ทว งที 3) ยกระดบั ความรอบรู และตอบโตค วามเสย่ี งตอ สขุ ภาพ 4) ดแู ลสขุ ภาพประชาชนทกุ กลมุ วยั ในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง 5) มาตรการทางกฎหมาย สนบั สนนุ การปองกันและลดการเกิดมลพิษที่ตนทาง และ 6) การสงเสริมตนแบบองคกรลดมลพิษทางอากาศและพื้นที่สีเขียว รวมทง้ั จดั ตง้ั ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารตอบโตภ าวะฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ เพือ่ ใหก ารบริหารจัดการตอบสนองตอ สถานการณไดอยา งทนั ทวงทแี ละมปี ระสิทธภิ าพ คณะทำงานจัดทำรายงานสถานการณและผลการดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควัน และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ป 2564 ไดร วบรวมขอ มลู และจดั ทำรายงานสรปุ สถานการณแ ละการดำเนนิ งานดา นการแพทย และสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝุน ละอองขนาดเลก็ ป 2564 เพือ่ สรปุ สถานการณแ ละผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคญั ดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก ป 2564 ของหนวยงานสาธารณสุข รวมทั้ง สรุปปญหา อุปสรรคตอการดำเนินงาน และขอเสนอแนะตอการดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝนุ ละอองขนาดเล็กตอ ไป สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 8 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ส่วนท่ี 1 สถานการณฝ์ ่ ุนละออง ขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) และผลกระทบต่อสุขภาพ
ส่วนที่ 1 สถานการณฝ์ ่ ุนละออง ขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) และผลกระทบต่อสุขภาพ 1.1 สถานการณฝ นุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของประเทศไทย ในภาพรวม พบวา สถานการณ PM2.5 ระหวา ง ภาคตะวนั ออก มคี า อยรู ะหวา ง 1-128 มคก./ลบ.ม. สงู สดุ วันที่ 1 กันยายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 ณ เวลา พบที่ ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา ภาคกลางและ 09.00 น. ใน 56 จังหวัด 141 สถานี มีคา PM2.5 ระหวาง ภาคตะวันตก มีคาอยูระหวาง 3-98 มคก./ลบ.ม. สูงสุด 1- 402 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร (มคก./ลบ.ม.) โดยมี พบทเ่ี ขตควบคมุ มลพษิ ต.หนา พระลาน อ.เฉลมิ พระเกยี รติ พื้นที่ที่มีคาฝุนละอองเกินมาตรฐาน (PM2.5 ไมเกิน 50 จ.สระบุรี และภาคใต มีคาอยูระหวาง 2-58 มคก./ลบ.ม. มคก./ลบ.ม.) จำนวน 49 จงั หวดั จำนวนวนั ทค่ี า ฝนุ ละออง สูงสุดพบที่ ต.ตลาดใหญ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ดังแสดงใน เกินมาตรฐานมากที่สุด จำนวน 67 วัน และพื้นที่ที่มีคา ตารางที่ 1 ฝนุ ละอองสงู อยใู นระดบั ทม่ี ผี ลกระทบตอ สขุ ภาพ (PM2.5 ≥ เมื่อพิจารณความรุนแรงของสถานการณในพื้นที่ 91 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 25 จังหวัด (กรมควบคุมมลพิษ) ดังตารางที่ 1 ทม่ี คี า PM2.5 ≥ 91 มคก./ลบ.ม. ซง่ึ เปน ระดบั ทม่ี ผี ลกระทบ ตอ สขุ ภาพ พบวา มถี งึ 25 จงั หวดั สว นใหญอ ยใู นภาคเหนอื เมื่อจำแนกรายภาค พบวา สถานการณ PM2.5 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร มคี า อยรู ะหวา ง 2-121 มคก./ลบ.ม. และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงราย สงู สดุ พบทร่ี มิ ถนนคลองทววี ฒั นา เขตทววี ฒั นา พน้ื ทป่ี รมิ ณฑล แมฮ อ งสอน ลำพนู ตาก สโุ ขทยั พษิ ณโุ ลก อตุ รดติ ถ พจิ ติ ร มคี า อยรู ะหวา ง 3-113 มคก./ลบ.ม. สงู สดุ พบท่ี ต.ปากนำ้ ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร อ.เมอื ง จ.สมทุ รปราการ ภาคเหนอื มคี า อยรู ะหวา ง 2 – 402 อุบลราชธานี สกลนคร นครพนม ขอนแกน ที่ปนี้คา มคก./ลบ.ม. สงู สดุ พบท่ี ต.เวยี งพางคำ อ.แมส าย จ.เชยี งราย ฝนุ ละอองมีแนวโนมสงู ขน้ึ กวาปท่ีผา นมา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มคี า อยรู ะหวา ง 2-160 มคก./ลบ.ม. สูงสดุ พบที่ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 10 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ตารางท่ี 1 สถานการณฝ นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ของประเทศไทย ป 2564 ระหวา งวนั ท่ี 1 กนั ยายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 (มคกP.M/ล2.บ5 .ม.) พื้นทท่ี ่มี ี PM2.5 เกนิ คา มาตรฐาน พ้นื ท่ี พน้ื ทที่ ี่มี >พ50ื้นทมท่ี ค่ีมกี./PลMบ2..ม5 . ≥พ9น้ื1ทม่ที ค่ีมกี .P/ลMบ2..5ม. จาํPแMน2ก.5รสางูยสภุดาค จาํ นวน 49 จงั หวัด จํานวน 25 จงั หวดั กรุงเทพมหานคร 2-121 รมิ ถนนคลองทววี ฒั นา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร เขตทวีวฒั นา (23 ม.ค.64) ปรมิ ณฑล 3-113 ต.ปากน้าํ อ.เมอื ง สมทุ รปราการ สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี สมทุ รสาคร (23 ม.ค.64) นครปฐม นนทบุรี ภาคเหนือ 2-402 ต.เวยี งพางคาํ เชียงราย เชียงใหม เชยี งราย เชียงใหม อ.แมส าย จ.เชยี งราย แมฮอ งสอน ลาํ ปาง แมฮ อ งสอน ลาํ ปาง ภาคตะวันออก (31 มี.ค. 64) ตาก นา น พะเยา ตาก นา น พะเยา เฉยี งเหนอื สุโขทัย พิษณโุ ลก สุโขทยั พิษณโุ ลก ภาคตะวันออก อุตรดติ ถ กําแพงเพชร อตุ รดิตถ กาํ แพงเพชร ภาคกลางและ ลาํ พนู แพร พจิ ติ ร ลําพูน แพร พจิ ติ ร ภาคตะวันตก เพชรบูรณ อทุ ยั ธานี ภาคใต 2-160 ต.ในเมือง อ.เมอื ง อุบลราชธานี หนองคาย อบุ ลราชธานี หนองคาย จ.อุบลราชธานี สกลนคร นครพนม สกลนคร นครพนม (19 ม.ี ค.64) ขอนแกน รอ ยเอ็ด ขอนแกน มุกดาหาร กาฬสินธุ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรรี ัมย 1-128 ต.วงั เย็น อ.แปลงยาว ฉะเชงิ เทรา ระยอง ฉะเชิงเทรา ระยอง จ.ฉะเชงิ เทรา ตราด ชลบุรี ปราจีนบุรี (23 ม.ค.64) สระแกว 3-98 ต.หนาพระลาน สระบุรี ลพบรุ ี ราชบุรี สระบรุ ี อ.เฉลมิ พระเกียรติ สพุ รรณบุรี (เขตควบคุมมลพิษ จ. สระบรุ ี (22 ม.ค.64) พระนครศรีอยุธยา ต.หนา พระลาน) กาญจนบรุ ี สมทุ รสงคราม นครสวรรค 2-58 ต.ตลาดใหญ อ.เมือง ภเู กต็ - จ.ภูเก็ต (1 ม.ี ค.64) ทม่ี า : (กรมควบคุมมลพษิ , 2564) ขอมูล ณ เวลา 09.00 น. 11 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ทง้ั น้ี เมอ่ื เปรยี บเทยี บปรมิ าณคา PM2.5 เฉลย่ี 24 ชว่ั โมงสงู สดุ ระหวา งป 2563 และ 2564 พบวา คา เฉลย่ี สงู สดุ มีแนวโนมสูงขึ้นกวาปที่ผานมาเกือบทุกพื้นที่ ยกเวน ภาคกลางและภาคตะวันตก สำหรับจำนวนวันที่คา PM2.5 เกิน มาตรฐาน มีแนวโนมลดลงจากปที่ผานมาในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ยกเวน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทมี่ แี นวโนมเพิ่มข้นึ ดังรูปท่ี 1 500 เปรยี บเทยี บสถาน(รกะาหรวณา งPMป22.55พ6้ืน3ทแเ่ี ลสะย่ี ง2ส5าํ 6ค4ัญ) ของประเทศไทย 300 450 250 200 จาํ นวนวนั เกินมาตรฐาน (วนั ) ป ิรมาณ ุฝน (มคก./ลบ.ม.) 400 402 150 350 366 100 50 300 0 250 200 85 67 98 106 160 150 58 22 128 65 42 0 127 150 ภาคเหนอื ภาคกลางและ 46 61 100 109 124 ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคใต 32 30 50 75 76 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 0 กรงุ เทพมหานคร และปรมิ ณฑล จาํ นวนวนั เกินมาตรฐานสูงสุด 2563 คาสงู สดุ 2563 ณ เวลา 09.00 น. จํานวนวนั เกนิ มาตรฐานสูงสุด 2564 คาสงู สุด 2564 ณ เวลา 09.00 น. ท่มี า : (กรมควบคมุ มลพษิ , 2564) รูปท่ี 1 เปรยี บเทียบแนวโนม สถานการณ PM2.5 พ้ืนทเี่ ส่ยี งสำคัญของประเทศไทย เมื่อพิจารณาจุดความรอน (Hotspot) ระหวาง 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2564 จากขอมูลของสำนักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) หรือ GISTDA พบวา ประเทศไทยมีจุดความรอนสะสม ในประเทศจำนวน 102,177 จุด โดยเกิดจุดความรอนสูงสุดในพื้นที่ปาอนุรักษ จำนวน 33,120 จุด รองลงมาคือ พื้นที่ ปา สงวนแหง ชาติ จำนวน 28,740 จดุ พน้ื ทเ่ี กษตร จำนวน 20,769 จดุ พน้ื ทเ่ี ขตปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื การเกษตรกรรม (สปก.) จำนวน 10,494 จุด พื้นที่ชุมชนและอื่น ๆ จำนวน 8,156 จุด พื้นที่ริมทางหลวง จำนวน 898 จุด ตามลำดับ โดยพื้นที่ ภาคเหนอื ตอนบนพบจุดความรอนมากท่ีสดุ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 12 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
เมื่อเปรียบเทียบจำนวนจุดความรอนสะสมระหวางป 2563-2564 ในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ พบวา จงั หวดั แมฮ อ งสอนมจี ดุ ความรอ นสะสมสงู สดุ รองลงมาคอื เชยี งใหม ตาก ลำปาง ลำพนู แพร พะเยา นา น และเชยี งราย ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโนมลดลงจากป 2563 ในทุกจังหวัด ดังแสดงในตารางที่ 2 แตอยางไรก็ดี ประเทศไทยยังคงประสบ ปญหาหมอกควันขามแดนจากประเทศเพื่อนบาน ไดแก เมียนมาร กัมพูชา ลาว เวียดนาม และมาเลเชีย ที่สงผลตอ ปริมาณ PM2.5 ในประเทศดว ยเชนกัน ถึงแมวา แนวโนม จุดความรอนสะสมลดลงจาก ป 2563 ตารางที่ 2 จำนวนจุดความรอนสะสม ระหวา ง 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม ในพืน้ ท่ี 9 จงั หวดั ภาคเหนอื จังหวดั จํานวนจดุ ความรอ นสะสม (จดุ ) จํานวนจุดความรอน (+/-) (จุด) เชียงราย ป 2563 ป 2564 -5,867 เชียงใหม -13,577 ลาํ ปาง 7,391 1,524 -2,723 ลําพูน -332 แมฮองสอน 21,658 8,081 -4,906 นา น -5,821 แพร 8,556 5,833 -2,380 พะเยา -2,147 ตาก 3,180 2,848 -7,457 รวมทง้ั หมด -45,210 16,607 11,701 7,523 1,702 5,169 2,789 3,929 1,782 14,842 7,385 88,855 43,645 หมายเหตุ : (+) จำนวนจุดความรอนเพมิ่ ข้ึนจากปทีผ่ า นมา, (-) จำนวนจดุ ความรอ นลดลงจากปทผี่ านมา ทม่ี า: (สำนกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก ารมหาชน) หรอื GISTDA , 2564) 13 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
1.2 สถานการณผลกระทบตอสุขภาพ สถานการณผลกระทบตอ สขุ ภาพจากฝนุ ละอองขนาดไมเกนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ประกอบดว ย 2 สว น ไดแ ก 1.2.1 ขอ มลู ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) จากระบบบรกิ ารสาธารณสขุ สถานการณผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จากการเฝาระวังสถานการณผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ระหวา งวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 มผี ปู ว ยสะสมทร่ี ายงานจาก ระบบเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลของกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จำนวน 1,580 ราย จำแนกตามรายโรค ดังนี้ โรคทางเดินหายใจอื่น ๆ 611 ราย (รอยละ 38.67) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) 523 ราย (รอยละ 33.10) โรคหอบหืด (Asthma) 427 ราย (รอ ยละ 27.03) และโรคหวั ใจขาดเลอื ดเฉยี บพลนั (ACS) 19 ราย (รอ ยละ 1.20) ดงั รปู ท่ี 2 เมอ่ื จำแนกผปู ว ยตามแผนก การรบั บรกิ าร พบวา เปน ผปู ว ยจากแผนกผปู ว ยนอก (OPD) จำนวน 646 ราย (รอ ยละ 40.89) แผนกฉกุ เฉนิ (ER) จำนวน 934 ราย (รอยละ 59.11) 800 ํจานวน ูผ ปวย (ราย) 600 400 200 รูปท่ี 2 กราฟแสดงจำนวนผูปวยที่ไดร บั รายงานจำแนกตามรายโรค ในพนื้ ที่ 0 กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ระหวา งวันที่ 1 ตุลาคม 2563 โรคทีเ่ ฝา ระวัง - 31 พฤษภาคม 2564 โรคทางเดนิ หายใจอ่ืนๆ โรคหอบหืด (Asthma) โรคปอดอดุ กน้ั เร้ือรัง (COPD) โ(รAคcหuวัteใจcขoาrดoเnลอืarดyเฉsียyบmพdลrนัome) ผูปวยที่เขารับบริการเปนเพศหญิงจำนวน 670 ราย เพศชายจำนวน 910 ราย อัตราสวน เพศหญิง : ชาย เทากับ 1 : 1.36 จำนวนผูปวยสูงสุดในกลุมอายุ 60-69 ป จำนวน 302 ราย (รอยละ 19.11) รองลงมา คือ กลุมอายุ 50 – 59 ป 232 ราย (รอ ยละ 14.68) และกลมุ อายุ 0 – 9 ป 222 ราย (รอ ยละ 14.05) จำแนกผปู วยท่มี ารบั การรกั ษา ในโรงพยาบาลเครือขายพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,105 ราย (รอยละ 69.94) พื้นที่ปริมณฑล จำนวน 475 ราย (รอยละ 30.06) ดังรปู ท่ี 3 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 14 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ชาย หญิง ํจานวน ูผ ปวย (ราย)250 200 150 10-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 70-79 80-89 90+ 100 50 กลุมอายุ (ป) 0 0-9 รปู ท่ี 3 จำนวนผปู ว ยแยกตามกลมุ อายทุ ม่ี ารับการรกั ษาดวยกลุมโรค ASTHMA, COPD, ACS และโรคทางเดินหายใจอืน่ ๆ ในโรงพยาบาลเครอื ขา ยพ้นื ท่ีกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ระหวา งวนั ที่ 1 ตุลาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 นอกจากน้ี พบวา จำนวนผปู ว ยและคา ระดบั ฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ระหวา งเดอื นสงิ หาคม 2562 - พฤษภาคม 2564 มีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากพบจำนวนผูปวยโรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและ หลอดเลอื ดมแี นวโนม เพม่ิ ขน้ึ ในชว งเดอื นมกราคมถงึ มนี าคม ซง่ึ สอดคลอ งกบั ปรมิ าณ PM2.5 ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ในชว งเวลาดงั กลา ว ดงั รปู ท่ี 4 จาํ นวนผูป วย คาเฉลี่ย PM2.5 คามาตรฐานคณุ ภาพอากาศ คาเฉ ี่ลย PM2.5 คามาตรฐาน ุคณภาพอากาศ 25 100 20 2562 2563 2564 80 ํจานวน ูผ ปวย15 60 10 40 5 20 00 2019 2222000011119999 222000222000 22002200 22002200 22002200 2222222000000022222220000000 22002200 22002200 2222222000000022222220010000 22002211 22002211 22002211 2222000022221111 311212121212121221312122112112620374859159171973558294006602671204481573เเเเเกกกกีีสมตธกสมีธพกตพมพีพตมธมมธมมพมมมิิมกกพพมมมพพพ..........................................ยยยพคคพคคคคคคพคคคคคคพคคคยยยคยยคยคคคยยยคยยค.......................................... รปู ท่ี 4 กราฟแสดงแนวโนม ระหวา งจำนวนผปู ว ย (Asthma, COPD, ACS, โรคทางเดินหายใจอนื่ ๆ) และคา เฉลีย่ รายวนั ระดับฝนุ ละอองขนาดไมเกนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ระหวา งเดือนสงิ หาคม 2562 - พฤษภาคม 2564 15 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สถานการณการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1-13 จากการเฝา ระวงั สถานการณก ารเฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจาก PM2.5 ในพน้ื ทเ่ี ขตสขุ ภาพท่ี 1-13 โดยขอมูลจากคลังขอมูลสุขภาพ (Health Data Center ; HDC) กระทรวงสาธารณสุข ระหวางเดือนมกราคม 2563 ถึง พฤษภาคม 2564 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1-13 พบอัตราการปวยดวยโรคระบบทางเดินหายใจมากที่สุด รองลงมาคือ กลุมโรคผิวหนังอักเสบ กลุมโรคตาอักเสบ และกลุมโรคหัวใจหลอดเลือดและสมองอุดตันขาดเลือด ตามลำดับ ซึ่งอัตราปวยมีแนวโนมสูงขึ้น ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2563 และสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2564 ทั้งนี้ ปริมาณ PM2.5 มแี นวโนมสงู ข้นึ ในชวงเวลาดังกลา วเชน เดยี วกัน ซึ่งอาจมคี วามสมั พันธก บั อตั ราปว ยทีส่ ูงขนึ้ ดงั รูปท่ี 5 1400 500 ัอตรา ปวย ตอแสนประชากร1200 คาเฉ ่ีลย ุฝน PM2.5 (มคก./ลบ.ม.)1000400 800 300 600 200 400 200 100 00 มค. กพ. มคี . เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. 2563 2564 กลมุ โรคทางเดินหายใจ กลมุ โรคหวั ใจหลอดเลือดและสมองอดุ ตนั ขาดเลือด กลมุ โรคตาอักเสบ กลุมโรคผิวหนังอักเสบ คา สงู สดุ PM2.5 (รายเดอื น) คาเฉลี่ย PM2.5 (รายเดือน) รปู ที่ 5 อตั ราปว ยดว ยโรคทเี่ กยี่ วขอ งกับมลพษิ ทางอากาศ เปรียบเทียบคา เฉลี่ย PM2.5 รายเดือน ในพื้นที่เขตสขุ ภาพท่ี 1 - 13 ระหวา งเดือนมกราคม 2563 - พฤษภาคม 2564 จากการเฝาระวังสถานการณ PM2.5 ขางตน พบวา ปญหา PM2.5 ยังคงเปนปญหาสำคัญของภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไดมีการเฝาระวังสถานการณผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ กรณี PM2.5 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1 (เชียงใหม เชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร นาน พะเยา แมฮองสอน) และ เขตสุขภาพที่ 7 (กาฬสนิ ธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอ ยเอ็ด) ดงั นี้ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 16 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
เขตสุขภาพท่ี 1 จากการเฝาระวังสถานการณผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1 ระหวางวันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564 มีผูปวยสะสมที่รายงานจากระบบ เฝา ระวงั จำนวน 374,131 ราย จำแนกเปน เพศชาย จำนวน 172,093 ราย เพศหญงิ จำนวน 202,038 ราย อตั ราสว น เพศชาย : หญิง เทากับ 1 : 1.74 เมื่อพิจารณาตามกลุมอายุ พบผูปวยสูงสุดในกลุมอายุ 60 ปขึ้นไป (รอยละ 22.10) รองลงมา คือ กลุมอายุ 55-59 ป (รอยละ 16.60) และกลุมอายุ 50-54 ป (รอยละ 12.10) ดังรูปที่ 6 เมื่อเปรียบเทียบ อัตราปวยรายเดือนในชวงเดือนเดียวกัน พบวา ป 2564 อัตราปวยรายเดือนมีแนวโนมสูงกวา ป 2563 นอกจากนี้ หากพิจารณาอัตราปวยและปริมาณ PM2.5 ในป 2564 อัตราปวยที่สูงมีแนวโนมเชนเดียวกับปริมาณ PM2.5 ที่สูงขึ้น ในชว งเดียวกัน ดังรปู ที่ 7 ํจานวน ูผ ปวย (ราย) 45,000 ชาย หญิง 40,000 35,000 0-4 5-9 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44 45-49 50-54 55-59 60 30,000 25,000 กลุมอายุ (ป) 20,000 15,000 10,000 5,000 0 รปู ท่ี 6 จำนวนผปู ว ยดว ยโรคทอี่ าจมีความเก่ยี วของกับมลพิษทางอากาศ จำแนกตามกลุมอายุและเพศ ในพื้นทีเ่ ขตสขุ ภาพที่ 1 ป 2563 – 2564 ัอตรา ปวย ตอแสนประชากร 1800 450 คาเฉ ี่ลย ุฝน PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) 1600 400 1400 350 1200 300 1000 250 800 200 600 150 400 100 200 50 00 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. 2563 2564 กลมุ โรคทางเดนิ หายใจ กลมุ โรคหัวใจหลอดเลอื ดและสมองอุดตนั ขาดเลอื ด กลมุ โรคตาอกั เสบ กลมุ โรคผิวหนังอกั เสบ คาสงู สดุ PM2.5 (รายเดือน) คา เฉล่ีย PM2.5 (รายเดอื น) รูปท่ี 7 อัตราปว ยดวยโรคทเี่ ก่ยี วของกบั มลพิษทางอากาศ เปรียบเทียบคา เฉล่ีย PM2.5 รายเดือน ในพนื้ ทเ่ี ขตสุขภาพท่ี 1 ระหวา งเดือนมกราคม 2563 – พฤษภาคม 2564 17 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
เขตสขุ ภาพท่ี 7 จากการเฝาระวังสถานการณผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 7 ระหวางวันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564 มีผูปวยสะสมที่รายงานจากระบบ เฝาระวัง จำนวน 276,471 ราย จำแนกเปน เพศชายจำนวน 128,149 ราย เพศหญิงจำนวน 148,322 ราย อัตราสวน เพศชาย : หญิง เทากับ 1 : 1.16 เมื่อพิจารณาตามกลุมอายุ พบผูปวยสูงสุดในกลุมอายุ 60 ปขึ้นไป (รอยละ 16.1) รองลงมา คือ กลุมอายุ 55-59 ป (รอยละ 13.90) และกลุมอายุ 50-54 ป (รอยละ 13.10) ดังรูปที่ 8 เชนเดียวกับ สถานการณของเขตสุขภาพที่ 1 โดยสถานการณของเขตสุขภาพที่ 7 เมื่อเปรียบเทียบอัตราปวยรายเดือนในชวงเดือน เดยี วกนั พบวา ป 2564 อตั ราปว ยรายเดอื น มแี นวโนม สงู กวา ป 2563 นอกจากน้ี หากพจิ ารณาอตั ราปว ยและคา ปรมิ าณ PM2.5 ในป 2564 พบ อัตราปว ยทีส่ ูงมแี นวโนม เชน เดียวกบั ปริมาณ PM2.5 ทีส่ ูงข้นึ ในชว งเดียวกัน ดังรูปที่ 9 30,000 ชาย หญิง 25,000 ํจานวน ูผ ปวย (ราย) 20,000 15,000 10,000 5,000 0 5-9 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44 45-49 50-54 55-59 60 0-4 กลุมอายุ (ป) รูปท่ี 8 จำนวนผูปว ยดวยโรคที่อาจมคี วามเกยี่ วขอ งกบั มลพิษทางอากาศ จำแนกตามกลุมอายแุ ละเพศ ในพ้นื ที่เขตสขุ ภาพท่ี 7 ป 2563 – 2564 ัอตรา ปวย ตอแสนประชากร 1800 450 คาเฉ ่ีลย ุฝน PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) 1600 400 1400 350 1200 300 1000 250 800 200 600 150 400 100 200 50 00 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มคี . เมย. พค. 2563 2564 กลมุ โรคทางเดนิ หายใจ กลุม โรคหัวใจหลอดเลอื ดและสมองอดุ ตนั ขาดเลอื ด กลมุ โรคตาอกั เสบ กลุมโรคผวิ หนงั อกั เสบ คา สงู สุด PM2.5 (รายเดอื น) คาเฉล่ีย PM2.5 (รายเดอื น) รูปท่ี 9 อตั ราปว ยดวยโรคทเ่ี กีย่ วขอ งกับมลพษิ ทางอากาศ เปรยี บเทยี บคา เฉลีย่ PM2.5 รายเดือน 18 ในพื้นทีเ่ ขตสขุ ภาพที่ 7 ระหวางเดอื นมกราคม 2563 – พฤษภาคม 2564 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
1.2.2 ขอ มลู การเฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากการรบั สมั ผสั ฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ดว ยตนเอง สถานการณการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพไดรับผลกระทบจาก PM2.5 ดวยตนเองของประชาชน ผานอนามัยโพล ระหวางวันที่ 1 มกราคม - 26 เมษายน 2564 จำนวน 12,837 ราย พบวา ในภาพรวมประชาชน มีอาการที่เกี่ยวของกับการรับสัมผัส PM2.5 รอยละ 40.15 โดยอาการที่พบมากสุดเปนอาการคัดจมูก/มีน้ำมูก รอยละ 19.65 แสบจมูก รอยละ 15.34 และแสบตา/คันตา รอยละ 14.28 ตามลำดับ ดังรูปที่ 10 ซึ่งเปนอาการเฉียบพลัน ที่เกิดขึ้นเมื่อไดรับสัมผัส PM2.5 โดยพบวาพื้นที่เขตสุขภาพที่ 13 (กรุงเทพมหานคร) พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 (ปริมณฑล และภาคกลาง) และพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1 (ภาคเหนือ) ประชาชนมีอาการจากการรับสัมผัสฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 สงู กวา พน้ื ทอ่ี น่ื (รอ ยละ 76.26 รอ ยละ 55.02 และรอ ยละ 52.55 ตามลำดบั ) ซง่ึ หากพจิ ารณาจำนวนผทู ม่ี อี าการ พบวา มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น สอดคลองกับแนวโนมของปริมาณ PM2.5 ในพื้นที่ โดยเฉพาะในเดือนมกราคมที่ประชาชนมีอาการ จากการรบั สมั ผสั PM2.5 มากทส่ี ดุ ดงั รูปท่ี 11 50 รอยละของอาการจากการรับสมั ผัส PM2.5 จําแนกรายอาการ 45 40 35 รอยละ 30 25 20 15 10 5 0 ัคดจ ูมก/ ีม ้ํนา ูมก เ ืลอด ํกแาเสดบาไจหูมกล ไอไ ม ีมแเสสบมคหอะ ัคน/แ ีมส ัห ื่ผเบวนหใตหแจาา่ืนเ/ดยอ ตใัคงหยนจาตนงเไายีมาต็รเใอมายวีสจ/รีมิผิผเยํลาตดดงสางาปปหมกบแกาีกวาหด ิยติงกะตด รูปท่ี 10 รอยละของอาการจากการรบั สมั ผัส PM2.5 จำแนกรายอาการ 40 รอ ยละของอาการจากการรบั สัมผัส PM2.5 เปรียบเทยี บรายเดือน 38 รอยละ 36 34 32 กุมภาพันธ มีนาคม มกราคม รปู ที่ 11 รอยละของอาการจากการรบั สัมผสั PM2.5 เปรยี บเทยี บรายเดือน 19 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
โดยสรุป พบวา สถานการณ PM2.5 และจุดความรอน ป 2564 ในภาพรวมมีแนวโนมดีขึ้นจากปที่ผานมา แตยังพบหลายพื้นที่มีคา PM2.5 สูงเกินคามาตรฐาน และมากกวา 25 จังหวัดมีคา PM2.5 อยูในระดับที่มีผลกระทบตอ สุขภาพ ทั้งในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสถานการณดังกลาวสงผลกระทบตอสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะโรคระบบทางเดินหายใจ ซึ่งมีอัตราปวยมากที่สุด และสว นใหญเ ปน กลมุ ผทู ม่ี อี ายุ 60 ป ขน้ึ ไป และกลมุ เดก็ 0- 9 ป ซง่ึ เปน กลมุ เสย่ี งสำคญั ทจ่ี ะไดร บั ผลกระทบจากการรบั สมั ผสั PM2.5 ทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาว ดงั นน้ั จงึ จำเปน ตอ งมมี าตรการในการปอ งกนั ดแู ลสขุ ภาพประชาชนอยา งตอ เนอ่ื ง และสงเสริมการบูรณาการอยางมีสวนรวม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการลดแหลงกำเนิด PM2.5 ในพน้ื ทีเ่ สยี่ งอยา งตอ เนอื่ ง
ส่วนท่ี 2 ผลการดาํ เนินงาน ท่ีสาํ คญั
ส่วนที่ 2 ผลการดาํ เนินงาน ที่สําคญั กระทรวงสาธารณสุข ไดกำหนดยุทธศาสตร การดำเนินงาน ประกอบดวย 6 มาตรการสำคัญ การดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี ไดแก 1) พัฒนาฐานขอมูล การเฝาระวังและแจงเตือน ฝุนละอองขนาดเล็ก จัดทำแผนเผชิญเหตุตามระดับ ความเสี่ยงตอสุขภาพ 2) เฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพ ความรุนแรงของสถานการณ และจัดตั้งศูนยตอบโตภาวะ และสอบสวนโรคอยางทันทวงที 3) ยกระดับความรอบรู ฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควัน และตอบโตค วามเสย่ี งตอ สขุ ภาพ 4) ดแู ลสขุ ภาพประชาชน และฝุนละอองขนาดเล็ก (Public Health Emergency ทุกกลุมวัยในพื้นที่เสี่ยง 5) มาตรการทางกฎหมาย Operation Center; PHEOC) ในทุกระดับ เพื่อเปนกลไก สนับสนุนการปองกันและลดการเกิดมลพิษที่ตนทาง และ การบรหิ ารจดั การใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ตอบสนองตอ สถานการณ 6) การสงเสริมตนแบบองคกรลดมลพิษทางอากาศและ ไดอ ยา งทนั ทว งที โดยมเี ปา หมายสำคญั คอื เพอ่ื ใหป ระชาชน พื้นที่สีเขียว ดังรูปที่ 12 ในพน้ื ทเ่ี ปา หมายมคี วามรอบรดู า นสขุ ภาพ สามารถจดั การ ในป 2564 หนว ยงานดา นสาธารณสขุ ในทกุ ระดบั ปอ งกนั สขุ ภาพตนเองได และไดร บั การบรกิ ารดา นการแพทย ไดขับเคลื่อนการดำเนินงานดังกลาว มีผลการดำเนินงาน และสาธารณสุขอยางรวดเร็ว และครอบคลุม อันนำไปสู ที่สำคัญ ดังน้ี การลดการเจบ็ ปว ยทเ่ี กยี่ วของกับมลพิษทางอากาศ มาตรการดา นสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเล็ก เปา หมาย : ลดและปอ งกันการเจ็บปวยดว ยโรคทีเ่ กีย่ วขอ งกับมลพษิ ทางอากาศ เฝา ระวังและแจง เตือน เฝาระวงั ยกระดับความรอบรู ความเส่ียงตอสุขภาพ ผลกระทบตอสขุ ภาพ และตอบโต (ทาํ เนยี บกลมุ เสยี่ ง /H4U Facebook/Line/เวบ็ ไซต) และสอบสวนโรค ความเสี่ยงตอสขุ ภาพ อยา งทนั ทว งที (สือ่ สาร/ลงปฏิบัตกิ าร) (HDC สธ. / Anamai Poll) การดูแลสุขภาพ มาตรการทางกฎหมาย สง เสรมิ ตนแบบ แกประชาชนทุกกลมุ วัย • พรบ. สาธารณสุข 2535 องคก รลดมลพิษทางอากาศ (3 หมอ /คลินิกมลพษิ / • พรบ. ควบคุมโรคจาก หอ งปลอดฝนุ /อปุ กรณปองกัน) การประกอบอาชพี ฯ 2562 และสรา งพ้ืนท่ีสเี ขยี ว รูปที่ 12 มาตรการดา นสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝนุ ละอองขนาดเล็ก สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 22 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2.1 การบรหิ ารจัดการ กระทรวงสาธารณสขุ ไดม คี ำสง่ั กระทรวงสาธารณสขุ ท่ี 1329/2563 ลงวนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2563 เรอ่ื ง จดั ตง้ั ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ โดยมปี ลดั กระทรวงสาธารณสขุ เปน ผบู ญั ชาการเหตกุ ารณ รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ เปน รองผบู ญั ชาการเหตกุ ารณ และมอี งคป ระกอบของคณะทำงาน 8 คณะ ดงั รปู ท่ี 13 เพอ่ื ใหก ารบรหิ ารจดั การการเตรยี ม ความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข และใหการดำเนินการชวยเหลือทางดานการแพทย และการสาธารณสุขในพ้นื ทีไ่ ดร ับผลกระทบจากสถานการณหมอกควนั และฝุนละอองขนาดเล็กใหมีประสิทธภิ าพสูงสดุ โครงสรางของระบบบัญชาการเหตกุ ารณ กรณี หมอกควันและฝุน ละอองขนาดเล็ก ผังบญั ชาการเหตุการณ ศูนยป ฏิบตั กิ ารฉุกเฉินดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควันและฝนุ ละอองขนาดเลก็ IC นพ. เกยี รติภมู ผิ วบู งญั ศรชจาติกาปรลเหดั ตกุกราะรทณรว งสาธารณสขุ รองปลัดฯ นพ. ธงชยั กรี ติหตั ถยากร รองผบู ญั ชาการฯ ลําดบั ท่ี 1 รองปลดั ฯ นพ. ยงยศ ธรรมวฒุ ิ รองผูบญั ชาการฯ ลําดับที่ 2 อธบิ ดกี รมอนามยั รองผูบญั ชาการฯ ลําดบั ท่ี 3 อธิบดกี รมควบคุมโรค รองผูบัญชาการฯ ลําดบั ท่ี 4 อธบิ ดกี รมการแพทย รองผบู ญั ชาการฯ ลําดับที่ 5 ทมี ตระหนกั รสู ถานการณ (SAT) ทมี ยทุ ธศาสตรแ ละวชิ าการ (Intelligence Unit) HF : รองปลดั ฯ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ HF : นพ.สุวรรณชัย วัฒนาย่ิงเจริญชัย อธิบดีกรมอนามยั 1. รองอธิบดกี รมอนามัยท่ีไดรบั มอบหมาย (รองประธาน) 1. รองอธิบดีกรมอนามัยทีไ่ ดรับมอบหมาย (รองประธาน) 2. นางนภพรรณ นนั ทพงษ ผอ.กองประเมินผลกระทบตอสขุ ภาพ 2. นายดํารง ธาํ รงเลาหะพนั ธุ ผอ.กองแผนงาน กรมอนามัย (เลขานกุ าร) 3. นพ.สุภโชค เวชภณั ฑเภสชั ผอ.กองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน สป. กรมอนามัย (เลขานุการ) 3. นพ.วฑิ ูรย อนันกลุ ผอ.กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ สป. (ผช.เลขานุการ) (เลขาฯรวม) ทีมกฎหมาย (LAW SUPPORT & ENFORCEMENT) ทีมสือ่ สารความเสี่ยงและประชาสัมพนั ธ (PIO/RC) HF : รองปลัดฯ นพ. ธงชัย กรี ติหตั ถยากร HF : รองปลัดฯ นพ.ณรงค สายวงศ 1. นพ.รงุ เรอื ง กจิ ผาติ (รองประธาน) 1. รองอธบิ ดกี รมอนามยั ที่ไดร บั มอบหมาย (รองประธาน) 2. นางสาวอําพร บศุ รังษี ผอ.ศูนยบรหิ ารกฎหมายสาธารณสขุ กรมอนามัย 2. น.ส.ศริ ิมา ธรี ะศักด์ิ ผอ.สาํ นักสารนิเทศ สป. (เลขานุการ) 3. นายวินัย รอดไทร ผอ.ศูนยส่อื สารสาธารณะ กรมอนามยั (เลขาฯรวม) (เลขานกุ าร) 3. นายปย ะวัฒน ศิลปรัศมี ผอ.กองกฎหมาย สป. (เลขาฯรว ม) ทมี ปฏบิ ัติการ (OPERATION) HF : รองปลดั ฯ นพ. ธงชยั กีรตหิ ัตถยากร 1. รองอธิบดกี รมอนามัยท่ไี ดรบั มอบหมาย (รองประธาน) 2. รองอธบิ ดีอธิบดีกรมการแพทยไดรับมอบหมาย (รองประธาน) 3. รองอธิบดีอธิบดกี รมควบคุมโรคไดร ับมอบหมาย (รองประธาน) 4. นายสมชาย ตูแกว ผอ.สํานกั อนามัยสง่ิ แวดลอ ม กรมอนามัย (เลขานุการ) 5. นพ.วฑิ รู ย อนันกุล ผอ.กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สป. (ผช.เลขานุการ) ทมี ทรัพย(าLกOรGแIลSะTสICงSก)ําลงั บาํ รงุ ทมี การเงนิ แล(ะFกINาAรบNรCหิ Eา)รงบประมาณ ทีมประส(าLนIAงาISนO/Nเล)ขานุการ HF : นพ.ไพศาล ดน่ั คมุ เลขาธกิ าร อย. HF : รองปลดั ฯ นพ. ธงชยั กีรติหัตถยากร HF : รองปลดั ฯ นพ. ธงชัย กีรตหิ ัตถยากร 1. รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา 1. นพ.รุง เรอื ง กิจผาติ ท่ีปรึกษาระดบั กระทรวง 1. รองอธิบดีกรมอนามยั ไดร บั มอบหมาย ที่ไดร ับมอบหมาย (รองประธาน) (รองประธาน) (รองประธาน) 2. นพ.วิฑูรย ดา นวิบูลย ผอ.องคการเภสชั ฯ 2. นางอมรรัตน พีระพล ผอ.กองบรหิ ารการคลงั สป. 2. นพ.วิฑรู ย อนนั กุล ผอ.กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สป. (รองประธาน) (เลขานุการ) (เลขานุการ) 3. นพ.สนิ ชัย ตนั ติรตั นานนท ผอ.กองบรหิ าร 3. นางเกษร ศุภกลุ ธาดาสริ ิ ผอ.กองบริหารการคลัง 3. นางนภพรรณ นันทพงษ ผอ.กองประเมิน การสาธารณสขุ สป. (เลขานกุ าร) กรมอนามยั (เลขาฯรวม) ผลกระทบตอสุขภาพ กรมอนามยั (เลขาฯรว ม) 4. นพ.วฑิ รู ย อนันกุล ผอ.กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สป. (เลขาฯรวม) รูปท่ี 13 กลไกการตอบโตภ าวะฉุกเฉนิ การดา นการแพทยและสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝุน ละอองขนาดเลก็ 23 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
และมีกลไกและเกณฑการเปดศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก ในแตละระดับ ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 กลไกและเกณฑการเปดศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเล็ก ระดบั หลักเกณฑการเปด/ปด PHEOC หนวยงานรบั ผิดชอบ ผูบัญชาการเหตุการณ จังหวัด เขตสุขภาพ ตเปิดดตอ: กเมันือ่ 3PวMัน2.5 ≥ 76 มคก./ลบ.ม. สํานักงานสาธารณสุข - นายแพทยส าธารณสุขจงั หวัด กรม จังหวัด เปน ผบู ัญชาการเหตุการณ ปด : เมือ่ 6PMวนั 2.5 < 76 มคก./ลบ.ม. - หัวหนา กลุมอนามยั ส่ิงแวดลอม กระทรวง ติดตอ กนั 1.สํานกั งานเขตสุขภาพ หรือระบาดวทิ ยาเปนผปู ระสานงาน 2.สํานักงานปองกนั และรายงานขอ มูลระดับจงั หวดั เปด : เมือ่ จังหวัดเปด ศนู ยป ฏบิ ัตกิ าร และควบคุมโรค ฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ (PHEOC) 3.ศนู ยอ นามยั - ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ เปนผูบัญชาการเหตุการณ มากกวา 1 จงั หวดั - ผูอ ํานวยการสาํ นกั ปองกนั ควบคุมโรค ปด : เม่อื จังหวัดในเขตปด PHEOC เปน ผูประสานงาน และรายงานขอ มลู ระดบั เขตสขุ ภาพ เปด : เมื่อเขตสุขภาพเปดศนู ยปฏบิ ัตกิ าร ฉกุ เฉนิ ดานการแพทยและสาธารณสขุ (PHEOC) 1.กรมอนามยั - อธิบดีหรอื ผไู ดรบั มอบหมายเปน กรณี หมอกควันและฝุนละอองขนาดเลก็ 2.กรมควบคมุ โรค ผูบ ัญชาการเหตกุ ารณ ตง้ั แต 2 เขตสุขภาพขน้ึ ไป 3.กรมการแพทย - ผูอํานวยการหนวยงานเปน ปด : เมื่อเขตสุขภาพปด PHEOC 4.กรมสนบั สนนุ บริการ ผูประสานงานและรายงานขอ มูล สุขภาพ ระดบั กรม เปด : เมื่อเขตสขุ ภาพเปดศนู ยปฏิบัติการ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน - ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ หรือ ฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ (PHEOC) ผูไดร ับมอบหมายเปน ผบู ญั ชาการ กรณี หมอกควันและฝุนละอองขนาดเลก็ เหตุการณ ต้งั แต 3 เขตสุขภาพข้นึ ไป หรือ (ข้นึ อยกู ับ - ผูอ ํานวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉิน ความเรง ดวน/นโยบายผูบริหาร) เปน ผูประสานงานและรายงาน ปด : เม่ือเขตสุขภาพปด PHEOC ผลระดับกระทรวง สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 24 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข มีการเตรียมความพรอมของหนวยงานสาธารณสุขและประชุมรวมกับ หนว ยงานสาธารณสุขในพื้นที่ เพอ่ื สนับสนนุ การดำเนินงานและตดิ ตามการดำเนนิ งานในระยะตา ง ๆ ดงั นี้ 2.1.1 ชวงเตรียมการ จัดสงคูมือการดำเนินงานดานการแพทย และสาธารณสขุ กรณฝี นุ ละอองขนาดเลก็ ป 2564 ชดุ ความรู ทเ่ี ก่ียวขอ งเพอ่ื สนบั สนุนการดำเนินงานของพืน้ ท่ี ประชุมทางไกล (Video Conference) การเตรียมความพรอมดานการแพทยและสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ เมอ่ื วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2563 โดยมนี ายแพทยเ กยี รตภิ มู ิ วงศร จติ ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ เปนประธาน เพื่อสั่งการใหหนวยงานในพื้นที่ที่ประสบปญหา หมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก เตรียมความพรอมดาน การแพทยแ ละสาธารณสขุ เพอ่ื ดแู ลสขุ ภาพประชาชนในพน้ื ท่ี กอ นเขา สสู ถานการณห มอกควันและฝนุ ละอองขนาดเล็ก ทง้ั น้ี มขี อ สง่ั การถงึ สำนกั งานเขตสขุ ภาพท่ี 1 – 12 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั โรงพยาบาลศนู ย โรงพยาบาล ทว่ั ไปและหนวยบริการในสังกดั กระทรวงสาธารณสุขทกุ แหง ดงั รูปท่ี 14 รปู ที่ 14 ขอ สั่งการเตรยี มความพรอมดานการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝุนละอองขนาดเล็ก ครั้งท่ี 7/2563 เปดศูนยเฝาระวังและประสานงานดานการแพทยและสาธารณสุข (Operation Center : OC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในทกุ ระดบั เพอ่ื เฝา ระวงั ตดิ ตาม วเิ คราะหแ นวโนม สถานการณ PM2.5 และความเสย่ี ง ตอ สขุ ภาพ เพื่อแจงเตอื นประชาชน และแจงหนว ยงานใหเตรยี มรบั มือกับสถานการณ 25 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2.1.2 ระยะวิกฤต ประชุมทางไกล (Video Conference) ศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข กรณีหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 โดยมีนายแพทยสุวรรณชัย วฒั นายง่ิ เจรญิ ชยั อธบิ ดกี รมอนามยั ในฐานะรองผบู ญั ชาการ เหตุการณ เปนประธาน เพื่อสั่งการใหหนวยงานในพื้นที่ ทป่ี ระสบปญ หาหมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในระยะ วิกฤต ยกระดับมาตรการและเปดศูนยปฏิบัติการฉุกเฉิน ดานการแพทยและสาธารณสุข กรณีหมอกควันและ ฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในระดบั พน้ื ท่ี พรอ มใหก ารดแู ลสขุ ภาพ ประชาชน และประสานการดำเนินงานกับหนวยงานใน ระดับพ้ืนท่ีอยางใกลชิด มีขอสั่งการยกระดับการปฏิบัติการและ ศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข กรณีหมอกควัน และฝุนละอองขนาดเล็ก ระดับกระทรวง เมอ่ื วนั ที่ 9 มีนาคม 2564 โดยมีขอสั่งการถึงผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานเขตสุขภาพและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ดงั รูปที่ 15 รปู ที่ 15 ขอสั่งการศูนยปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ ดานการแพทยแ ละสาธารณสุข กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ครั้งที่ 1/2564 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 26 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
สำหรับกลไกการบริหารจัดการในระดับเขตสุขภาพและระดับจังหวัด มีการแตงตั้งคณะกรรมการตอบโต ภาวะฉุกเฉินดานการแพทยและการสาธารณสุข กรณีฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) และมีการเปด ศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุข (PHEOC) กรณี หมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็กตามระดับ ความรนุ แรงของสถานการณ PM2.5 ในพน้ื ทต่ี ามแผนเผชญิ เหตทุ ก่ี ำหนด และบรู ณาการการดำเนนิ งานกบั คณะกรรมการ ในระดับจังหวัดที่มีผูวาราชการจังหวัดเปนผูบัญชาการเหตุการณ ทั้งนี้ ในป 2564 มีหนวยงานที่เปด PHEOC ไดแก จงั หวดั เชยี งใหม จงั หวดั เชยี งราย จงั หวดั ลำปาง จงั หวดั นา น จงั หวดั พะเยา จงั หวดั แพร จงั หวดั ลำปาง จงั หวดั แมฮ อ งสอน จงั หวดั นครสวรรค จงั หวดั สโุ ขทยั จงั หวดั ขอนแกน จงั หวดั มกุ ดาหาร จงั หวดั ชยั ภมู ิ จงั หวดั นครราชสมี า เขตสขุ ภาพท่ี 1 และเขตสุขภาพที่ 7 27 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
รวมทั้งไดขับเคลื่อนการดำเนินงานดานสาธารณสุขในระดับพื้นที่รวมกับกลไกตาง ๆ เชน คณะกรรมการระดับ จังหวัดและเขตสุขภาพ คณะกรรมการกองอำนวยการแกไขปญหาไฟปา หมอกควัน และฝุนละอองขนาดเล็ก (PM2.5) คณะกรรมการแกไขปญหาผลกระทบสุขภาพจากฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) คณะทำงานเฝาระวัง ลดผลกระทบจากฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 คณะกรรมการบรหิ ารสาธารณสขุ คณะกรรมการสาธารณสขุ จงั หวดั (คสจ.) ศนู ยบ ญั ชาการเหตกุ ารณป อ งกนั และแกไ ขปญ หาไฟปา หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ (PM2.5) และกองอำนวยการ ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด โดยไดมีการประชุมประเมินสถานการณและแกไขปญหาผลกระทบที่เกิดขึ้น และตดิ ตามการดำเนินงานอยา งตอ เนื่องเปนประจำ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 28 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2.2 การดำเนินงานและผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคญั 2.2.1 พัฒนาฐานขอมูล เฝาระวังและแจงเตือน ความเสี่ยงตอ สุขภาพ 1) จัดทำฐานขอมูลสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โดยไดรวบรวมขอมลู ที่เก่ียวขอ ง ประกอบดวย (1) ขอมูลดานสิ่งแวดลอม ไดแก ขอมูล สถานการณ PM2.5 จากกรมควบคุมมลพิษ กรุงเทพมหานคร และเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศอยางงาย (Dustboy) และ ขอ มลู สภาพอากาศ จากกรมอุตุนิยมวทิ ยา (2) ขอมูลดานสุขภาพ จากระบบเฝาระวัง ผลกระทบตอสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งจากระบบ บริการและการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพดวยตนเอง และคลนิ กิ มลพษิ (3) ขอมูลจำนวนกลุมเสี่ยงในพื้นที่ ไดแก กลุมเด็ก ผูสูงอายุ หญิงตั้งครรภ ผูมีโรคประจำตัว โดยขอมูล เหลานี้ ไดนำมาวิเคราะหเชื่อมโยงเพื่อนำไปสูการแจงเตือน และการบริหารจัดการในการดูแล และสนับสนุนอุปกรณ และเวชภัณฑในการปองกันสุขภาพ และการติดตามเฝาระวัง อาการในชว งวกิ ฤต 7,000,000ํจานวน (ราย) 6,000,000 5,000,000 หญงิ ตงั้ ครรภ 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0-4 ป 5-9 ป 60+ ป ผูมีโรคประจาํ ตวั ทีม่ า : https://hdcservice.moph.go.th/ วนั ที่ประมวลผล : 2 ธันวาคม 2563 29 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2) สอ่ื สารและแจง เตอื นความเสย่ี งตอ สขุ ภาพ ไดแ ก สถานการณ PM2.5 ขอ มลู คาดการณส ถานการณ PM2.5 กลมุ เสย่ี งทไ่ี ดร บั ผลกระทบ และคำแนะนำในการปฏบิ ตั ติ น สำหรบั ประชาชน สอ่ื สาร เตอื นภยั พรอ มคำแนะนำในการ ปฏิบัตติ นสำหรบั ประชาชนทุกวนั ผานชอ งทางตา ง ๆ เชน (1) ออนไลน : Facebook แฟนเพจ “คนรกั อนามยั ใสใ จอากาศ PM2.5” เวบ็ ไซต TV YouTube (2) Application อสม. Application “H4U” กลุมไลนเขตสุขภาพตา งๆ (3) ปายประชาสัมพันธ Billboard ใน พื้นที่ตาง ๆ วิทยุ เสียงตามสาย หอกระจายขาว สายดวน ธงสีเตือนภัย เปนตน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 30 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
3) พัฒนาชุมชนตนแบบจัดการความเสี่ยงตอสุขภาพจาก PM2.5 เพื่อเฝาระวัง และสื่อสารความเสี่ยงใน พน้ื ทเ่ี สย่ี งมลพษิ ทางอากาศ สรา งเครอื ขา ยเฝา ระวงั และสรา งความเขม แขง็ ใหแ กอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ และประชาชน เพื่อสามารถเฝาระวังและลดผลกระทบตอสุขภาพในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เชน เขตสุขภาพที่ 1 ดำเนนิ งานโครงการตน แบบ “ระบบเฝา ระวงั สอ่ื สารความเสย่ี งเพอ่ื ปอ งกนั และลดผลกระทบจากฝนุ ควนั ” จำนวน 21 ตำบล กระจายในพน้ื ท่ี 8 จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน ตง้ั แตป 2561 ถงึ ปจ จบุ นั ซง่ึ จะเปน แหลง เรยี นรแู ละขยายผลการดำเนนิ งาน ในป 2565 ในอำเภอรอบนอกใหค รบทกุ อำเภอและทกุ ตำบลตอ ไป นอกจากน้ี สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นครราชสมี า ไดมีการพัฒนาตนแบบชุมชนจัดการความเสี่ยงตอสุขภาพจาก PM2.5 ใน 2 พื้นที่ ไดแก อำเภอคงและอำเภอดานขุนทด ซึ่งทำใหป ระชาชนมีความรู และสามารถปองกนั ตนเองจาก PM2.5 ไดอยางถูกตอง 31 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
กรณศี กึ ษา : “ระบบเฝา ระวงั และสื่อสารความเส่ยี งฝนุ ควัน ศนู ยอนามัยท่ี 1 เชยี งใหม” เขตสุขภาพที่ 1 ไดพัฒนากลไกการพัฒนาและขับเคลื่อน “ระบบเฝาระวังและสื่อสารความเสี่ยงฝุนควัน ศูนยอนามัยที่ 1 เชยี งใหม” อยางตอเนื่อง โดยบูรณาการความรว มมือจากหลายภาคสวน โดยมกี ารดำเนนิ งานดังน้ี 1) พฒั นาฐานขอ มลู เฝา ระวงั และแจง เตอื น 3) ศูนยขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพ ความเสี่ยงตอสุขภาพ รวมกับเครือขายพัฒนา platform ภมู อิ ากาศมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม (CCDC CMU) วางระบบ กลาง เชื่อมโยงขอมูล และจัดตั้ง “ศูนยขอมูลฝุนควัน ฐานขอมูลฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 จากเครื่องวัดฝุน เขตสขุ ภาพท่ี 1” โดยลงนามความรว มมอื (MOU) เมอ่ื วนั ท่ี DustBoy พัฒนาระบบรายงานขอมูลและสรางระบบ 22 กุมภาพันธ 2564 เพื่อบูรณาการระบบฐานขอมูล คาดการณลวงหนา 3 วัน ผานระบบเว็บไซต https:// สถานการณ PM2.5 และการคาดการณล ว งหนา 3 วนั รวมทง้ั www.cmuccdc.org/hpc1 และระบบแจง เตือนอตั โนมัติ ระบบเฝาระวงั ฝุน ควันในพน้ื ทไี่ หมปี ระสทิ ธภิ าพและยง่ั ยืน ผานไลนกลุมผูรับผิดชอบแตละตำบล รวมทั้งสรางระบบ 2) ศูนยอนามัยที่ 1 เชียงใหม สำนักงาน ขอมูลสนับสนุน ไดแก ระบบลงทะเบียนหองปลอดฝุน รายงานสถานการณฝุนควันระดับเขตสุขภาพจังหวัด และ เขตสุขภาพที่ 1 และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดคัดเลือก ตำบล รวมทั้งการเชื่อมโยงฐานขอมูลฝุนทุกระบบ เทศบาล/อบต.ที่มีปญหาวิกฤติฝุนควันและจุดความรอน (Hotspot) สงู ตอ เนอ่ื ง จงั หวดั ละ 1-3 แหง รวม 21 ตำบล การรวบรวมระบบฐานขอมูล โดยใชพื้นที่ที่จัดเก็บขอมูล โดยศูนยอนามัยที่ 1 เชียงใหมจัดอบรม “ทีมปฏิบัติการ ทั้งระบบ (Data server) ของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ตำบล” เพอ่ื สรา งความตระหนกั ผลกระทบตอ สขุ ภาพ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม (ITSC CMU) พัฒนาศักยภาพในการสื่อสารความเสี่ยง การปฏิบัติการ 4) ศนู ยเ ฝา ระวงั สขุ ภาพหนง่ึ เดยี ว (PODD) ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ เพอ่ื ปอ งกนั และลดผลกระทบ ดำเนินการออกแบบระบบเฝาระวังและการปฏิบัติการ ตอสุขภาพ และระดับตำบลอบรมขยายผลแกนนำหมูบาน ดานการแพทยและสาธารณสุข และแจงเตือนอัตโนมัติ 50 คน โดยกำหนดบทบาทหนา ทใ่ี นการดำเนนิ การเฝา ระวงั โดยนำเขา ขอ มลู จาก CCDC CMU ไดแ ก สถานการณ PM2.5 สื่อสารความเสี่ยง และใหความรูคำแนะนำใหความรูแก จาก DustBoy และเครื่องวัดฝุนอื่น ๆ ที่มีการเชื่อมโยง ประชาชนในตำบล ศนู ยอ นามยั ท่ี 1 เชยี งใหมแ ละคณะทำงาน ระบบ (API) โดยพัฒนาระบบเฝาระวังและแจงเตือน พฒั นาระบบตดิ ตามเยย่ี มเสรมิ พลงั จดั เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรู อัตโนมัติ 3 ระบบ คอื และพัฒนารูปแบบการดำเนินงานใหสอดคลองเหมาะสม กบั แตล ะพ้ืนที่ ปจ จัยความสำเร็จ ตองอาศยั เครือขา ยอื่น ๆ ชว ยกนั เนอ่ื งจากงานทท่ี ำเราไมสามารถทำคนเดยี วแลว จะประสบความสำเรจ็ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 32 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
(1) ระบบเฝาระวังและแจง เตอื นอตั โนมัติสำหรับกลมุ เส่ยี งและประชาชน (Smoke alert) พฒั นาขึ้น โดยศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (TCELS) คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยเชื่อมโยงขอมูล สถานการณฝ นุ ควนั และขอ มลู หอ งปลอดฝนุ จาก CCDC CMU และ PODD กลมุ เสย่ี งและประชาชนทว่ั ไป รวมทง้ั อสม. ที่ดูแลกลุมเสี่ยงสามารถลงทะเบียนเพื่อใหระบบแจงเตือนอัตโนมัติสถานการณฝุนควันและแนวทางปฏิบัติตัว วันละ 2 ครั้ง เวลา 07.30 น. และ 18.00 น. รวมทั้งแสดงหองปลอดฝุนใกลเคียงภายในรัศมี 10 และ 20 กิโลเมตร สามารถ คน หาเสนทางและประสานผดู แู ลหอ งปลอดฝุนเพื่อขอรบั บรกิ าร (2) ระบบเฝา ระวงั และแจง เตอื นอตั โนมตั ฝิ นุ ควนั สำหรบั ศนู ยพ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั โรงเรยี น สถานศกึ ษา ศนู ยผ สู งู อายุ ไดพ ฒั นาและออกแบบสำหรบั แจง เตอื นสถานศกึ ษาเพอ่ื เฝา ระวงั งดกจิ กรรมนอกหอ งเรยี น และการปอ งกนั สวนบุคคลของนกั เรยี น โดยแจงเตือนวันละ 3 ครั้ง: 07.00 น. 10.00 น. และ 15.00 น. 33 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
(3) ระบบเฝาระวังและแจงเตือนอัตโนมัติ สำหรับศูนยปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุข (PHEOC) เจาหนา ทสี่ าธารณสขุ องคก รปกครองสว นทอ งถ่ินและทีมปฏบิ ัตกิ ารระดบั ตำบล โดยระบบจะวิเคราะหความ รุนแรงสถานการณฝุนและแจงเตือนแนวปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขระดับ 1- ระดับ 4 ใหกับบุคคล และ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งในแตล ะพน้ื ท่ี กรณคี วามรนุ แรงระดบั 3 และระดบั 4 ระบบจะแจง ไปยงั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งระดบั อำเภอ จงั หวดั และเขตสขุ ภาพตามลำดบั โดยแจง เตอื น วนั ละ 4 ครง้ั คอื 06.00 น. 12.00 น.15.00 น. และ 18.00 น. 5) สำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขตที่ 1 เชียงใหม สนับสนุนการดำเนินงานโดยเปนผูตรวจสอบและ ใหค ำแนะนำการจดั ทำโครงการระดบั หมบู า น แกนนำ เพอ่ื ขอรบั สนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สขุ ภาพตำบลไดอ ยา ง ถูกตอง เชน โครงการการปองกันและแกไขปญหาไฟปาและฝุนควัน การใหความรูกลุมเสี่ยงและประชาชน การจัดซื้อ และสนับสนุนหนากาก N95 แกกลุมเสี่ยง การจัดเตรียมและสาธิตหองปลอดฝุนในองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบล (รพ.สต.) โรงเรยี น หรือศนู ยพัฒนา เด็กเลก็ เปนตน 6) ทีมปฏิบัติการระดับตำบล ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น แกนนำชุมชน ประชาชน รพ.สต. โรงเรยี นภาคใี นพน้ื ทด่ี ำเนนิ การปอ งกนั และแกไ ขปญ หาฝนุ ควนั ในชมุ ชน ภายหลงั การดำเนนิ งานแตล ะตำบล ถอดบทเรยี น ปญ หาอปุ สรรคเพอ่ื พฒั นาระบบเฝา ระวงั สอ่ื สารความเสย่ี งฝนุ ควนั และเปน แหลง เรยี นรแู ละขยายผลการดำเนนิ งานตอ ไป สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 34 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2.2.2 เฝาระวังผลกระทบตอ สุขภาพ และสอบสวนโรคอยา งทันทว งที การเฝา ระวงั ผลกระทบสขุ ภาพจากมลพษิ ทางอากาศและฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กำหนดโรคที่เฝาระวังผลกระทบดานสุขภาพ ไดแก โรคหอบหืด (Asthma) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease) โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute Coronary Syndrome) และโรคทางเดนิ หายใจอน่ื ๆ โดยรายงานผปู ว ยดว ยโรคทเ่ี ฝา ระวงั ทม่ี ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลเครอื ขา ย 22 แหง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ไปยังกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคทุกวัน ดวยระบบออนไลน (online report) ผานระบบ google form ประมวลผลผานระบบ Data Studio และแสดงผลผาน Dashboard โดยสามารถเขา ถงึ ขอ มลู ไดท ่ี https://bit.ly/3hY1CHX ซง่ึ กองระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรคจะดำเนนิ การจดั ทำรายงาน สถานการณเสนอผูบริหารและผูเกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางกำหนดมาตรการดานสุขภาพและสนับสนุนนโยบาย การควบคมุ มลพิษทางอากาศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตอไป 35 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
การเฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากมลพษิ ทางอากาศและฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1-13 โดยใชขอมูลจากคลังขอมูลสุขภาพ (Health Data Center ; HDC) กระทรวงสาธารณสุข รวบรวมขอมูลการเจ็บปวยในกลุมโรคที่ใชในการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพ ประกอบดวย กลุมโรคทางเดินหายใจ กลมุ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดสมอง กลมุ โรคตาอกั เสบ (รวม) และกลมุ โรคผวิ หนงั อกั เสบ (รวม) จากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทกุ สงั กดั ทว่ั ประเทศทส่ี ามารถสง ขอ มลู ไดต ามมาตรฐาน 43 แฟม ทไ่ี ดร บั การวนิ จิ ฉยั วา ปว ยดว ยโรคตาม ICD-10 ทก่ี ำหนด ซึ่งระยะเวลาในการเฝาระวังแบงออกเปน ระยะเฝาระวังเขมขน (เดือนธันวาคม – เมษายน) และระยะเฝาระวังปกติ (เดือนพฤษภาคม – พฤศจิกายน) ในกรณีเกิดเหตุนอกเหนือระยะเวลาที่กำหนด และมีปจจัยการเกิดฝุนละอองมากขึ้น ซึ่งสถานพยาบาลจะสงขอมูลผานระบบ Health Data Center (HDC) และจะมีการประมวลผลขอมูล ซึ่งดำเนินการ โดยศูนยสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และแสดงผลผาน HDC service ซึ่งสามารถ เขา ถึงขอมูลไดท่ี https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php การเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพ โดยใหประชาชนเฝาระวังอาการที่เกี่ยวของจากการรับสัมผัส ฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ดวยตนเองผานทางอนามัยโพล โดยกรมอนามัย ประมวลผลผานระบบ Data Studio และแสดงผลผา น Dashboard โดยสามารถเขาถงึ ขอ มลู ได : https://shorturl.asia/NwaFK สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 36 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
ผลอนามยั โพลพบว่า ประชาชนมีความวิตกกงั วลเก่ียวกบั ผลกระทบต่อสุขภาพจากฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 23% กังวลมาก 32% กังวลปานกลาง 24% กงั วลนอย 21% ไมก งั วล
2.2.3 ยกระดบั ความรอบรูแ ละตอบโตความเสย่ี งตอสขุ ภาพ จัดทำชุดความรู เรื่องผลกระทบตอสุขภาพ และการปองกันตนเองจาก PM2.5 สำหรับหนวยงาน เครอื ขา ยสาธารณสขุ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู า น สอ่ื มวลชน ประชาชนทว่ั ไป และกลมุ เสย่ี ง (เดก็ หญงิ ตง้ั ครรภ ผูสูงอายุ ผูปวยที่มีโรคประจำตัว) ในรูปแบบตาง ๆ ไดแก คูมือ แผนพับ อินโฟกราฟก โปสเตอร โรลอัพ คลิปวิดิโอ เสยี งตามสาย เปน ตน รวมทง้ั รวบรวมคำถามทพ่ี บบอ ยจากประชาชน และจดั ทำคำตอบ เพอ่ื ตอบขอ สงสยั แกป ระชาชน ในประเดน็ ที่เก่ยี วของกับฝนุ ละอองขนาดเลก็ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 38 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
การสื่อสารและยกระดบั ความรอบรูดานสุขภาพ 1) สอ่ื สาร ใหค วามรู สรา งความตระหนกั ใหก บั ประชาชนในการปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจาก PM2.5 ในรปู แบบตาง ๆ ไดแ ก กลุมไลน เฟซบกุ หนว ยงาน และเว็บไซตห นวยงาน สถานีโทรทัศน สถานีวิทยุ และเสียงตามสายในประเด็นตาง ๆ ที่เปนที่สนใจของประชาชน เชน การรายงานสถานการณฝุนละอองและคำแนะนำการปฏิบัติตน การดูแลสุขภาพและการปองกันตนเองจาก ฝุนละอองขนาดเล็ก ประชาชนทั่วไปและกลุมเสี่ยง การเลือกและการใชหนากากที่ถูกตอง คลินิกมลพิษ หองปลอดฝุน การจัดสภาพแวดลอ มเพอ่ื ปองกัน PM2.5 วธิ กี ารลดฝุน PM2.5 และมาตรการลดผลกระทบจากฝุน PM2.5 เปนตน 39 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
2) อสม./อสส. ทมี ปฏบิ ตั กิ าร PM2.5 เจา หนา ทส่ี าธารณสขุ ลงพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารเชงิ รกุ ใหค วามรปู ระชาสมั พนั ธ รณรงค สรางกระแสใหประชาชนตระหนักถึงผลกระทบของฝุนละออง รวมทั้งสงเสริมการมีสวนรวมในการแกไขปญหา และลดกิจกรรมที่ทำใหการเกิดฝุนในหมูบาน วัด โรงเรียน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สถานที่หนวยงานราชการ หา งสรรพสินคา และสถานท่ีทอ งเท่ียว เปน ตน 3) อบรมการสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health literacy) ใหกับหนวยงานเครือขายสาธารณสุข แกนนำ ประชาชนทั่วไป กลุมเสี่ยง นักเรียน อาสา และกำลังพลที่ปฏิบัติหนาที่ปองกันและแกไขปญหาไฟปาและ หมอกควัน และกลุมเสี่ยงที่ไดรับผลกระทบจากปญหาหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 เปนตน เพื่อ การเฝา ระวังปอ งกนั และแกไขปญหา PM2.5 และการสอื่ สารความเสี่ยงดานสขุ ภาพ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 40 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
4) ประชาสัมพันธใหความรูเรื่องฝุนละออง PM2.5 การใสหนากากอนามัย และการปองกันตนเองแก ผูมารับบรกิ ารในโรงพยาบาลหรอื สถานบริการสาธารณสขุ 5) แถลงขอ มลู สถานการณแ ละใหค ำแนะนำในการปฏบิ ตั ติ นทเ่ี หมาะสมแกป ระชาชนผา นศนู ยแ กไ ขปญ หา มลพิษทางอากาศ ดานผลกระทบตอสุขภาพ (ศกพ.ส.) ในประเด็นตาง ๆ ไดแก คำแนะนำในการใชหนากากปองกัน PM2.5 หอ งปลอดฝนุ และการจดั สภาพแวดลอ มเพอ่ื ปอ งกนั PM2.5 การลด และปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากฝนุ ละออง ขนาดเล็กสำหรับเด็ก มาตรการเพื่อลดและปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดเล็ก สำหรับสถานศึกษา รวมท้ังการลดและปอ งกันผลกระทบตอสขุ ภาพในเทศกาลสำคญั เชน เทศกาลตรษุ จีน เปน ตน 41 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
การเฝา ระวงั และตอบโตข อ มลู ขา วสารดา นสขุ ภาพ เรอ่ื ง มลพษิ อากาศและสขุ ภาพ เชน การเฝา ระวงั / วเิ คราะหข า ว จดั ทำขอ มลู และตอบโตข อ มลู ขา วสารภายใน 24 ชว่ั โมง และสอ่ื สารความเสย่ี งประเดน็ ฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 กับประชาชน ผานสายดวนกรมควบคุมโรค “1422” (วันที่ 3 มกราคม - 11 มิถุนายน 2564) จำนวน 14 เรื่อง RRHL และสาสุขชัวร (9 ธนั วาคม 2563 – 8 เมษายน 2564) จำนวน 49 เร่ือง มปี ระเดน็ ขาวเส่ยี งท่ีสำคัญ เชน - PM2.5 กบั ผลกระทบทางผิวหนังและสัญญาณอนั ตรายของมะเร็งผวิ หนงั - หมอเตอื นคน กทม. สบู บุหร่ี แถมรบั ฝุน PM2.5 อนั ตรายทุกวนั - PM2.5 ผลของมลพิษทางอากาศในเขตเมือง - หนา กากอนามัยท่คี ุณสวมใสอ ยูตอ งปอ งกนั ฝนุ ควนั PM2.5 ไดจริงไหม - “รถยนต” วายรายตวั จรงิ หรือ จำเลยสังคม ในวกิ ฤต PM2.5 รถยนตไฟฟา และ EURO 5 ใชทางออกจริงหรอื ไม เปนตน การประเมินความรอบรูในการปองกันตนเองของประชาชน โดยการสำรวจความวิตกกังวลเกี่ยวกับ ผลกระทบตอสุขภาพและพฤติกรรมการปองกันตนเองของประชาชนในพื้นที่เสี่ยง พบวาประชาชนมีความวิตกกังวล เกี่ยวกับผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 โดยสวนใหญมีความวิตกกังวลปานกลาง รอยละ 32 ซึ่งพบวาประชาชนในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 13 (กรุงเทพมหานคร) มีความวิตกกังวลสูงสุด ถึงรอยละ 35.48 รองลงมา คอื เขตสขุ ภาพท่ี 1 (ภาคเหนอื ) รอ ยละ 28.87 ซึ่งเปนพน้ื ทท่ี ม่ี สี ถานการณ PM2.5 สูง สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 42 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564
Search