Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

Published by artwork minniegroup, 2023-08-08 04:34:12

Description: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพ
รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

Search

Read the Text Version

ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการด้านอนามยั สง่ิ แวดล้อมและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ ศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ



ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการด้านอนามยั สง่ิ แวดล้อมและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ ศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพ รองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข ISBN 978-616-11-5096-9 จํานวนหนา้ จดั ทําโดย 92 หนา กองอนามัยฉกุ เฉิน กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ครั้งทีพ่ ิมพ์ 1 โทรศพั ท 0 2590 4395 ป 2566 จํานวนพิ มพ์ 2,000 เลม พิ มพ์ ที่ บริษัท เกรทเทส จาํ กัด ท่ีอยู 25 หมูที่ 10 ตาํ บลไมตรา อาํ เภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 13190

คาํ นาํ ปจจุบันนานาประเทศทั่วโลกตองประสบกับสาธารณภัยหรือภัยพิบัติตาง ๆ เชน ภัยจากความรอน ภัยแลง อุทกภัย ฝุนละอองและหมอกควัน โรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซํา้ ภัยจากสารเคมี เปนตน เน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของโลก ซึ่งเปนผลจากการพัฒนา ในดา นตา ง ๆ เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของประชากรในประเทศ ไมว า จะเปน การพฒั นาดา นสาธารณปู โภค ดา นเศรษฐกจิ ดา นสงั คม หรอื การคมนาคมขนสง สง ผลใหจ าํ นวนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มของโลก ลดลง มีการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มมากข้ึน อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสงผลใหเกิดปญหาภัยพิบัติ ตามมา ทาํ ใหแ ตล ะประเทศตอ งสญู เสยี ทรพั ยากรและงบประมาณทใ่ี ชใ นการบรหิ ารจดั การและใหก ารชว ยเหลอื ประชาชนที่ประสบภัยพบิ ัตจิ าํ นวนมาก ดังนั้น เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการตอบโตภาวะฉุกเฉิน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงไดจัดทําคมู ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เพ่ือใหทีมภารกิจ ปฏิบัติการดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพของกรมอนามัย มีแนวทางการปฏิบัติ มาตรการ และกลไกการปฏบิ ตั งิ านรองรบั สถานการณภ ยั พบิ ตั ิ สาธารณภยั และภยั สขุ ภาพประเภทตา ง ๆ ในทศิ ทางเดยี วกนั และสามารถรบั มอื กบั สาธารณภยั และภยั สขุ ภาพดงั กลา วไดอ ยา งทนั ทว งที ทง้ั น้ี คณะผจู ดั ทาํ ขอขอบพระคณุ เจาหนา ที่จากหนวยงานตาง ๆ ของกรมอนามยั ที่รวมสนบั สนนุ ขอมลู และรว มจดั ทําคมู ือฉบับนี้ คณะผูจดั ทาํ คูมือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเลมนี้ หวงั เปน อยา งยงิ่ วา คมู อื ฉบบั นจ้ี ะเปน ประโยชนต อ เจา หนา ทใี่ นการปฏบิ ตั งิ านรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ และชว ยลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอ มและสุขภาพทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ กบั ประชาชนตอ ไป กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรกฎาคม 2566 คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ก ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

สารบัญ คาํ นํา หนา สารบญั ก ข บทท่ี 1 บทนาํ 1. สถานการณ 1 2. นิยามศพั ทท ีเ่ ก่ยี วขอ ง 2 3. วงจรการบรหิ ารจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย 3 บทที่ 2 ระบบบริหารจัดการสาธารณภัยและภัยสุขภาพของกรมอนามยั 5 1. การแบงกลุมประเภทของสาธารณภยั ของกระทรวงสาธารณสุขตามหลกั การ One Hazard One Department 6 2. กลไกการตอบโตสาธารณภัยและภัยสุขภาพของกรมอนามัย 7 3. บทบาทหนา ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของทมี ภารกิจปฏิบัตกิ าร (Operation) ดา นอนามัยสง่ิ แวดลอมและสง เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย 9 18 บทที่ 3 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารดานอนามัยสิ่งแวดลอม 26 และสง เสริมสขุ ภาพ รองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 33 1. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (SOP) รองรับภัยจากโรคระบาด โรคอบุ ัติใหม โรคอบุ ตั ิซาํ้ 41 2. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (SOP) รองรับภยั แลง 54 3. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (SOP) รองรบั ภัยจากความรอน 66 4. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (SOP) รองรับภัยจากฝุน ละอองและหมอกควัน 5. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (SOP) รองรบั ภัยจากสารเคมี 6. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (SOP) รองรับภยั จากไฟไหมบอขยะ 7. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (SOP) รองรับภยั จากอทุ กภยั ภาคผนวก ข คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

บทท่ี 1 บทนาํ 1. สถานการณ์ ศูนยระบาดวิทยาดานภัยพิบัติ (Centre for Research on the Epidemiology of Disasters: CRED) ไดรวบรวมขอมูลสถิติผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติทั่วโลก ในระหวางป พ.ศ. 2545 – 2564 พบวา เกิดสาธารณภยั ทัว่ โลกที่ผา นมา เฉลย่ี จํานวน 370 ครั้งตอ ป มีผูเสียชีวติ เฉล่ียจํานวน 60,955 คนตอป และมูลคาความเสยี หายทางเศรษฐกจิ เฉลี่ย 187.7 ลานลานเหรยี ญสหรฐั อกี ท้งั ยงั มผี ูไดรบั ผลกระทบอีกเปน จํานวนมาก สาํ หรับสถติ ิป พ.ศ. 2565 มีเหตุการณเกิดขึ้นจํานวน 387 ครง้ั โดยเกดิ ขนึ้ ในทวีปเอเชยี สงู ถงึ 137 ครงั้ คิดเปนรอ ยละ 35.40 รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ แสดงดงั รปู ที่ 1 ทีม่ า : Centre for Research on the Epidemiology of Disasters : CRED, 2023 รูปท่ี 1 สถิตจิ าํ นวนการเกิดภยั พิบตั ทิ ่ัวโลก ป พ.ศ. 2545 - 2564 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 1 ของทีมภารกจิ ปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

และจากรายงานขอมลู สถติ สิ าธารณภัยในป พ.ศ. 2565 กรมปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ระหวา ง วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2565 พบวา ป พ.ศ. 2565 ประเทศไทยเกิดสาธารณภยั ใน ไดแก อุทกภยั วาตภัย ภัยแลง ดินโคลนถลม อัคคีภัย อุบัติภัย สารเคมีและวัตถุอันตราย และโรคระบาดสัตว ซึ่งเปน ขอมูลท่ีไดจากการรวบรวมเหตุสาธารณภัยรายวันของจังหวัดทั่วประเทศ โดยมีพ้ืนท่ีประสบสาธารณภัย จํานวน 45,860 หมบู า นมผี เู สยี ชวี ติ รวม 240 ราย ซง่ึ สาธารณภยั ทส่ี ง ผลใหม ผี เู สยี ชวี ติ มากทสี่ ดุ 3 ลําดบั ไดแ ก อัคคีภัย อุทกภัย และอุบตั ิภยั ทมี่ า : ขอมลู สถิติสาธารณภัย ป พ.ศ. 2565, กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) รปู ที่ 2 สรุปขอมลู สาธารณภัยของประเทศไทย ประจาํ ป พ.ศ. 2565 2. นยิ ามศพั ท์ที่เกยี่ วขอ้ ง สาธารณภัย (Disaster) พระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ไดใหความหมายสาธารณภัย หมายความวา อัคคีภยั วาตภัย อทุ กภัย ภัยแลง โรคระบาดในมนุษย โรคระบาดสตั ว การระบาดของศตั รพู ืช ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีผลกระทบตอสาธารณชน ไมวาจะเกิดจากธรรมชาติ มีผูทาํ ใหเกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรอื เหตอุ น่ื ใด ซงึ่ กอ ใหเ กดิ อนั ตรายแกช วี ติ รา งกายของประชาชนหรอื ความเสยี หายแกท รพั ยส นิ ของประชาชน หรือของรัฐ และใหความหมายถงึ ภัยทางอากาศ และการกอวนิ าศกรรมดว ย ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) ภาวะภัยพิบัติที่ทาํ ใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง หรือมีโอกาสในการแพรระบาด ไปสูพื้นท่ีอ่ืน ทําใหมีการจํากัดการเคลื่อนท่ีของผูคนหรือสินคา ซ่ึงมีลักษณะเขาไดกับเกณฑอยางนอย 2 ใน 4 ประการ ดังน้ี • ทําใหเ กิดผลกระทบทางสขุ ภาพอยา งรุนแรง • เปนเหตกุ ารณท่ผี ิดปกติหรอื ไมเคยพบมากอน • มีโอกาสที่จะแพรไ ปสพู ื้นท่ีอ่ืน • ตองจาํ กัดการเคล่อื นที่ของผคู นหรือสินคา 2 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

3. วงจรการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management: DRM) การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ในอดตี จะมงุ เนน การใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนขณะเกดิ เหตุ เพ่ือบรรเทาทุกขใหกับผูที่ไดรับผลกระทบ โดยการดาํ เนินการในปจจุบันจะเนนใหความสาํ คัญกับ การดําเนินการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Reduction : DRR) โดยเนนการปอ งกนั และ เตรียมความพรอมกอนเกดิ ภยั ซงึ่ จะชวยใหผ ลกระทบที่จะเกิดขึน้ เมอ่ื เกิดเหตลุ ดนอ ยลง โดยหลกั การจัดการ ความเส่ียงจากสาธารณภัยสามารถแบงออกเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะเตรียมการกอนเกิดภัย ระยะเกิดภัย และและระยะฟ้นฟูหลังเกิดภัย ซึ่งครอบคลุมต้ังแตการปองกันและลดผลกระทบ การเตรียมความพรอม การเผชญิ เหตุหรือตอบโต ตลอดจนการฟน ฟูหลงั เกดิ เหตุ รายละเอยี ดเพม่ิ เติมแสดงดังรูปท่ี 3 ระยะเตรียมการก่อนเกิดภยั ป้องกนั และลดผลกระทบ เตรียมความพรอ้ ม Prevention and Preparedness Mitigation 2P2R สาธารณภยั ฟ้ นื ฟูและการซอ่ มสร้าง การเผชญิ เหตุ Recovery Response ระยะฟ้ นื ฟูหลังเกิดภัย ระยะเกิดภยั ที่มา : ดดั แปลงจากแผนการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.2564 - 2570 รูปท่ี 3 วงจรการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management : DRM) ระยะเตรียมการกอ่ นเกดิ ภัย 1. การปอ งกนั และลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) คอื การดําเนนิ การเพอ่ื ขจดั หรอื ลดโอกาสที่สาธารณภัยจะสรางผลกระทบตอประชาชน ชุมชน หรือสังคม ไมวาจะเปนการการสงเสริม และสรางความรอบรูใหประชาชนมีความตระหนักและพรอมในการรับมือกับสถานการณอยูเสมอ สามารถ วิเคราะหแ ละประเมินความเสย่ี ง ความเปราะบาง ความลอแหลมตอการเกดิ สาธารณภัย วเิ คราะหก ลมุ เสย่ี ง กลมุ เปราะบางทต่ี องดแู ลและใหความสําคญั เปนพเิ ศษ รวมถึงการตรวจสอบศกั ยภาพของพ้นื ท่ีในการรบั มือ กับสถานการณ 2. การเตรียมความพรอม (Preparedness) คือ การดําเนินการเพ่ือเตรียมความพรอม ทจ่ี ะเผชญิ เหตุ ทั้งการพัฒนาระบบแจง เตอื นภยั ชองทางการกระจายขาวสารไปถึงประชาชน และครอบคลุม ถงึ การเตรยี มความพรอ มบคุ ลากรในการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั งบประมาณ และวสั ดุ อปุ กรณ สง่ิ ของ สนบั สนนุ ตา ง ๆ ทใี่ ชส ําหรบั รบั มอื กบั สถานการณ รวมถงึ การจดั ทําแผนเผชญิ เหตุ การฝก ซอ มแผน การจดั ทํา แผนอพยพ และการเตรียมเสน ทางอพยพกรณีเกิดภยั คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 3 ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ระยะเกดิ ภัย 3. การตอบโตหรือเผชิญเหตุ (Response) คือ การดําเนินการเพื่อรับมือกับสถานการณ โดยมุงเนนใหความสาํ คัญกับการรักษาชีวิตของผูประสบภัยเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉินหรือเกิดสาธารณภัย เปน หลกั โดยเนน ในการใหค วามชว ยเหลอื กชู พี กภู ยั การพยาบาล และสาธารณสขุ ตลอดจนการบรรเทาทกุ ข และแจกจา ยสง่ิ ของยงั ชพี การดแู ลชว ยเหลอื ผอู พยพและการจัดการศนู ยพกั พิงชวั่ คราว ระยะฟ้ นื ฟูหลงั เกิดภัย 4. การฟน ฟหู ลงั เกดิ (Recovery) คอื การดําเนนิ การเพอื่ มงุ เนน การบรหิ ารจดั การหลงั เกดิ สถานการณ เพื่อชวยเหลือฟนฟู เยียวยาหลังเกิดเหตุใหประชาชน ชุมชน หรือสังคมฟนสภาพกลับสูภาวะปกติ ทงั้ ดา นสภาพแวดลอ มและสขุ อนามยั เชน การรอื้ ลา ง ทําความสะอาดบา นเรอื น ตลาดหรอื สถานทส่ี าธารณะ การฟนฟูระบบประปา เปนตน การติดตามภาวะสุขภาพของประชาชนที่ไดรับผลกระทบ เชน การฟนฟู สภาพจติ ใจ การติดตามอาการของประชาชนกรณีไดร ับการเจบ็ ปว ยหรอื อยูในกลุม เสยี่ งที่จะไดรบั ผลกระทบ ตอสุขภาพ อยา งไรก็ตาม นอกจากการใหค วามสําคญั กบั การจดั การในระยะเตรียมการกอ นเกดิ ภัย เพือ่ ปอ งกัน และเตรียมความพรอมรับมือกับสถานการณท่ีจะเกิดข้ึนแลว การตอบโตหรือเผชิญเหตุ (Response) ในระยะเกดิ ภยั เพอ่ื รบั มอื กบั สถานการณท ก่ี ําลงั เกดิ ขน้ึ นบั วา เปน สว นสําคญั ทจี่ ะชว ยใหป ระชาชนผปู ระสบภยั ที่กาํ ลังไดรับความเดือดรอนไดรับความชวยเหลืออยางทันทวงที ซ่ึงกรมอนามัยมีการเตรียมความพรอม สําหรับการตอบโตและเผชิญเหตุกรณีท่ีเกิดสาธารณภัยหรือภัยพิบัติขึ้น โดยมีทีมเจาหนาที่สนับสนุน การลงปฏิบัตงิ านในพืน้ ท่ี เพื่อใหการชว ยเหลอื ประชาชนทีป่ ระสบภยั ซ่งึ จะกลา วถึงในบทถัดไป 4 คูม่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

บทท่ี 2 ระบบบรหิ ารจดั การสาธารณภัย และภยั สุขภาพของกรมอนามยั 1. การแบง่ กลุม่ ประเภทของสาธารณภยั ของกระทรวงสาธารณสุข ตามหลักการ One Hazard One Department กระทรวงสาธารณสขุ เปน หนว ยงานทม่ี ภี ารกจิ ในการตอบสนองตอ ภาวะฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละ สาธารณสขุ ไดม นี โยบายจดั การภาวะฉกุ เฉนิ โดยใชห ลกั การ One Hazard One Department ซง่ึ มหี นว ยงาน ระดับกรมภายใตกระทรวงสาธารณสุขเขามามีสวนรวมในการเปนเจาภาพดาํ เนินการสนับสนุนและบริหาร จัดการภาวะฉุกเฉินดานการแพทยและสาธารณสุขของประเทศใหมีประสิทธิภาพ โดยแบงกลุมประเภทของ สาธารณภยั และมอบหมายเจาภาพระดับกรมทรี่ บั ผิดชอบ ดังนี้ One Hazard One Department Biological Chemical Disaster Environ- Human RTI and mental และอ่นื ๆ Radiation 1. ภัยจากโรคระบาดในมนุษย 1. ภัยจากสารเคมแี ละ 1. อุทกภยั และดนิ โคลนถลม 1. ภัยแลง และความรอน 1. ภยั จากการชุมนุม 1. ภัยจากการคมนาคม - โรคอบุ ตั ิใหม วัตถอุ ันตราย 2. ภัยจากพายุหมุนเขตรอน 2. ภัยจากไฟปาและ ประทว ง และขนสง - โรคอบุ ตั ซิ า้ํ - สารเคมรี ั่วไหล (วาตภัย) หมอกควนั กอการจลาจล - โรคตดิ ตอ - นิคมอุตสาหกรรม 3. ภยั จากแผนดินไหว 3. ไฟไหมบ อ ขยะ 2. อบุ ัตเิ หตุรถพยาบาล 2. ภัยจากโรค แมลง อาคารถลม สตั วศัตรพู ืชระบาด 4. ภัยจากคลื่นสึนามิ 3. ภยั จากโรคระบาดสัตว 5. ภัยจากอัคคภี ยั และสตั วน ้าํ 6. ภยั หนาว กรมควบคมุ โรค กรมควบคมุ โรค สป.สธ. และ กรมอนามยั กรมการแพทย์ สป.สธ. และ กรมควบคุมโรค กรมควบคมุ โรค สํานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจติ กรมควบคมุ โรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก และสํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา สํานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สป.สธ.) เป็นหน่วยงานประสานและเลขานุการกลาง รปู ท่ี 4 การแบงกลมุ ประเภทของสาธารณภยั และเจาภาพระดบั กรมดาํ เนินการหลัก กรมอนามยั เปน หนว ยงานเจา ภาพหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบภยั ประเภทภยั จากสง่ิ แวดลอ ม (Environmental) ซึ่งประกอบดวย ภัยรอน ภัยแลง หมอกควัน ฝุนละอองขนาดเล็ก และไฟไหมบอขยะ ซ่ึงสงผลกระทบ ตอ สขุ ภาพของประชาชน นอกจากน้ี กรมอนามยั ยงั มบี ทบาทในการมสี ว นรว มดาํ เนนิ การรว มกบั หนว ยงานอนื่ ๆ ในระดับกระทรวง เพื่อสนับสนุนงานดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉิน ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ ประเภทอน่ื ๆ เชน ภยั จากโรคระบาดในมนษุ ย ภยั จากสารเคมี อทุ กภยั อกี ดว ย คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 5 ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

2. กลไกการตอบโตส้ าธารณภัยและภยั สุขภาพของกรมอนามัย ในการดําเนนิ การเพอื่ รบั มอื กบั สถานการณส าธารณภยั และภยั สขุ ภาพทเ่ี กดิ ขนึ้ กรมอนามยั มบี ทบาท สําคญั ตอ การจดั การดา นสขุ าภบิ าล สง เสรมิ สขุ อนามยั และอนามยั สงิ่ แวดลอ ม เพอื่ ปอ งกนั และลดความเสย่ี ง สุขภาพของประชาชนท่ีไดรับผลกระทบ ภายใตการบริหารจัดการผานคณะทาํ งานศูนยปฏิบัติการสงเสริม สุขภาพและอนามยั สง่ิ แวดลอ ม (Health Promotion and Environmental Health Operation Center : HPEHOC) ท่ีประกอบดว ยกลอ งภารกิจสาํ คัญ ดังน้ี 1. ผบู ัญชาการเหตุการณ (Incident Command) 2. กลมุ ภารกจิ ตระหนกั รสู ถานการณ (Situation Awareness Team) 3. กลุมภารกิจประมวลสถานการณ ยทุ ธศาสตร กฎหมาย และวิชาการ (STAG and Intelligent Team) 4. กลุม ภารกิจปฏบิ ัติการ (Operation Team) 5. กลุมภารกิจดานความรอบรู ส่ือสารความเสี่ยง และประชาสัมพันธ (Health Literacy and Public Information Team) 6. กลุม ภารกิจการเงินและการบรหิ ารจัดการ (Finance and Administration Team) 7. กลมุ ภารกิจจัดสง กําลงั บาํ รงุ (Logistics and Stockpiling Team) 8. กลมุ ภารกิจประสานงานและเลขานกุ าร (Liaison Team) ผบู้ ัญชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command) สนบั สนนุ วิชาการ องคค์ วามรู้ และเชงิ การลงพ้ื นที่ปฏบิ ตั กิ าร กลุ่มภารกจิ ประสานงาน กลมุ่ ภารกิจตระหนักร้สู ถานการณ์ กล่มุ ภารกจิ ประมวลสถานการณ์ กลมุ่ ภารกจิ ปฏิบัตกิ าร และเลขานกุ าร (Situation Awareness Team) ยทุ ธศาสตร์ กฎหมาย และวิชาการ (Operation Team) (STAG and Intelligent Team) (Liaison Team) กลมุ่ ภารกจิ การเงนิ และการบรหิ ารจดั การ กลมุ่ ภารกจิ ด้านความรอบรู้ ส่อื สารความเสย่ี ง กลมุ่ ภารกิจจดั ส่งกาํ ลังบํารงุ (Finance and Administration Team) และประชาสมั พันธ์ (Health Literacy and (Logistics and Stockpiling Team) Public Infomation Team) รปู ที่ 5 โครงสรา งศูนยปฏบิ ตั กิ ารสงเสรมิ สุขภาพและอนามยั สิง่ แวดลอม (HPEHOC) กรมอนามยั 6 คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ัติการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

เม่ือเกดิ เหตภุ าวะฉกุ เฉนิ หรือสาธารณภยั ข้นึ ทีมกลมุ ภารกจิ ตาง ๆ จะประสานงานและดาํ เนนิ งาน รว มกนั โดยมผี ูบญั ชาการเหตกุ ารณ (Incident Command) เปน ผสู ่ังการ มบี ทบาทสําคัญในการสนับสนนุ วชิ าการ องคค วามรู วสั ดุ อปุ กรณ และสงิ่ สนบั สนนุ ตา ง ๆ รวมถงึ การลงพน้ื ทปี่ ฏบิ ตั กิ าร เพอื่ ตอบโตส ถานการณ โดยกรมอนามัยมีทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) ของกรมท่ีเรียกวา ทีมปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภยั ดา นอนามยั ส่ิงแวดลอ ม (Special Environmental Health Response Team : SEhRT) ปฏบิ ตั หิ นา ทใี่ นการสอื่ สาร สรา งการรบั รใู หก บั ประชาชนในการดแู ลและปอ งกนั ตนเอง ลดความเสยี่ งสขุ ภาพ จากกรณสี าธารณภัย โดยมีองคประกอบเปน เจาหนาท่ที ้งั สวนกลางและสวนภมู ิภาคทํางานรว มกนั 3. บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของทมี ภารกิจปฏิบัติการ (Operation) ด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย เมอ่ื เกดิ เหตภุ าวะฉกุ เฉนิ หรอื สาธารณภยั ทมี ภารกจิ ทม่ี บี ทบาทสําคญั ในการเขา ชว ยเหลอื ประชาชน ท่ีประสบภัยในระดับพ้ืนท่ี คือ ทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) ซึ่งมีหนาท่ีลงปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ี ทง้ั ดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มและการสง เสรมิ สขุ ภาพ โดยเนน การจดั การดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั สง่ิ แวดลอ ม รวมทง้ั การสอ่ื สารสรา งการรบั รดู า นสขุ ภาพ การปฏบิ ตั ติ นของประชาชนเพอื่ ลดความเสย่ี งสขุ ภาพ จากกรณีประสบสาธารณภยั ภยั พบิ ัติ และภยั สขุ ภาพในพื้นท่ี โดยดาํ เนนิ การ ดังนี้ 3.1 ติดตามขอมูลสถานการณจากทีมภารกิจตระหนักรูสถานการณ (Situation Awareness Team : SAT) และประเมนิ ความเสย่ี งเบอ้ื งตน พรอ มท้งั รบั ภารกจิ กลยทุ ธ แนวทาง มาตรฐาน มาตรการ ทางวชิ าการ มาตรการทางกฎหมาย ตลอดจนแนวปฏบิ ตั ริ องรบั กรณเี กดิ สาธารณภยั ภยั พบิ ตั ิ หรอื ภยั สขุ ภาพ จากทมี ภารกจิ ประมวลสถานการณ ยทุ ธศาสตร กฎหมาย และวชิ าการ (STAG and Intelligent Unit Team) โดยทําความเขาใจสถานการณ กรอบการดําเนนิ งานท่กี าํ หนด เตรียมเครอื่ งมอื วัสดุ และอปุ กรณท ่เี กยี่ วขอ ง พรอ มชีแ้ จงขั้นตอน บทบาท และภารกิจใหท ีม Operation ท่จี ะตอ งลงปฏิบัตงิ านในพืน้ ที่เกดิ เหตใุ หทราบ โดยเทา เทียมกนั 3.2 ลงปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อสาํ รวจขอมูลผลกระทบทางสุขภาพประชาชนท่ีไดรับผลกระทบ กรณีมกี ารอพยพประชาชนไปยงั ศนู ยพักพงิ ชั่วคราว ใหสํารวจและสนับสนุนขอมลู วชิ าการทใ่ี ชใ นการจดั การ ดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั สงิ่ แวดลอ ม ไดแ ก การจดั การดา นสขุ าภบิ าลอาหาร การควบคมุ คณุ ภาพ นํา้ อุปโภคบริโภค การจัดการสวมและสิ่งปฏิกูล การจัดการน้ําท้ิง น้าํ เสีย การจัดระบบจัดการมูลฝอย การสงเสริมใหมีการเฝาระวังดานสุขภาพและความเส่ียงดานสิ่งแวดลอม โดยตองประสานความรวมมือกับ เจา ของพ้นื ทีท่ รี่ ับผดิ ชอบ ไดแ ก สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั องคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหร วมดําเนินการ รวมกนั อยางเปน ระบบ 3.3 การสอ่ื สารสรา งการรบั รดู า นสขุ ภาพ และการจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ ม การสอ่ื สารความเสย่ี ง โดยการใชส่ือรูปแบบตาง ๆ ตลอดจนแพลตฟอรมของกรมอนามัย เพื่อใหเกิดการรับรู ตระหนัก เขาใจ และสามารถใชเปน แนวปฏิบตั ิในการลดความเสีย่ งสขุ ภาพประชาชน คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 7 ของทีมภารกจิ ปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

3บทท่ี มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารด้านอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม และส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริม สุขภาพ รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เปนแนวทางสาํ หรับเจาหนาท่ีทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค ที่ปฏบิ ตั งิ านดา นการจัดการสุขาภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั สิง่ แวดลอม รวมทง้ั การสงเสริมสุขภาพภายใต สถานการณส าธารณภยั โดยกระบวนการปฏบิ ตั งิ านเรม่ิ ตั้งแต การเตรยี มการกอ นเกิดภยั ระยะเกดิ ภัย และ ระยะการฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั เพอื่ ประชาชนสามารถกลบั มาใชช วี ติ ไดอ ยา งปลอดภยั โดยมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ประกอบดวย 1. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (SOP) รองรบั ภยั จากโรคระบาด โรคอบุ ตั ิใหม โรคอุบตั ิซํ้า 2. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (SOP) รองรับภยั แลง 3. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (SOP) รองรับภัยจากความรอ น 4. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (SOP) รองรับภยั จากฝนุ ละอองและหมอกควนั 5. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (SOP) รองรบั ภัยจากสารเคมี 6. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (SOP) รองรบั ภัยจากไฟไหมบ อขยะ 7. มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) รองรับภัยอุทกภยั 8 คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

ช่อื กระบวนงาน ประเภท การจดั การอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภยั จากโรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม มาตรฐานการปฏิบัติงาน รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ โรคอบุ ตั ซิ ้ํา สาํ หรับทีม Operation ดา นอนามยั สิ่งแวดลอ ม ผจู ัดทํา วันทเี่ รมิ่ ใช 15 ก.พ. 2566 และสงเสริมสุขภาพ สํานกั สุขาภิบาลอาหารและนํ้า จํานวน 9 หนา ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถงึ เหตุการณท่ีกอใหเกิดโรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซงึ่ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททก่ี อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยมีลักษณะทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปน เหตกุ ารณทผี่ ดิ ปกตหิ รือไมเ คยพบมากอน มโี อกาสทจ่ี ะแพรไ ปสูพ้นื ทอ่ี ืน่ และตอ งจํากดั การเคล่อื นทข่ี อง ผคู นหรอื สนิ คา ตวั อยา งภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ เชน อทุ กภยั ดนิ โคลนถลม สนึ ามิ หมอกควนั ฝนุ ละออง ขนาดเลก็ ภยั จากสารเคมีและกมั มันตรงั สี เปน ตน โรคระบาด คือ โรคติดตอหรือโรคท่ียังไมทราบสาเหตุของการเกิดโรคแนชัด ซึ่งอาจแพรไปสูผูอ่ืน ไดอยางรวดเร็วและกวา งขวาง หรือมีภาวะของการเกดิ โรคมากผิดปกติกวาท่ีเคยเปนมา โรคอุบัติใหม คือ โรคติดตอชนิดใหมที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอนและตองใชเวลาในการวิจัยโรคใหม เพือ่ หาวิธีการรกั ษา เปนโรคติดตอ ท่ีเกดิ จากเช้ือใหม (New infectious disease) โรคติดตอทพ่ี บในพ้ืนที่ใหม (New geographical areas) โดยโรคอบุ ตั ใิ หมน นั้ สามารถเกดิ ขน้ึ ไดจ ากหลายปจ จยั ดว ยกนั ทงั้ การเปลย่ี นแปลง ดานประชากร การเปล่ียนแปลงของเชื้อโรค การใชยาท่ีไมถูกตองจนทําใหเกิดการด้ือตอยาปฏิชีวนะ ความกา วหนา ของเทคโนโลยี การเปลย่ี นแปลงดา นวถิ ชี วี ติ และพฤตกิ รรมของมนษุ ย รวมถงึ การรบกวนธรรมชาติ ซ่ึงปจจัยเหลาน้ีทําใหโรคแพรกระจายไดอยางรวดเร็ว และยังเปนตัวเรงใหเกิดโรคติดตออุบัติใหมข้ึนมา อยางมากมาย ซึ่งในชวงท่ีผานมานั้นท่ัวโลกและประเทศไทยประสบกับโรคอุบัติใหมหลายตอหลายคร้ัง ทั้งโรคซารส ไขห วดั นก ไขหวัดใหญ ไวรัสอีโบลา ไวรสั ซกิ า และโควดิ 19 เปนตน โรคอุบตั ิซา้ํ คือ โรคทป่ี รากฏข้นึ มาใหมห ลังจากทค่ี วามชุกของโรคนอยลงไปแลว หรอื โรคท่ีมีอยแู ลว และสามารถควบคุมดว ยยาปฏิชีวนะได แตตอ มามกี ารดือ้ ยาปฏชิ วี นะ เชน วณั โรค เปนตน ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านดา นการสง เสรมิ สขุ ภาพและการจดั การสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั สง่ิ แวดลอม ไดอ ยางเปนระบบ มรี ปู แบบชัดเจนเปน ไปในทศิ ทางเดียวกัน จึงกาํ หนดใหม ีมาตรฐานการจัดการ อนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ (Standard Operating Procedure : SOP) สาํ หรับเจาหนาท่ีใชเปนแนวทางในการปฏิบัติการในชวงเกิดโรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้าํ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตอไป คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 9 ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

1. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สําหรบั กรณภี ยั พบิ ตั จิ ากโรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอบุ ตั ซิ า้ํ สามารถลดความเสยี่ งและผลกระทบตอ สขุ ภาพ ประชาชนท่ปี ระสบภยั 2. ขอบเขต เปนกรอบการดําเนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม รวมทั้ง การสง เสรมิ สขุ ภาพภายใตส ถานการณก ารเกดิ โรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอบุ ตั ซิ า้ํ เพอ่ื ใหเ จา หนา ทที่ มี่ ภี ารกจิ การดาํ เนนิ งานดานอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสงเสริมสุขภาพ สามารถใชเ ปนแนวทางในการเตรียมความพรอม รับมือกับภัยจากการเกิดโรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซา้ํ โดยกระบวนการปฏิบัติงานเริ่มต้ังแต การเตรียมการกอนเกิดภัย ระหวางเกิดภัย และการฟนฟูหลังเกิดภัย เพื่อประชาชนสามารถกลับมาใชชีวิต ไดอยางปลอดภัยลดความเสย่ี งทางสขุ ภาพ 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ ทมี ภารกจิ ปฏบิ ัตกิ าร (Operation) ดา นอนามยั ส่ิงแวดลอมและสง เสริมสขุ ภาพ กรมอนามัย 4. เอกสารอา้ งอิง 1. สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทยและสาธารณสุข, 2564. 2. กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . แผนการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ.2558. ม.ป.ท, 2558. 3. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. คูมือแนวทางปฏิบัติงานทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) สําหรับ การเผชญิ เหตุและฟน ฟูดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ ตอ โรคและภัยพิบัต,ิ 2565. 4. สาํ นักอนามยั สง่ิ แวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คมู อื การจดั การอนามัยสง่ิ แวดลอม และสงเสรมิ สุขภาพสาํ หรบั ศนู ยพ กั พงิ ชั่วคราว, 2565. 5. สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ SEhRT book สําหรับ ทีมปฏิบตั กิ ารดานอนามัยสงิ่ แวดลอ ม, 2565. 6. World Health Organization. International Health Regulation: IHR. 2005. 7. World Health Organization. Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030. 8. สํานกั ตดิ ตอ อุบตั ใิ หม กรบควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนยทุ ธศาสตรเ ตรียมความพรอม ปองกนั และแกไขปญหาโรคตดิ ตออุบตั ใิ หมแ หง ชาติ (พ.ศ. 2560-2564), 2559. 9. Pandemic Endemic Epidemic และ Outbreak ระบาดยังไง? ตางกันยังไงนะ? [ออนไลน] . 2020, แหลงท่ีมา https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue038/vocab-rama [15 พฤศจิกายน 2565] 10 คู่มือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

5. แผนผังแนวทางการทํางานรับมือภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข : ภยั จากโรคระบาด โรคอุบตั ใิ หม่ โรคอบุ ัตซิ ํ้า มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชีว้ ัด คุณภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรยี มการกอนเกิดภยั จากโรคระบาด โรคอุบตั ิใหม โรคอุบัตซิ ํ้า 1 3 วัน - มีความรูทางดานอนามัย มคี ําสงั่ แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศนู ยอนามยั สงิ่ แวดลอ ม/สง เสรมิ สขุ ภาพ/ หรือหนังสือมอบหมาย - หนวยงาน กําหนดผรู ับผิดชอบ การควบคุมโรค หรือมี ผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง ประสบการณใ นการทาํ งาน ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน กรมอนามัย ที่เกยี่ วขอ ง และคณะทาํ งาน - กําหนดบทบาทหนาที่ของ ผรู บั ผดิ ชอบและคณะทาํ งาน 2 3 วนั เจาหนาที่ผานกระบวนการ หลักฐานการประชุมเชิง - ศนู ยอนามยั เรียนรู หรือประชุมเชิง ปฏิบัติการ การเรียนรู - หนว ยงาน ปฏิบัติการ หรือฝกอบรม วิชาการ หรือการเขารับ สว นกลาง เสริมทักษะและศกั ยภาพ หลักสูตรที่เกี่ยวของกับ การอบรมของเจา หนา ทใี่ น กรมอนามัย เจา หนาท่ีดานอนามัย การจัดการการสุขาภิบาล หนว ยงาน อาจเปน อบรม สง่ิ แวดลอ ม และสง เสรมิ สขุ ภาพ สขุ อนามยั อนามยั สง่ิ แวดลอ ม แบบ Onsite หรอื Online รบั มอื กรณเี กดิ โรคระบาด ร อ ง รั บ ก ร ณี โ ร ค ร ะ บ า ด โรคอบุ ัติใหม โรคอบุ ัตซิ าํ้ โรคอบุ ตั ใิ หมโรคอบุ ตั ซิ า้ํ หรอื ประเดน็ ทเ่ี กยี่ วขอ งอยา งนอ ย ปล ะ 1 ครงั้ 3 รวมจัดทําฐานขอ มูล ปล ะ - ประสานงานกบั หนว ยงาน ฐานขอ มลู กลมุ เปราะบาง - ศูนยอนามัย กลุม เปราะบาง และ Setting 1 ครั้ง ท่ีเกี่ยวของ เชน กรม และพ้ืนที่เส่ียง รวมทั้ง - หนวยงาน ควบคมุ โรค กรมการปกครอง ทาํ เนียบผเู ชี่ยวชาญ และ สว นกลาง ตาง ๆ เชน ตลาด ชุมชน กรมสงเสริมการปกครอง ภาคเี ครือขาย กรมอนามัย สถานประกอบการ สถานศกึ ษา สว นทอ งถน่ิ กทม.กระทรวง ศาสนสถาน กจิ กรรมการรวมกลมุ ศึกษาธิการ กรมโรงงาน แคมปก อ สรา ง ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ อุตสาหกรรม สถานดูแลผสู งู อายุ รวมถึงจัดทาํ - ระเบียนหรือทาํ เนียบ ผเูชยี่ วชาญและภาคเี ครอื ขา ย ทาํ เนยี บผเู ช่ียวชาญ พรอ มชอ งทางการตดิ ตอ และภาคีเครือขา ย 4 ปล ะ รว มสํารวจคลงั วสั ดุ อปุ กรณ มขี อ มลู คลงั วสั ดุ อปุ กรณ - ศนู ยอ นามัย 1 ครั้ง ชุดตรวจวิเคราะหอยางงาย ชดุ ตรวจวเิ คราะหอ ยา งงา ย - หนว ยงาน รองรับกรณีเกิดโรคระบาด อุปกรณสนับสนุนดาน สวนกลาง รว มสาํ รวจและจัดเตรยี ม โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอบุ ตั ซิ ้าํ เชน สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ กรมอนามยั วัสดอุ ุปกรณ ชุด PPE หนากากอนามัย อ น า มั ย ส่ิ ง แ ว ด ล อ ม ชุดทดสอบภาคสนามดาน พรอ มมแี ผนเตรยี มพรอ ม เพ่อื สนับสนนุ การดําเนินงาน อนามัยส่ิงแวดลอม ถุงขยะ จดั ซอื้ เพมิ่ เตมิ หรอื แผนรบั ติดเช้ือ และจัดซื้อเพิ่มเติม การสนับสนนุ หรอื ประสานขอรบั สนบั สนนุ จากหนว ยงานอน่ื ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 11 ของทมี ภารกิจปฏบิ ตั ิการด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชีว้ ัด คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 5 รวมจัดทาํ แผนเตรียมพรอม การปฏบิ ตั งิ าน แผนเผชิญเหตุ หรอื แผนปฏิบตั ิ การรองรบั ภาวะฉุกเฉินและ 3 วนั มกี ารจดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ ม แผนปฏบิ ตั กิ ารทเี่ กย่ี วกบั - ศูนยอ นามยั แผนเผชญิ เหตุ หรอื กจิ กรรม การจดั การดา นสขุ าภบิ าล - หนว ยงาน ภัยพิบัติตาง ๆ ดาํ เนนิ การรว มกนั ในหนว ยงาน สุขอนามัย และอนามัย สว นกลาง พรอมกาํ หนดบทบาทความ สง่ิ แวดลอ มรองรบั อทุ กภยั กรมอนามยั รับผิดชอบ หรือเปน ภาพรวม 6 1 วนั จัดกระบวนการซอมแผน มหี ลกั ฐานกจิ กรรมการซอ ม - ศูนยอ นามยั ซอมแผนรองรับสถานการณ ไดอ ยา งครบกระบวนการและ แผนรองรับกรณีเกิดโรค - หนว ยงาน โรคระบาด โรคอบุ ตั ิใหม พิจารณารูปแบบการซอม ตามความเหมาะสม สว นกลาง โรคอบุ ตั ิซ้ํา แผนฯใหเ หมาะสมอยา งนอ ย กรมอนามยั ปละ 1 คร้ัง ระยะเกิดภยั จากโรคระบาด โรคอุบตั ิใหม โรคอุบตั ซิ าํ้ 7 ทุกวนั ติดตาม และรวบรวมขอมูล มีขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับ - ทีม SAT จากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ การระบาดของโรค พ้นื ที่ - ศนู ยอนามัย เชน กรมควบคุมโรค กรม การระบาดสถานประกอบ - หนวยงาน ประสานงานและติดตาม การปกครอง กรมสงเสริม การเสี่ยง พ้ืนที่จัดตั้ง สวนกลาง ขอ มูลสถานการณ การปกครองสวนทองถิ่น ศนู ยกกั กนั เปนตน กรมอนามยั กทม. กระทรวงศึกษาธิการ จากหนวยงานทเ่ี กี่ยวของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศบค. และ SAT กรมอนามยั 8 ประสาน Logistic เพอ่ื จดั เตรยี ม 1 วัน ประสานทีม Logistic เพื่อ มีวสั ดุ อุปกรณ เครอื่ งมอื - ทีม Logistic วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ PPEชดุ ทดสอบใหส ามารถ - ศนู ยอนามยั และชุดทดสอบ เคร่ืองมอื PPE ชดุ ทดสอบที่ พรอ มใชง าน - หนวยงาน ใชในการลงพ้ืนที่ใหสามารถ สวนกลาง เพอ่ื ประกอบการปฏบิ ตั งิ าน พรอมใชง าน กรมอนามัย 9 สนบั สนุนการดาํ เนนิ งาน ตลอดชวง กฎหมาย คาํ แนะนาํ คูมือ มาตรการดา นสขุ ลกั ษณะ - ศูนยอ นามัย ดานสุขาภิบาล สุขอนามัย การเกิดเหตุ วิชาการ แบบตรวจประเมนิ แ ล ะ ก า ร ป อ ง กั น โร ค - หนวยงาน และอนามัยส่ิงแวดลอ ม มาตรการเกย่ี วกบั สขุ ลกั ษณะ ใหปฏิบัติตามกฎหมาย สวนกลาง และการปอ งกนั โรคทเี่ กย่ี วขอ ง คําแนะนํา และคูมือ กรมอนามยั วิชาการทเ่ี กยี่ วขอ ง ***รายละเอยี ดหนาถดั ไป 12 คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

สนบั สนนุ การดําเนนิ งานดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามัย และอนามยั สง่ิ แวดลอ ม ชมุ ชน/ ครวั เรือน/ CI/ สถานประกอบการ โรงพยาบาลสนาม แคมปคนงาน กิจกรรมรวมกลุม ศูนยพฒั นาเด็กเลก็ / เฝาระวงั ตรวจวัด เตรยี มระบบบรหิ าร สอื่ สารและสรา ง เตรียมระบบบรหิ าร สถานดูแลผสู ูงอายุ คุณภาพอากาศ จัดการโรงพยาบาล ความรอบรใู นการดแู ล จัดการ ใหค ําปรกึ ษา ส่อื สารและสราง ประเมินการจัดการ สนาม ใหคาํ ปรกึ ษา สุขภาพและอนามยั ความรอบรใู นการดแู ล อนามัยส่งิ แวดลอม เฝา ระวังตรวจวดั สิ่งแวดลอม เชน ดา นสุขาภิบาล สขุ ภาพและอนามยั เชน สว ม ส่ิงปฏิกูล คณุ ภาพ ประเมินการ การจัดการทพ่ี กั อาศยั อนามยั สงิ่ แวดลอม สิง่ แวดลอ ม รวมถึง ขยะ นํ้าทิง้ ระบบ ขยะ นา้ํ เสยี เฝาระวัง การจดั การขยะและ จัดการอนามยั และตรวจประเมนิ และสขุ อนามัย สง่ิ ปฏกิ ูล รวมทงั้ บําบดั น้าํ เสยี สิ่งแวดลอ ม เชน สวม คณุ ภาพนาํ้ ทพ่ี กั อาศยั ลงสุมประเมนิ ใน สง เสรมิ พฤติกรรม เฝาระวังคุณภาพ สงิ่ ปฏกิ ลู ขยะ นํ้าเสยี ในแคมปค นงาน รวมถงึ อนามยั สว นบุคคล อาหารและน้ําบริโภค ระบบบาํ บัดนาํ้ เสีย สนับสนนุ สง่ิ ของและ การเฝาระวงั รวมถึงพฤตกิ รรม วสั ดุอปุ กรณท่ีจาํ เปน การปฏิบัติการ นอกจากน้ี สุขอนามยั ของ เฝา ระวังคุณภาพ ตามมาตรการ ตองสนับสนุนสงิ่ ของ ผูประกอบการและ อาหารและนา้ํ บรโิ ภค ปอ งกันโรค และวัสดุอุปกรณ พนกั งาน และประเมนิ การปฏบิ ตั ติ ามที่ รวมถึงพฤตกิ รรม ทจ่ี าํ เปน กฎหมายกําหนด สุขอนามัย นอกจากนี้ ตอ งสนบั สนุนสิ่งของ และวสั ดุอุปกรณ ที่จาํ เปน มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชี้วดั คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 10 ส่ือสารและสรางความรอบรู การปฏบิ ตั งิ าน ในการดแู ลสขุ ภาพ พฤติกรรม อนามยั และอนามัยส่งิ แวดลอ ม ตลอดชว ง สอ่ื สารและสรา งความรอบรู สื่อประชาสัมพันธ สื่อ - ทีม HL สาํ หรับเจาหนาท่แี ละประชาชน การเกดิ เหตุ ดว ยเนอื้ หาภาษาและชอ งทาง ความรูในรูปแบบตาง ๆ - ศูนยอ นามยั ทเี่ หมาะสมกบั กลมุ เปา หมาย ตามกลมุ เปา หมาย - หนวยงาน สวนกลาง กรมอนามยั 11 สรปุ และรายงานผล ข้นึ กับ รวบรวม วิเคราะห และ รายงานผลการดําเนนิ งาน - ศูนยอนามัย การดําเนินงาน ความถใ่ี น สรปุ ผลพรอ มขอ เสนอตอ การ - หนวยงาน การประชุม ดาํ เนินงาน สว นกลาง เสนอผูบรหิ ารพจิ ารณา EOC กรมอนามัย และรายงานใน EOC คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 13 ของทีมภารกจิ ปฏิบัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชี้วดั คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะฟน ฟหู ลังเกดิ ภัยจากโรคระบาด โรคอุบัตใิ หม โรคอุบัติซา้ํ 12 ขึ้นกับ - รว มตดิ ตามขอ มลู สถานการณ เฝาระวังสถานการณ - ทมี SAT สถานการณ การเกดิ โรคกบั ทมี SATจาก การเกดิ โรค - ศูนยอ นามัย โรค ชองทางหรือแหลงขอมูล - หนว ยงาน ปละ 1คร้งั ขา วสาร ทมี่ คี วามนา เชอ่ื ถอื สว นกลาง รวมเฝาระวังและตดิ ตาม เชน กรมควบคมุ โรคเปน ตน กรมอนามยั สถานการณอยางตอเน่ือง - สรุปรายงานการเฝาระวัง สถานการณ 13 ขึน้ กบั ร ว บ ร ว ม อ ง ค ค ว า ม รู รายงานการถอดบทเรยี น - ศูนยอนามยั สถานการณ นวัตกรรม เทคโนโลยีใหม การดาํ เนินงาน และ - หนวยงาน ถอดบทเรยี นการดาํ เนินงาน โรค และการศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ พฒั นา เผยแพรตอหนวยงาน สว นกลาง ปละ 1ครงั้ ตอยอดรองรบั ภัยในอนาคต ท่เี กีย่ วของ กรมอนามยั 6. รายละเอยี ดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ระยะเตรยี มการกอ่ นเกิดภัยจากโรคระบาด โรคอบุ ัติใหม่ โรคอุบตั ซิ าํ้ 6.1 กาํ หนดผูรับผิดชอบ การกาํ หนดเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายผูมีความรู ทางดา นสาธารณสขุ หรอื การสขุ าภบิ าล หรอื อนามยั สง่ิ แวดลอ ม หรอื การสง เสรมิ สขุ ภาพ หรอื การควบคมุ โรค หรือผูท่ีมีประสบการณในการดําเนินการกรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ ที่หนวยงานเห็นชอบ ใหดําเนินงาน โดยอาจจัดตั้งในรูปแบบคณะทาํ งานหรือบุคคลผูไดรับมอบหมาย เพ่ือกําหนดบทบาทหนาที่ ทไ่ี ดร บั มอบหมายใหช ดั เจนไมว า จะเปน การเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณ การจดั เตรยี มและสนบั สนนุ วสั ดุ อุปกรณ งบประมาณ และเจาหนาท่ีปฏิบัติการสําหรับสนับสนุนการดาํ เนินงานดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิง่ แวดลอ ม รวมถึงการสนบั สนนุ องคค วามรูว ิชาการทีเ่ ก่ียวของ เปนตน 6.2 เสริมทักษะและศักยภาพเจาหนาที่ดานอนามัยส่ิงแวดลอม และสงเสริมสุขภาพรับมือ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข เจา หนาทีผ่ รู บั ผิดชอบทไ่ี ดรับมอบหมายจาํ เปน ตอ งไดร บั การเสริมสรางทกั ษะ และศักยภาพดานการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม เชน การจัดการขยะ การจัดการสวม สิ่งปฏิกูล การสุขาภิบาลอาหารและนาํ้ บริโภค เปนตน ในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตามบทบาทภารกิจ ทไี่ ดร บั มอบหมายอยา งสมาํ่ เสมอ เพอ่ื เปน การเตรยี มความพรอ มรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ไิ ดอ ยา งทนั ทว งที และมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ อาจเปน การจดั การอบรมในหนว ยงาน หรอื เขา รว มรบั การอบรมจากหนว ยงานภายนอก หรอื การเรียนรผู า นหลกั สตู รที่เกยี่ วขอ งในระบบออนไลน อยา งนอ ยปล ะ 1 คร้งั โดยตอ งมหี ลกั ฐานประกอบ การอบรม เชน รปู ภาพ สรปุ ผล หรอื One page แสดงการเขา รบั การอบรม/ การฝก ปฏบิ ตั ิ หรอื ใบประกาศนยี บตั ร หรือใบผา นการอบรม 14 ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

6.3 รว มจดั ทาํ ฐานขอ มลู กลมุ เปราะบาง และ setting ตา ง ๆ เชน ตลาด ชมุ ชน สถานประกอบการ สถานศึกษา ศาสนสถาน กิจกรรมการรวมกลุม แคมปคนงาน ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก สถานดูแลผูสูงอายุ เปนตน รวมถึงจัดทําทาํ เนียบผูเช่ียวชาญ และภาคีเครือขาย เจาหนาที่ผูรับผิดชอบท่ีไดรับมอบหมาย รว มสํารวจและรวบรวมขอ มลู กบั ทมี ตระหนกั รสู ถานการณภ าวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ (SAT) เพอ่ื จดั ทาํ ฐาน ขอมูลกลุมเปราะบางและพื้นท่ีเสี่ยง เชน จาํ นวนประชาชนกลุมเส่ียง กลุมเปราะบาง พ้ืนท่ีเสี่ยงในพ้ืนที่ รบั ผดิ ชอบ พนื้ ทเ่ี สยี่ งทท่ี อ่ี าจไดร บั ผลกระทบ สถานทตี่ ง้ั พน้ื ทเี่ สย่ี งตา ง ๆ เปน ตน รวมถงึ จดั ทําทําเนยี บรายชอื่ ผูเชยี่ วชาญ และภาคีเครอื ขา ย เพ่อื เตรียมพรอมใหก ารชว ยเหลอื หากเกิดเหตุ 6.4 รว มสาํ รวจและจดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณเ พอื่ ใชส นบั สนนุ การดาํ เนนิ งาน เจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารหรอื ผรู บั ผดิ ชอบทไ่ี ดร บั มอบหมาย พรอ มดว ยทมี Logistic ควรสาํ รวจและตรวจสอบขอ มลู การจดั เกบ็ หรอื ขอ มลู คลังสิ่งของ อุปกรณ ชุดตรวจวิเคราะหอยางงาย อุปกรณสนับสนุนดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัย สง่ิ แวดลอ มในคลงั พสั ดขุ องหนว ยงานทส่ี ามารถนาํ ไปใชเ พอ่ื การสนบั สนนุ กรณกี ารเกดิ โรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอุบัติซาํ้ ประกอบดวย ชุด PPE หนากากอนามัย ชุดทดสอบภาคสนามดานอนามัยสิ่งแวดลอม ถุงขยะ ติดเชื้อ เปนตน โดยตองหม่ันตรวจสอบ วิเคราะหความตองการ ความเพียงพอ ความจําเปนในการใชงาน อายกุ ารใชงาน เพื่อเตรียมความพรอมอยูเสมอ รวมถึงจัดทาํ แผนเตรยี มพรอมจัดซือ้ เพม่ิ เติม หรือแผนขอรับ การสนับสนนุ จากหนวยงานอน่ื 6.5 จดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ ม แผนเผชญิ เหตุ หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตา ง ๆ ตามบทบาทหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ในการเตรยี มความพรอ มรองรบั ภาวะฉุกเฉินและภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ หนว ยงานตอ งมกี ารจดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ ม แผนเผชญิ เหตุ หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตา ง ๆ ตามบรบิ ทพนื้ ท่ี หรอื อาจจดั ทาํ เปน แบบแผนรวมทกุ ประเภทภยั กไ็ ดข นึ้ กบั หนว ยงาน โดยแผนดงั กลา ว ตองกําหนดวิธีการปฏิบัติงาน กระบวนการ ข้ันตอนการทาํ งานของหนวยงาน ซึ่งจะตองครอบคลุม การปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ชว งกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั ครอบคลมุ ดา นการบรหิ ารจดั การ กําลังคน งบประมาณ ส่งิ ของและวัสดุ อปุ กรณตา ง ๆ รวมถึงการประสานงาน การบรู ณาการการทํางานรวม กันตามบทบาทภารกิจของแตละทีมที่ชัดเจน โดยแผนดังกลาวหนวยงานสามารถทบทวนปรับปรุงเปนระยะ เพื่อจัดการแกไขลดปญหาหรืออุปสรรค และปดชองวางในขณะปฏิบัติงาน รวมถึงหลีกเลี่ยงความซา้ํ ซอน และขอจาํ กัดในการปฏิบัติหนา ท่ี เพ่ือตอบโตสถานการณใหพ ื้นทแี่ ละประชาชนไดรบั ผลกระทบนอยทสี่ ดุ 6.6 ซอมแผนรองรับสถานการณโรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซา้ํ การเตรียมความพรอม ในการปอ งกนั และลดความสญู เสยี ทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ จากภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ โดยกาํ หนดใหม กี ารฝก ซอ ม แผนตอบโตรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ หรือฝกซอมตามแผนรวมกับหนวยงานสาธารณสุขจังหวัด หรือหนวยงานอื่น เพื่อใหเจาหนาที่ท่ีเก่ียวของ เขาใจหลักการ ข้ันตอน และวิธีการปฏิบัติ สามารถจัดการ สาธารณภยั ไดอ ยางทันทวงที โดยมขี ้ันตอน ดงั น้ี 1) การเตรยี มการ โดยแจง เวียน ประชาสัมพันธแ ผนปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั หรือ แผนตอบโตรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติท่ีนํามาใชในหนวยงาน พรอมจัดทําคําสั่งแตงต้ังคณะทํางาน หรอื ทมี งานซอ มแผนฯ โดยกาํ หนดบทบาทหนา ทใี่ นการดาํ เนนิ งานทช่ี ดั เจน และงบประมาณสาํ หรบั การฝก ซอ ม แผนฯ 2) ประชุมเตรยี มความพรอ มและชี้แจงภารกจิ ของเจา หนา ทีท่ ี่ไดรบั มอบหมายตามแผนฯ ทก่ี ําหนดเพอ่ื ใหท ราบบทบาทของตนเอง และกลไกการปฏบิ ตั ิงานในขณะเกดิ ภาวะฉุกเฉินและภัยพบิ ัติ คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 15 ของทมี ภารกิจปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

3) ฝก ซอ มขน้ั ตน เปน การทดลองซอ มวางแผน อาํ นวยการ ควบคมุ สงั่ การและประสานงาน หนวยงานอนื่ ตามแผน โดยใชเ หตกุ ารณส มมุติเปน กรณีศึกษา หลังจากนน้ั จะเปน การประเมนิ ผลการทดสอบ ภาคทฤษฎเี บือ้ งตน กอ น 4) ฝก ซอ มแผนจรงิ โดยเลอื กรปู แบบการซอ มแผนตามบรบิ ท ความเหมาะสมภายใตข อ จํากดั ของทรพั ยากรบคุ คล งบประมาณ ระยะเวลา ซงึ่ รูปแบบการฝกซอ มแผนมหี ลายรปู แบบ เชน การซอมแผน บนโตะ (Tabletop Exercise) การซอมแผนเฉพาะหนาที่ (Functional Exercise) การซอมแผนเต็มรูป (Full Scale Exercise) เปน ตน 5) การบูรณาการและซอมแผนรวมกับหนวยงานอื่น โดยการเชิญหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนที่เก่ียวของรวมซอมแผนตามบทบาทหนาที่ในขณะเกิดภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เปน การสรา งความเขา ใจรว มกนั ซงึ่ ในภายหลงั การซอ มแผน สามารถจดั ทําเปน เอกสาร หรอื วดิ ที ศั นป ระกอบ การฝกซอม เพื่อผูท่ีเกี่ยวของไดรับทราบขั้นตอนการเตรียมความพรอม และการปฏิบัติทั้งกอนเกิดภัย ขณะเกดิ ภัย และหลังจากทีภ่ ยั ผา นพน ไปแลว ระยะเกดิ ภัยจากโรคระบาด โรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอุบตั ซิ ํา้ 6.7 ประสานงานและติดตามขอมูลสถานการณการเกิดโรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซา้ํ จากหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง ในการปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ พอื่ เขา ชว ยเหลอื ประชาชนทปี่ ระสบภยั จากการเกดิ โรคระบาด โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซา้ํ ทีมปฏิบัติการจําเปนตองรับขอมูลและดาํ เนินการรวมกับทีมคณะทาํ งานอ่ืน ๆ เชน ทีมตระหนักรูสถานการณภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (SAT) เพ่ือรวบรวมขอมูลจากกรมควบคุมโรค กรมการปกครอง กรมสง เสรมิ การปกครองสว นทอ งถ่นิ กรุงเทพมหานคร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) และนาํ ขอมูล มาใชส าํ หรบั ประเมินสถานการณเ บ้ืองตน เชน ขอ มลู พืน้ ท่กี ารระบาด ขอมูลจํานวนผปู วย จาํ นวนและทีต่ ง้ั โรงพยาบาลสนาม จํานวนประชาชนที่ตองการความชวยเหลือ เปนตน เพ่ือใชเปนขอมูลในการเตรียม ความพรอมวัสดุ อุปกรณ เวชภัณฑ เคร่ืองมือวิทยาศาสตรดานอนามัยส่ิงแวดลอม และวางแผน เตรียมความพรอ มลงสนบั สนนุ พื้นทเี่ กิดเหตุ 6.8 จัดเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ เคร่ืองมอื และชุดทดสอบเพ่อื ประกอบการปฏิบตั งิ าน ไดแก ชุด PPE หนากากอนามัย ถุงขยะติดเชื้อ รวมถึงเครื่องมือวิทยาศาสตรดานอนามัยสิ่งแวดลอมกรณีท่ีสถานการณ มคี วามรนุ แรงและมกี ารจดั ตงั้ โรงพยาบาลสนาม เชน เครอื่ งมอื ตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ เครอ่ื งมอื ตรวจเฝา ระวงั ดา นสุขาภบิ าลอาหารและนํา้ ใหเพยี งพอ ชุดทดสอบดานการสุขาภบิ าลเบ้อื งตน (อ.11/ อ.13/ อ.31) เปน ตน 6.9 สนับสนุนการดําเนินงานดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม โดยจัดทํา แบบตรวจประเมินตาง ๆ และจัดทาํ มาตรการเกี่ยวกับสุขลักษณะและการปองกันโรคท่ีเก่ียวของ รวมถึง คําแนะนาํ และการปฏบิ ตั ิตนในชวงทีเ่ กิดโรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอบุ ตั ิซ้าํ รายละเอียดดังน้ี • ชุมชน/ ครวั เรอื น/ CI/ ศูนยพฒั นาเด็กเลก็ / สถานดูแลผสู งู อายุ ดําเนินการส่ือสารและสรางความรอบรูในการดูแลสุขภาพและอนามัยส่ิงแวดลอม รวมถึง การจัดการขยะและส่ิงปฏิกูล รวมทั้งใหคาํ แนะนําการสงเสริมพฤติกรรมอนามัยสวนบุคคล นอกจากน้ี ตองสนับสนนุ สิง่ ของและวัสดุอุปกรณทจ่ี ําเปน 16 ค่มู ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

• สถานประกอบการ ดาํ เนินการเฝาระวังตรวจวัดประสิทธิภาพการระบายอากาศ ประเมินการจัดการอนามัย สิง่ แวดลอม เชน สว ม สงิ่ ปฏกิ ูล ขยะ น้าํ ทิ้ง ระบบบาํ บดั นํา้ เสีย และเฝาระวงั คณุ ภาพอาหารและนํ้าบรโิ ภค รวมถึงใหคําแนะนําพฤติกรรมสุขอนามัยของผูประกอบการและพนักงาน และประเมินการปฏิบัติ ตามท่กี ฎหมายกําหนด • โรงพยาบาลสนาม เตรียมระบบบริหารจดั การโรงพยาบาลสนาม ใหค าํ ปรึกษา เฝาระวงั ตรวจวัดประสทิ ธภิ าพ การระบายอากาศ ประเมนิ การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ ม เชน สว ม สงิ่ ปฏกิ ลู ขยะ นา้ํ เสยี ระบบบาํ บดั นาํ้ เสยี และเฝา ระวงั คณุ ภาพอาหารและนํ้าบรโิ ภค รวมถงึ ใหค ําแนะนาํ พฤตกิ รรมสขุ อนามยั นอกจากนี้ ตอ งสนบั สนนุ ส่ิงของและวสั ดอุ ุปกรณท จ่ี ําเปน • แคมปคนงาน ดําเนินการส่ือสารและสรางความรอบรูในการดูแลสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม เชน การจดั การท่พี ักอาศยั ขยะ นา้ํ เสยี เฝาระวงั และตรวจประเมนิ คณุ ภาพนํ้าทพ่ี ักอาศัยในแคมปคนงาน รวมถึง สนบั สนนุ สิ่งของและวัสดุอุปกรณท จี่ าํ เปน • กิจกรรมรวมกลมุ เตรียมระบบบริหารจัดการ รวมถึงใหคาํ ปรึกษาดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม และ สขุ อนามยั รวมทั้งลงสมุ ประเมินในการเฝาระวงั การปฏิบตั กิ ารตามมาตรการปองกันโรค 6.10 สอื่ สาร สรา งการรบั รูในการดแู ลสุขภาพ พฤตกิ รรมอนามัยและอนามยั สงิ่ แวดลอ ม สาํ หรบั เจา หนา ทแ่ี ละประชาชน ทมี ปฏบิ ตั กิ ารดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ทาํ การสอื่ สารความเสยี่ ง สรา งการรบั รแู ละสรา งความเขา ใจในการดแู ล ปอ งกนั ตนเองจากโรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม โรคอบุ ตั ซิ าํ้ เพอื่ สรา ง ความปลอดภยั ทางสุขภาพโดยเฉพาะกลมุ เสยี่ ง หรอื กลมุ เปราะบาง เชน ผสู งู อายุ หญิงตั้งครรภ และเด็กเล็ก โดยจัดทาํ เปนส่ือประชาสัมพันธ ส่ือความรูในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งมีเน้ือหา ภาษาเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และทาํ การประชาสัมพันธไปยงั ชองทางตา ง ๆ เชน เว็บไซต สอื่ ออนไลน สื่อโทรทศั น เปน ตน 6.11 สรุปและรายงานผลการดําเนินงานเสนอผูบริหารพิจารณาและรายงานใน EOC รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ ผลการดาํ เนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของทมี และจดั ทํารายงานเสนอผบู รหิ าร รวมทงั้ เสนอ รายละเอยี ดตอศูนยบ ญั ชาการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระยะฟ้ นื ฟูหลังเกิดภยั จากโรคระบาด โรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอุบตั ิซํา้ 6.12 รว มเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณก ารเกดิ โรคอยา งตอ เนอื่ ง ทมี ปฏบิ ตั กิ ารตอ งดาํ เนนิ การ ตดิ ตามขอ มลู สถานการณก ารเกดิ โรครว มกบั ทมี คณะทาํ งานอนื่ ๆ เชน ทมี ตระหนกั รสู ถานการณภ าวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข (SAT) จากชองทางหรือแหลงขอ มลู ขาวสารท่มี คี วามนา เชอ่ื ถือ เชน กรมควบคุมโรค เปน ตน รวมท้งั ทํารายงานสรปุ รายงานการเฝา ระวังสถานการณการเกดิ โรคอยางนอยปล ะ 1 ครงั้ 6.13 ถอดบทเรียนการดาํ เนินงาน ทีมปฏิบัติการตองดาํ เนินการรวบรวมองคความรู นวัตกรรม เทคโนโลยีใหม และการศึกษาวิจัยตาง ๆ เพ่ือพัฒนาตอยอดรองรับภัยในอนาคต รวมทั้งตองทาํ รายงาน การถอดบทเรยี นผลการดาํ เนนิ งานภาพรวมของทมี ปฏบิ ตั กิ ารตามบทบาทหนา ท่ี ทงั้ 3 ระยะ ปญ หาทพ่ี บ และ ขอ เสนอตอการดาํ เนนิ งาน และดาํ เนินการเผยแพรตอหนว ยงานท่เี ก่ียวขอ งตอ ไป คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 17 ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ช่ือกระบวนงาน ประเภท สาํ หรบั ทีม Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภยั แลง ดานอนามยั สิง่ แวดลอ ม วันทเี่ รมิ่ ใช 15 ก.พ. 2566 และสง เสรมิ สุขภาพ รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข จํานวน 8 หนา ผจู ดั ทํา สาํ นักสุขาภิบาลอาหารและน้าํ ในชวงเวลาที่ผานมาประเทศไทยประสบภัยแลงอยางตอเน่ือง จากปจจัยท่ีหลากหลาย เชน ปรมิ าณน้าํ ฝน พ้ืนทีร่ องรับฝนตก สภาพอากาศรอ นและแหงแลง ฝนไมตกตองตามฤดูกาล การเปลี่ยนแปลง ทางภูมิศาสตร และปจจัยอื่น ๆ โดยพ้ืนที่ท่ีประสบภัยแลงจะเกิดการขาดแคลนแหลงนาํ้ ดิบสาํ หรับ ผลิตนา้ํ ประปา การขาดแคลนนา้ํ บรโิ ภคอุปโภคในครัวเรือน ชุมชน รวมทั้งสง ผลกระทบตอการใหบริการของ สถานบรกิ ารทางสาธารณสุข หากทวคี วามรนุ แรงมากข้ึนจะสงผลกระทบตอสขุ ภาพของประชาชนในวงกวาง รวมท้ังมีโอกาสเสี่ยงท่ีจะเกิดการเจ็บปวยดวยโรคที่เกิดจากอาหารและนาํ้ เปนสื่อ เชน โรคอาหารเปนพิษ อจุ จาระรว ง บดิ ไทฟอยด เปน ตน ท้ังนี้ กระบวนการปฏิบตั ิงานในการตอบสนองตอภาวะฉุกเฉนิ กรณภี ยั แลง ในพน้ื ทปี่ ระสบภยั จะเปน ไปตามประกาศภาวะภยั แลง ของแตล ะจงั หวดั ภายใตก รอบการจดั ตง้ั ศนู ยอ าํ นวยการ เฉพาะกจิ ระดับจังหวัด ระดับทอ งถ่นิ กรมอนามัย ในฐานะหนวยงานที่มีบทบาทสาํ คัญในการจัดการดานสงเสริมสุขภาพและอนามัย ส่ิงแวดลอม จึงตองมกี ลไกและกลยุทธเ พื่อเตรียมการรองรบั สถานการณภ าวะภยั แลง และบูรณาการทํางาน รว มกบั ภาคเี ครอื ขา ยเพอ่ื ใหค วามรทู างสขุ ภาพ การดแู ล ปอ งกนั ความเสย่ี งการเกดิ โรคหรอื ผลกระทบทางสขุ ภาพ ของตนเองและครอบครัวกรณปี ระสบภยั แลง รวมทง้ั สนบั สนุนการจัดการสขุ าภิบาล สขุ อนามัย และอนามยั สิ่งแวดลอมอยางมีมาตรฐานมีกระบวนการปฏิบัติการเปนไปในทิศทางเดียวกัน จึงกาํ หนดใหมีมาตรฐาน การจัดการอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ (Standard Operating Procedure : SOP) สําหรับเจาหนาท่ีใชเปนแนวทางในการปฏิบัติการในชวงเกิดสถานการณภัยแลง ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพตอ ไป 1. วัตถปุ ระสงค์ 1.1 เพ่ือเตรียมความพรอมรับมือสถานการณ และปองกันผลกระทบสุขภาพของประชาชน จากภยั แลง 1.2 เพ่ือใหทีมภารกิจปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ มีแนวปฏิบัติสาํ หรับ การจัดการดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม รวมท้ังสามารถสรางกลไก การใหความรทู างสุขภาพลดความเสยี่ งสขุ ภาพประชาชนท่ีประสบภยั จากภยั แลง ได 18 คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

2. ขอบเขต เปนกรอบการดาํ เนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม รวมท้ัง การสงเสริมสุขภาพภายใตสถานการณภัยแลง เพื่อใหเจาหนาที่สามารถใชเปนแนวทางการปฏิบัติ เพื่อการเตรียมความพรอมรับมือกับเหตุการณได โดยกระบวนการปฏิบัติงานเริ่มต้ังแต การเตรียมการ กอนเกิดเหตุ ระหวางเกิดเหตุ และการฟนฟู เพื่อใหประชาชนสามารถกลับมาใชชีวิตไดอยางปลอดภัย ลดความเสี่ยงทางสขุ ภาพ ครอบคลุมประเดน็ สาํ คญั ประกอบดว ย 2.1 เฝาระวังคณุ ภาพนาํ้ บริโภคอปุ โภค และติดตามสถานการณ 2.2 เฝา ระวงั ดา นสขุ าภิบาลอาหารในสถานประกอบการดา นอาหาร 2.3 ส่อื สาร เตือนภยั 3. หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ 3.1 หนวยงานรับผิดชอบหลกั ทมี ภารกิจปฏิบตั กิ าร (Operation) ดานอนามัยส่ิงแวดลอ มและสง เสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย 3.2 หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง 1) หนว ยงานภายในกระทรวงสาธารณสขุ • กรมการแพทย • กรมควบคมุ โรค • กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ • กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ • สถาบนั การแพทยฉ ุกเฉนิ แหงชาติ • สสจ./ สสอ./ โรงพยาบาล/ รพ.สต. 2) หนวยงานภายนอก • การประปานครหลวง • การประปาสวนภมู ิภาค • องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น • กรมทรัพยากรนาํ้ บาดาล • กรมชลประทาน • กรมปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย • หนว ยงานกาชาดไทย • กองพนั ทหารพฒั นา • สํานักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมจังหวัด • ภาคเอกชน คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 19 ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

4. เอกสารอ้างองิ 1. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. คูมือแนวทางปฏิบัติงานทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) สาํ หรับ การเผชญิ เหตุและฟน ฟูดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ ตอโรคและภัยพบิ ตั ิ, 2565. 2. สาํ นกั อนามยั ส่ิงแวดลอม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . คมู อื การจัดการอนามยั ส่งิ แวดลอ ม และสงเสริมสขุ ภาพสําหรับศนู ยพกั พงิ ชัว่ คราว, 2565. 3. สาํ นักอนามัยส่ิงแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ SEhRT book สาํ หรับ ทมี ปฏบิ ัตกิ ารดา นอนามยั สง่ิ แวดลอม, 2565. 4. สํานกั อนามัยส่งิ แวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . คมู อื การบัญชาการเหตกุ ารณแ ละ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน(StandardOperationProcedure)ดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ มในภาวะฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั , 2563. 5. แผนผงั แนวทางขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านรบั มอื ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข : กรณภี ยั แลง้ มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชีว้ ดั คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรยี มการกอ นเกดิ ภัยแลง 3 วัน - มีความรูทางดานอนามัย มคี ําสงั่ แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศนู ยอนามยั สงิ่ แวดลอ มหรอื มปี ระสบการณ หรือหนังสือมอบหมาย - หนวยงาน 1 ในการทาํ งานที่เกี่ยวของ ผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ิ สว นกลาง กําหนดผรู ับผิดชอบ - กาํ หนดบทบาทหนาท่ีของ ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน กรมอนามัย ผรู บั ผดิ ชอบและคณะทาํ งาน และคณะทํางาน 2 3 วัน เจาหนาท่ีผานกระบวนการ หลักฐานการประชุมเชิง - ศนู ยอ นามยั เรี ย น รู ห รื อ ป ร ะ ชุ ม เชิ ง ปฏิบัติการ การเรียนรู - หนว ยงาน ปฏิบัติการ หรือฝกอบรม วิชาการ หรือการเขารับ สวนกลาง เสรมิ ทักษะและศกั ยภาพ หลักสูตรที่เก่ียวของกับ การอบรมของเจาหนาท่ี กรมอนามัย เจา หนา ทดี่ า นอนามยั สง่ิ แวดลอ ม และสง เสรมิ สขุ ภาพ การจัดการการสุขาภิบาล ในหนว ยงานอาจเปน อบรม สขุ อนามยั อนามยั สงิ่ แวดลอ ม แบบ Onsite หรอื Online รับมือกรณภี ัยแลง รองรับกรณีภัยแลง หรือ ประเดน็ ทเ่ี กยี่ วขอ งอยา งนอ ย ปล ะ 1 ครงั้ 3 ปล ะ - รวมวิเคราะหขอมูลระดับ - แผนท่ีพ้ืนท่ีเสี่ยง และ - ศนู ยอ นามัย 1 คร้ัง พน้ื ที่กับทมี SAT กรม ปภ. พน้ื ท่ปี ระสบภยั แลง - หนวยงาน รว มสาํ รวจ รวมรวมและ ปภ. จังหวัด และจัดทํา - ฐานขอ มลู กลมุ เสยี่ งกลมุ สว นกลาง จัดทําขอมูล รวมถึงวเิ คราะห ฐานขอ มลู พนื้ ทเี่ สย่ี งภยั แลง เปราะบางที่อาจไดรับ กรมอนามัย พ้นื ที่เส่ยี งภัยแลง - มรี ะเบยี นหรอื ทําเนยี บภาคี ผลกระทบในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง ภาคเี ครือขา ย เครอื ขา ยรบั มอื ภยั แลง พรอ ม ภยั แลง ชอ งทางการติดตอ - ทําเนียบภาคีเครือขาย รับมอื ภัยแลง ในพืน้ ท่ี 20 ค่มู ือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวช้ีวดั คุณภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 4 สาํ รวจและจัดทาํ รายการวัสดุ การปฏบิ ตั งิ าน อุปกรณ เพอื่ สนับสนุน 5 ปละ สํารวจและจัดทาํ รายการ - มีขอมูล Stock วัสดุ - ศนู ยอ นามยั การปฏบิ ตั ิงานและชวยเหลอื 1 ครัง้ Stock วสั ดุ อปุ กรณ ชดุ ตรวจ อุปกรณสนับสนุนดาน - หนว ยงาน ผปู ระสบภัยและประสาน Logistic เพือ่ จัดเตรยี มวัสดุ วิเคราะหอยางงาย รองรับ สุขาภิบาล สุขอนามัย สว นกลาง ก ร ณี เ กิ ด ภั ย แ ล ง เช น และอนามยั สง่ิ แวดลอม กรมอนามยั อปุ กรณใหเ พยี งพอ ชุดทดสอบภาคสนาม อ.11 รองรับกรณภี ยั แลง รว มจดั ทาํ แผนเตรียมพรอ ม อ.31 สารสม หยดทิพย - มแี ผนจดั ซอื้ จดั จา ง หรอื แผนเผชิญเหตุ หรอื แผนปฏิบตั ิ หนากากอนามยั ทชิ ชเู ปย ก แผนขอรบั การสนบั สนนุ การรองรับสถานการณภัยแลง แอลกอฮอลเจล ฯลฯ และ วัสดุ อุปกรณรองรับ ประสาน Logistic เพื่อ ภัยแลง จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณให เพยี งพอ 5 วัน จดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ มแผน มีแผนเตรียมพรอมแผน - ศนู ยอ นามัย เผชญิ เหตุหรอื แผนปฏบิ ตั กิ าร เ ผ ชิ ญ เ ห ตุ ห รื อ แ ผ น - หนวยงาน ครบถวนตามรายละเอียด ปฏิบัติการ หรือกิจกรรม สว นกลาง ขน้ั ตอน ดําเนนิ การรองรบั การเกดิ กรมอนามยั ภัยแลง 6 1 วนั จัดการซอมแผนอยางครบ มหี ลกั ฐานกจิ กรรมการซอ ม - ศูนยอ นามยั ซอ มแผน กรณเี กิดภยั แลง กระบวนการ และพิจารณา แผนรองรบั กรณเี กดิ ภยั แลง - หนวยงาน รู ป แ บ บ ก า ร ซ อ ม แ ผ น ตามความเหมาะสม สวนกลาง ระยะเกดิ ภัยแลง ใหเ หมาะสม อยา งนอ ย ปล ะ กรมอนามยั 1 ครั้ง 7 ประสานงานและติดตามขอมูล ตลอดชวง ติดตามและรวบรวมขอมูล มีสถานการณความเสี่ยง - ศูนยอนามยั สถานการณจ ากหนว ยงาน ภัยแลง พ้ืนที่ภัยแลงจากทีม SAT พื้นที่ไดรับผลกระทบ - หนวยงาน ท่ีเก่ยี วขอ งจากทมี SAT ซงึ่ ประสานงานรว มกบั หนว ยงาน และประชากรกลุมเสี่ยง สวนกลาง ที่เกี่ยวของ เชน กรม ปภ. กลมุ เปราะบางทตี่ อ งลงไป กรมอนามัย 8 ปภ.จังหวัด กรมทรัพยากร ใหการสนับสนุนหรือ วเิ คราะหและประเมนิ นา้ํ บาดาล กปภ. ชวยเหลือดานสุขภาพ และอนามัยส่ิงแวดลอม ความเสียหายตอ ระบบอนามัย ในระดบั พื้นท่ี สงิ่ แวดลอ มและการสขุ าภบิ าล 1 วนั ประเมินความเสียหายและ มีขอมูลผลการวิเคราะห - ศนู ยอ นามยั ในพืน้ ทภี่ ยั แลง ความเสี่ยงระบบอนามัย และสรปุ ผลความเสยี หาย - หนวยงาน ส่ิงแวดลอม และสุขาภิบาล ระบบอนามัยส่งิ แวดลอ ม สว นกลาง เชน ระบบประปาหมูบาน และสขุ าภบิ าลจากสถานการณ กรมอนามยั ระบบประปาโรงพยาบาล ภยั แลง รวมถึงความเพียงพอและ ความตอ งการใชน า้ํ ในครวั เรอื น สถานบริการสาธารณสุข และชุมชน คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 21 ของทีมภารกิจปฏิบตั ิการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชว้ี ดั คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 9 ประสาน Logistic เพ่ือเตรียม การปฏบิ ตั งิ าน วสั ดุ อุปกรณ เครอ่ื งมอื และ 10 ชดุ ทดสอบพรอ มลงพน้ื ท่ี ชว งเกดิ มีการประเมินสถานการณ มวี ัสดุ อปุ กรณ ชดุ ตรวจ ภัยแลง และจัดเตรียมวัสดุ อปุ กรณ เครอื่ งมอื ทางวทิ ยาศาสตร ปฏิบตั ิการ ชุดทดสอบ เครื่องมือทาง ทใี่ ชใ นการลงพน้ื ทปี่ ระสบภยั วิทยาศาสตรท่ีเหมาะสม และมสี ง่ิ ของสนบั สนนุ ดา น ปฏิบตั กิ ารในพืน้ ที่และสื่อสาร สําหรับใชในการลงพ้ืนท่ี สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ สรา งการรบั รดู า นสขุ ภาพและ ประสบภยั เพอ่ื ปรบั ปรงุ และ อนามยั สง่ิ แวดลอ มสาํ หรบั เฝาระวังคุณภาพนาํ้ อุปโภค ผูป ระสบภัย อนามยั สิ่งแวดลอ ม บริโภค ชว งเกดิ - ลงพนื้ ทต่ี รวจสอบ ประเมนิ มีรายงานสรุปผลการ - ศนู ยอ นามยั ภัยแลง ความรุนแรงของภัยแลง ปฏิบัติการในระดับพื้นท่ี - หนวยงาน พรอ มสนบั สนนุ การปรบั ปรงุ ทแ่ี สดงใหเ หน็ ปญ หาความ สวนกลาง และเฝาระวังคุณภาพ เส่ียงสุขภาพจากภัยแลง กรมอนามยั นํ้าอปุ โภคบรโิ ภค และมผี ลการวเิ คราะหและ - เสรมิ สรา งความรใู นการดแู ล เฝา ระวงั คณุ ภาพนา้ํ อปุ โภค สุ ข ภ า พ เ บื้ อ ง ต น แ ก บริโภคในพ้นื ที่ ผูประสบภัย และการ ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ น้ํา ดวยตนเองในชวงประสบ ภยั แลง - สนับสนุนวิชาการใหแก หนว ยงานเพอ่ื ปรบั ปรงุ ระบบ สาธารณูปโภค เชน ระบบ ประปา ระบบสุขาภิบาล ในพน้ื ทปี่ ระสบภยั เปน ตน 11 สรุปและรายงานผล ตามการลง รวบรวม วิเคราะห สรุปผล รายงานผลการดาํ เนนิ งาน - ศูนยอ นามัย การดาํ เนินงานเสนอผบู รหิ าร ปฏิบัตกิ าร และรายงานผลการดําเนนิ งาน ตอ ผบู รหิ ารหรอื ผบู ญั ชาการ - หนวยงาน พิจารณา และรายงานใน EOC ตอ ผบู รหิ ารและผบู ญั ชาการ เหตุการณ สว นกลาง เหตกุ ารณทุกระดบั กรมอนามัย ระยะเตรียมการกอนเกดิ ภัยแลง 12 หลงั - ประเมนิ ความเสยี หายระบบ - มรี ายงานผลการประเมนิ - ศนู ยอนามยั เขา สภู าวะ สาธารณปู โภคดา นอนามยั ความเสียหายและผล - หนว ยงาน ปกติ สงิ่ แวดลอ มและสขุ าภบิ าล การดําเนนิ งานสนบั สนนุ สว นกลาง ท่ไี ดร บั ผลกระทบ และใหบริการปรับปรุง กรมอนามัย เฝาระวังและปรับปรงุ ระบบ - ใหบ รกิ ารวชิ าการ คาํ แนะนาํ ระบบสาธารณูปโภค สขุ าภบิ าลและอนามยั สงิ่ แวดลอ ม ดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ ม และขอ เสนอตอ การปรบั ปรงุ และสุขาภิบาลที่ไดรับ ในพนื้ ท่ี ระบบสาธารณปู โภคทไี่ ดร บั กระทบจากภัยแลง ผลกระทบจากภยั แลง - เฝา ระวงั คณุ ภาพนาํ้ อปุ โภค - มีรายงานการเฝาระวัง บรโิ ภคในพนื้ ทอี่ ยา งตอ เนอื่ ง คณุ ภาพนาํ้ อปุ โภคบรโิ ภค ในพืน้ ท่ี 22 คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วัด คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 13 ถอดบทเรียนการดําเนินงาน การปฏบิ ตั งิ าน เพือ่ การพัฒนาระบบงาน หลงั เขาสู - มกี ระบวนการถอดบทเรยี น มรี ายงานการถอดบทเรยี น - ศูนยอ นามยั ภาวะปกติ รวบรวมขอ มลู สถานการณ การดาํ เนนิ งาน และสง ตอ - หนว ยงาน ภายใน ปญ หาอปุ สรรคประสบการณ ใหทีม SAT และ STAG สว นกลาง 1 เดือน ที่ได นํามาถอดบทเรียน และหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง กรมอนามัย และวิเคราะห Gap เพอื่ ศกึ ษา พฒั นาตอ ยอด - จดั ทํารายงานพรอ มขอ เสนอ แผนการรองรบั สถานการณ ตอ การปรบั ปรงุ และพฒั นา ภยั แลง ในอนาคต แผนปองกันและรองรับ สถานการณภ ยั แลง ในอนาคต ตอไป 6. รายละเอยี ดขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน ระยะเตรยี มการกอ่ นเกิดภัยแล้ง 6.1 กาํ หนดผูรับผิดชอบ การกาํ หนดเจาหนาที่ผูรับผิดชอบท่ีไดรับมอบหมายผูมีความรู ทางดา นสาธารณสขุ หรอื การสขุ าภบิ าล หรอื อนามยั สงิ่ แวดลอ ม หรอื การสง เสรมิ สขุ ภาพ หรอื การควบคมุ โรค หรือผูท่ีมีประสบการณในการดําเนินการกรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ ที่หนวยงานเห็นชอบ ใหดําเนินงาน โดยอาจจัดตั้งในรูปแบบคณะทํางานหรือบุคคลผูไดรับมอบหมาย เพื่อกําหนดบทบาทหนาที่ ทไ่ี ดร บั มอบหมายใหช ดั เจนไมว า จะเปน การเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณ การจดั เตรยี มและสนบั สนนุ วสั ดุ อุปกรณ งบประมาณ และเจาหนาท่ีปฏิบัติการสาํ หรับสนับสนุนการดาํ เนินงานดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามยั ส่งิ แวดลอม รวมถงึ การสนบั สนนุ องคค วามรูวิชาการทเ่ี กี่ยวขอ ง เปน ตน 6.2 เสริมทักษะและศักยภาพเจาหนาท่ีดานอนามัยสิ่งแวดลอม และสงเสริมสุขภาพรับมือ ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ เจา หนา ที่ผรู บั ผดิ ชอบที่ไดรับมอบหมายจาํ เปน ตองไดร บั การเสริมสรา งทกั ษะ และศักยภาพดานการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม เชน การจัดการขยะ การจัดการสวม สง่ิ ปฏกิ ลู การสขุ าภบิ าลอาหารและนํ้าบรโิ ภค เปน ตน ในภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ติ ามบทบาทภารกจิ ทไี่ ดร บั มอบหมายอยางสมํา่ เสมอ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติไดอยางทันทวงที และมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ อาจเปน การจดั การอบรมในหนว ยงานหรอื เขา รว มรบั การอบรมจากหนว ยงานภายนอก หรือการเรียนรูผานหลกั สตู รท่เี ก่ยี วของในระบบออนไลน อยางนอ ยปล ะ 1 ครั้ง โดยตองมหี ลักฐานประกอบ การอบรม เชน รปู ภาพ สรปุ ผล หรอื One page แสดงการเขา รบั การอบรม การฝก ปฏบิ ตั ิ หรอื ใบประกาศนยี บตั ร หรือใบผานการอบรม 6.3 รวมสาํ รวจและรวมรวมและจัดทาํ ขอ มลู ในพืน้ ท่ี รวมถงึ วเิ คราะหพนื้ ท่ีเส่ียง พ้นื ทีท่ ีเ่ คยเกิด ภัยแลง เจาหนาที่ผูรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายรวมสํารวจและรวบรวมขอมูลกับคณะทาํ งานหรือทีม SAT หรอื หนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง เพอื่ จดั ทาํ ฐานขอ มลู ในพน้ื ท่ี เชน สถานทต่ี งั้ ขอ มลู พนื้ ทท่ี เ่ี คยเกดิ ภยั แลง พนื้ ทเี่ สย่ี ง ทอี่ าจไดร บั ผลกระทบ รวมถงึ ประเมนิ ประชาชนกลมุ เสยี่ ง กลมุ เปราะบาง ประเภท ขนาด จาํ นวนแหลง น้าํ ใน พื้นที่รับผิดชอบ และระบบสาธารณูปโภค (ระบบประปา ระบบสุขาภิบาล) เปนตน เพ่ือเตรียมพรอมให การชวยเหลอื หากเกิดเหตุ 23คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

6.4 สํารวจและจดั ทํารายการวสั ดอุ ปุ กรณส นบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านและชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั และ ประสาน Logistic เพ่ือจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณใหเพียงพอ เจาหนาที่ทีมปฏิบัติการหรือผูรับผิดชอบ ทไ่ี ดร บั มอบหมาย สาํ รวจและจดั ทํารายการ Stock สง่ิ ของ อปุ กรณช ดุ ตรวจวเิ คราะหอ ยา งงา ย อปุ กรณส นบั สนนุ ดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีใชในการสนับสนุนกรณีการเกิดภัยแลง ประกอบดวย ชดุ ทดสอบภาคสนามดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม น้ําดม่ื บรรจขุ วด ถงุ ขยะ หนา กากอนามยั ทชิ ชเู ปย ก เจลแอลกอฮอล เปนตน และประสานทีม Logistic เพื่อสาํ รวจและตรวจสอบขอมูลการจัดเก็บ หรือขอมูล Stock ส่ิงของ ในคลังพัสดุของหนวยงานที่สามารถนําไปใชเพื่อการสนับสนุนการลงพื้นท่ีกรณีเกิดภัยแลงโดยตอง หมั่นตรวจสอบ วิเคราะหความตองการ ความเพียงพอ ความจาํ เปนในการใชงาน อายุการใชงาน เพื่อเตรยี มความพรอ มอยเู สมอ รวมถงึ กรณวี สั ดุ อุปกรณดังกลา วหมดอายหุ รือเสียหายใหเสนอรายละเอียด เพื่อจัดทาํ แผนเตรียมพรอมจัดซื้อจัดจางเพิ่มเติมโดยประสานทีม Logistic หรือขอรับการสนับสนุน จากหนว ยงานอ่นื 6.5 จัดทาํ แผนเตรียมพรอม แผนเผชิญเหตุ หรือแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณภัยแลง ตามบทบาทหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ เพอื่ เตรยี มความพรอ มรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ โดยหนว ยงาน ตอ งมกี ารจดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ ม แผนเผชญิ เหตุ หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ปิ ระเภท ตา ง ๆ ตามบรบิ ทพน้ื ท่ี หรอื อาจจดั ทาํ เปน แบบแผนรวมทกุ ประเภทภยั กไ็ ดข น้ึ กบั หนว ยงาน โดยแผนดงั กลา ว ตองกําหนดวิธีการปฏิบัติงาน กระบวนการ ขั้นตอนการทาํ งานของหนวยงาน ซ่ึงจะตองครอบคลุม การปฏบิ ตั กิ ารทง้ั ชว งกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั ครอบคลมุ ดา นการบรหิ ารจดั การ กําลังคน งบประมาณ สิ่งของและวัสดุ อุปกรณตาง ๆ รวมถึงการประสานงาน การบูรณาการการทาํ งาน รวมกัน ตามบทบาทภารกิจของแตละทีมที่ชัดเจน โดยแผนดังกลาวหนวยงานสามารถทบทวนปรับปรุง เปนระยะ เพื่อจัดการแกไขลดปญหาหรืออุปสรรค และปดชองวางในขณะปฏิบัติงาน รวมถึงหลีกเล่ียง ความซ้าํ ซอ น และขอ จํากดั ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ เพอ่ื ตอบโตส ถานการณใ หพ น้ื ทแ่ี ละประชาชนไดร บั ผลกระทบ นอ ยท่ีสดุ 6.6 ซอมแผนกรณเี กดิ ภัยแลง จดั ใหม กี ระบวนการฝก ซอ มแผนตามทก่ี าํ หนด และพจิ ารณารปู แบบ การซอ มแผนใหเ หมาะสม อาจเปน การฝก ซอ มบนโตะ ภายใตเ หตกุ ารณส มมตุ ิ หรอื การซอ มแผนรว มกบั หนว ยงาน ระดับพ้ืนที่ในภาพรวมระดับจังหวัดก็ได การฝกซอมแผน ควรดาํ เนินการอยางนอยปละ 1 คร้ัง โดยกลมุ เปา หมายทร่ี ว มฝก ซอ มแผน ตอ งมาจากกลมุ งานภายในหนว ยงานทไี่ ดร บั มอบหมายภารกจิ เพอ่ื ใหท ราบ บทบาท กระบวนการประสานงาน รวมทง้ั หนา ทรี่ บั ผดิ ชอบขณะเกดิ เหตภุ ยั แลง ระยะเกิดภัยแล้ง 6.7 ประสานงานและติดตามขอมูลสถานการณพื้นท่ีเกิดภัยแลงจากหนวยงานที่เกี่ยวของ จากทีม ตระหนักรูสถานการณ (SAT) ในการปฏิบัติหนาท่ีเพื่อเขาชวยเหลือประชาชนที่ประสบภัยจาก การเกดิ ภยั แลง ทีมปฏิบัติการจาํ เปน ตอ งรับรูส ถานการณ และขอ มลู เบอ้ื งตน จากทีม SAT หรือหนวยงานท่ี เกย่ี วของ เชน กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมการปกครอง การประปาสว นภูมิภาค กรมทรัพยากร นํา้ บาดาล กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน หรือกรุงเทพมหานคร เปนตน เพื่อประเมินระดับ ความเสยี หายหรอื ความรนุ แรง รวมทงั้ ขอบเขตของพน้ื ทป่ี ระสบภยั แลง สําหรบั ตดิ ตามและรวบรวมขอ มลู พน้ื ที่ ประสบภัย จากน้ันจงึ นาํ ขอ มูลมาใชเ ตรียมความพรอม จัดสรร ท้ังกาํ ลังคน วสั ดุ อปุ กรณ เวชภณั ฑ เครอ่ื งมือ วิทยาศาสตรดานอนามัยสิ่งแวดลอม ชุดทดสอบเบื้องตน และวางแผนเตรียมความพรอมลงสนับสนุนพื้นท่ี ประสบภัย 24 คูม่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบตั ิการด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

6.8 วิเคราะหและประเมนิ ความเสียหายตอ ระบบอนามัยสิ่งแวดลอมและการสุขาภิบาล รว มกบั การประปาสวนภูมภิ าค สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั องคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน สถานบริการสาธารณสุข ท่ีประสบภัยแลง เพ่ือประเมินความเสียหายและความเสี่ยงตอระบบอนามัยสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล เชน ระบบประปาหมบู า น ระบบประปาโรงพยาบาล รวมถงึ ความเพยี งพอและความตอ งการใชน ํ้าในครวั เรอื น สถานบริการสาธารณสุข และชุมชน เพื่อสนับสนุนความชวยเหลือหรือประสานขอความชวยเหลือ จากหนวยงานท่ีเก่ียวของ รวมถึงรวบรวมขอมูลและผลการวิเคราะหเพ่ือนําไปใชในการวางแผนปองกันและ เตรยี มการรบั มอื ในอนาคตตอไป 6.9 ประสาน Logistic เพอื่ เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เครอื่ งมอื และชดุ ทดสอบพรอ มลงพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร โดยใชข อ มลู ทมี่ าจากการวเิ คราะหป ระเมนิ ความเสย่ี งสถานการณท เี่ กดิ ขน้ึ จากนนั้ ประสาน Logistic เพอื่ เตรยี ม วสั ดุ อปุ กรณ ชดุ ทดสอบ เครอ่ื งมอื ทางวทิ ยาศาสตรท ใี่ ชใ หเ พยี งพอกบั ทมี ทตี่ อ งปฏบิ ตั กิ ารในพนื้ ทปี่ ระสบภยั ท้ังเคร่ืองมือตรวจเฝาระวังดานสุขาภิบาลอาหารและนาํ้ โดยเนนสารเคมีเพ่ือปรับปรุงและชุดตรวจเฝาระวัง คณุ ภาพนาํ้ บรโิ ภค พรอ มใหน ําสนบั สนนุ ดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั สงิ่ แวดลอ มสาํ หรบั ผปู ระสบภยั เชน น้าํ ด่ืมบรรจุขวด ถุงขยะ หนา กากอนามยั ทชิ ชูเปย ก เจลแอลกอฮอล เปน ตน เพื่อบรรเทาทกุ ขเบอื้ งตน แกป ระชาชน 6.10 ปฏบิ ตั กิ ารในพน้ื ทแี่ ละสอ่ื สารสรา งการรบั รดู า นสขุ ภาพและอนามยั สง่ิ แวดลอ ม โดยลงพน้ื ท่ี รว มกบั ทกุ ภาคสว นแบบบรู ณาการตามบทบาทหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบภารกจิ ของหนว ยงาน โดยทมี ปฏบิ ตั กิ าร ดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ เนนกระบวนการตรวจสอบ ประเมินความรุนแรงของภัยแลง พรอมสถานท่ีไดรบั ผลกระทบ เชน สถานบรกิ ารสาธารณสขุ โรงเรยี น ศนู ยเ ดก็ เลก็ เปนตน เพือ่ สนับสนุนการ ปรับปรุงและเฝาระวังคุณภาพนํา้ อุปโภคบริโภค นอกจากนี้ การเสริมสรางความรูในการดูแลสุขภาพ เบอื้ งตน แกผ ูประสบภัย และการปรบั ปรุงคุณภาพน้าํ ดวยตนเองในชว งประสบภัยแลง และสนับสนุนวชิ าการ ใหแ กห นว ยงานเพอื่ ปรบั ปรงุ ระบบสาธารณปู โภค เชน ระบบประปา ระบบสขุ าภบิ าลในพน้ื ทปี่ ระสบภยั เปน ตน 6.11 สรุปและรายงานผลการดําเนินงาน เสนอผูบ รหิ ารพิจารณาและรายงานใน EOC รวบรวม วิเคราะห สรุปผลการดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของทีมปฏิบัติการ และรายงานผลการดาํ เนินงาน ตอผูบ ริหารหนวยงาน หรอื ผบู ัญชาการเหตกุ ารณอ ยางตอ เนื่อง ระยะฟ้ นื ฟูหลงั เกดิ ภัยแลง้ 6.12 เฝา ระวงั คณุ ภาพน้าํ และความเสยี่ งตอ สขุ ภาพของประชาชน ภายหลงั จากสถานการณภ ยั แลง เขา สภู าวะปกติ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารดา นสง เสรมิ สขุ ภาพ และอนามยั สง่ิ แวดลอ ม ตอ งประสานงานรว มกบั หนว ยงาน ระดับพน้ื ท่ี เพ่ือรว มประเมนิ ความเสยี หายระบบสาธารณปู โภคดานอนามยั ส่ิงแวดลอ มและสขุ าภบิ าลท่ไี ดรบั ผลกระทบ พรอ มใหบ รกิ ารวชิ าการ คาํ แนะนาํ และขอ เสนอตอ การปรบั ปรงุ ระบบฯ และสนบั สนนุ การเฝา ระวงั คณุ ภาพนา้ํ อุปโภคบรโิ ภคในพ้นื ทอ่ี ยางตอเน่อื ง 6.13 ถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานเพอื่ การพฒั นาระบบงาน ทมี ปฏบิ ตั กิ ารรวบรวมขอ มลู สถานการณ ปญ หา อปุ สรรค ประสบการณท ไ่ี ดร บั และสง่ิ ทไี่ ดเ รยี นรจู ากการดําเนนิ การตง้ั แตก ารเตรยี มการไปจนถงึ ปฏบิ ตั ิ การตอบโตภ ัยแลง เพือ่ นาํ มาถอดบทเรียน แลกเปลีย่ นเรียนรู และวิเคราะหสิง่ ท่ยี ังขาด หรอื ชอ งวา ง (Gap) การปฏิบตั งิ าน และจัดทํารายงานพรอ มขอ เสนอตอการดําเนินงาน เพอ่ื นํามาปรบั ปรุงและพัฒนาแผน และ กลไกการปฏิบัติงานของทีมงาน รวมถึงสงตอใหทีม SAT และ STAG และหนวยที่เกี่ยวของเพ่ือเปนขอมูล นําเขาในการศึกษา รวบรวม องคความรู นวัตกรรม เทคโนโลยีใหม และการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาตอยอด การรองรับสถานการณภัยแลงในอนาคต 25คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ชอื่ กระบวนงาน ประเภท สาํ หรับทีม Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภยั จากความรอ น ดานอนามยั สิ่งแวดลอม วนั ทเี่ รม่ิ ใช 15 ก.พ. 2566 และสง เสริมสขุ ภาพ รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข จาํ นวน 7 หนา ผูจดั ทาํ กองประเมนิ ผลกระทบตอสขุ ภาพ ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ (Public Health Emergency) หมายถงึ เหตกุ ารณท กี่ อใหเกิดโรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซงึ่ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททกี่ อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยมีลักษณะทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปนเหตุการณที่ผิดปกติหรือไมเคยพบมากอน มีโอกาสที่จะแพรไปสูพ้ืนท่ีอื่น และตองจาํ กัดการเคล่ือนท่ี ของผูคนหรือสินคา ตัวอยางภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เชน อุทกภัย ดินโคลนถลม สึนามิ หมอกควัน ฝนุ ละอองขนาดเลก็ ภัยจากสารเคมแี ละกมั มนั ตรังสี เปน ตน ภัยจากความรอน เปนปญหาเรงดวนที่สาํ คัญของหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยเปนเมืองรอน ที่ไดรับผลกระทบจากความรอนเชนกัน อีกทั้งยังสงผลกระทบตอประชาชนในวงกวาง จากสถานการณ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในรอบ 50 ปท่ีผานมา พบวามีอุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียและ อณุ หภมู ติ า่ํ สดุ เฉลยี่ ของประเทศไทยมแี นวโนม เพมิ่ สงู ขน้ึ อยา งชดั เจน โดยองคก ารอนามยั โลกไดค าดการณก าร เปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ขิ องประเทศไทยในอนาคต โดยหากไมม มี าตรการใด ๆ จะสง ผลใหม ผี สู งู อายเุ สยี ชวี ติ จาก ความรอนเพิม่ ขึ้น ในป 2593 จาํ นวน 6,000 ราย และ ในป 2623 จํานวน 14,000 ราย ดงั นน้ั เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านสอ่ื สารสรา งความรอบรใู หก บั ประชาชนในการปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพ จากความรอ นสําหรบั เจา หนา ทสี่ าธารณสขุ จงึ ไดก าํ หนดใหม มี าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านสําหรบั ทมี Operation ดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ (Standard Operating Procedure : SOP) สําหรับภัยจาก ความรอ น สําหรับเจา หนา ท่ีใชเปน แนวทางในการปฏบิ ัติการในชวงฤดรู อ นท่ีเปน รปู ธรรม 1. วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สําหรบั กรณภี ัยจากความรอน สามารถลดความเส่ยี งและผลกระทบตอสขุ ภาพประชาชน 2. ขอบเขต เปนกรอบการดําเนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม รวมทั้ง การสง เสรมิ สขุ ภาพภายใตภ ยั ความรอ น เพอ่ื ใหเ จา หนา ทที่ ม่ี ภี ารกจิ การดาํ เนนิ งานดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ มและ สงเสริมสุขภาพ สามารถใชเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมรับมือกับภัยความรอน โดยกระบวนการ ปฏบิ ตั งิ านเริ่มตัง้ แต ระยะเตรียมความรอ นกอ นเกิดภาวะฉุกเฉนิ จากความรอ น ชวงเกิดภัย และหลงั เกดิ ภัย เพ่อื สรา งความรูความเขา ใจเก่ียวกับวิธีการปฏบิ ัติในการปอ งกันผลกระทบตอสขุ ภาพจากภยั ความรอน 26 คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ ทีมภารกจิ ปฏิบตั กิ าร (Operation) ดานอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสงเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย 4. เอกสารอา้ งอิง 1. Travelers' Health. Centers for Disease Control and Prevention. https:// wwwnc.cdc.gov/travel/page/heat-illnesses. สืบคน ขอ มูลเมอื่ วนั ท่ี 8 ธนั วาคม 2565. 2. COVID-19 and Cooling Centers. Centers for Disease Control and Prevention. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/php/cooling-center.html. สืบคนขอ มลู เมือ่ วนั ที่ 8 ธนั วาคม 2565. 3. The Use of Cooling Centers to Prevent Heat-Related Illness: Summary of Evidence and Strategies for Implementation. Centers for Disease Control and Prevention. https://www.cdc.gov/climateandhealth/docs/UseOfCoolingCenters.pdf. สบื คน ขอ มลู เมอื่ วันท่ี 8 ธนั วาคม 2565. 4. Help for When it's Hot. Multnomah County. https://www.multco.us/ help-when-its-hot/thinking-opening-your-space-cooling-location. สบื คน ขอ มลู เมอื่ วนั ที่ 8 ธนั วาคม 2565. 5. แผนผังแนวทางการทํางานรบั มอื ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข : กรณีภยั จากความร้อน มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชีว้ ดั คุณภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน กอ นเกิดภยั จากความรอ น 3 วัน มีการกาํ หนดผูรับผิดชอบ มคี ําสง่ั แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศูนยอ นามัย และกําหนดบทบาทหนาท่ี หรือหนังสือมอบหมาย - หนว ยงาน 1 ทไ่ี ดร บั มอบหมายใหชัดเจน ผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง กาํ หนดผรู ับผดิ ชอบ ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน และแบงบทบาทหนา ท่ี และคณะทาํ งาน 2 1 ครั้ง/ป - พัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ี - หลักฐานการประชุม - ศูนยอ นามัย และซอ มแผน เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การเรยี น - หนว ยงาน - ประสานทีม Logistic รวู ชิ าการหรอื การเขา รบั สว นกลาง ในการจดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ การอบรมของเจา หนา ท่ี เตรียมความพรอม ชดุ สาธติ เชน ชดุ ปฐมพยาบาล ในหนวยงาน อาจเปน (คน/เงนิ /ของ/พาหนะ) ผาเย็น กระติกนํ้าแข็ง อบรมแบบ Onsite หรอื ถงุ น้ําแขง็ สอ่ื ใหค วามรู และ Online จัดเตรียมพาหนะ สําหรับ - รายการวัสดุอุปกรณที่ การเดนิ ทางลงพน้ื ที่ ตอ งจดั เตรียม - ประสานคณะการเงิน - แผนงานโครงการรองรบั จดั เตรยี มงบประมาณ เพอื่ การปฏิบัติงานของ เปนคาเบ้ียเล้ียงเจาหนาท่ี ทีมปฏิบัติการ กรณี คา ประกนั ชวี ิต คา เสยี่ งภยั ความรอน 27ค่มู ือมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชีว้ ัด คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 3 การปฏบิ ตั งิ าน 2 วนั - จัดทําแผนการดาํ เนินงาน แผนการดาํ เนินงานทีม - ศูนยอนามยั ทีมปฏิบัติการ ทบทวน ปฏบิ ัติการ - หนว ยงาน แผนการดําเนินงานที่มี สวนกลาง อยูแ ลว จัดทาํ แผน/ทบทวนแผน - ประสานทมี SAT เพอ่ื ทราบ พื้นท่ีเปาหมาย สําหรับ การเตรยี มความพรอ มกอ น ลงพนื้ ท่ี ระยะเกิดภัยจากความรอน ตามความ 1. จัดทาํ แผนการลงพื้นท่ี - แ ผ น ก า ร ล ง พ้ื น ที่ - ศูนยอ นามัย เหมาะสม ทมี ปฏบิ ตั กิ ารโดยแผนการ ทีมปฏบิ ัตกิ าร - หนวยงาน 4 ลงพ้ืนท่ีแบงตามประเภท - ชุดสาธิต เชน ชุด สวนกลาง Setting และกลุมเส่ียง ปฐมพยาบาล ผาเย็น 1-2 วัน 2. ประสานสถานทจ่ี ะลงพน้ื ที่ กระตกิ นา้ํ แขง็ ถงุ นา้ํ แขง็ (เชน ประสาน CM/CG) - สอื่ ใหค วามรู เพอ่ื เตรยี มการสนบั สนนุ (วนั เวลาสถานท่ีกลมุ เปา หมาย ความตองการชวยเหลือ) รวมทง้ั ประสานหนว ยงาน เตรียมความพรอ ม ท่ีรับผิดชอบดูแลในพ้ืนที่ กอ นลงพนื้ ท่ปี ฏิบัติการ (สสจ./อปท.)รว มดาํ เนนิ การ ครึ่งวัน 3. จดั เตรยี มทมี ชแี้ จงซกั ซอ ม บทบาทหนาที่กอนการ ลงพืน้ ที่ (ภายในทีม) 1 วนั 4. ประสานตรวจสอบความพรอ ม ของพาหนะเดนิ ทาง และ วสั ดุ อปุ กรณ หรอื ชดุ สาธติ เชน ชุดปฐมพยาบาล ผ า เ ย็ น ก ร ะ ติ ก นํ้า แ ข็ ง ถุงนํ้าแข็ง ส่ือใหความรู ลงพืน้ ทใ่ี หพรอม 5 1 วัน การลงพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารแบง รายงานสรปุ ผลการลงพนื้ ท่ี - ศูนยอนามยั ลงพนื้ ทป่ี ฏิบตั ิการ ตามSettingมี2รปู แบบคอื และรปู ถา ย - หนวยงาน สว นกลาง 1. การใหความรู คําแนะนํา ใ น ก า ร ป อ ง กั น ต น เ อ ง ใน Setting ตาง ๆ ไดแ ก โรงเรียน ศูนยพัฒนา เดก็ เลก็ ศนู ยด แู ลผสู งู อายุ ชุมชน บานเรือน สถานที่ ทองเที่ยว สถานที่จัด การแขงขันกีฬากลางแจง 28 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชี้วดั คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน กลางแจง เพ่ือแนะนํา เกยี่ วกบั การปอ งกนั สขุ ภาพ จากความรอ น เชน ความรู เก่ียวกับการรับประทาน อ า ห า ร ข อ ง ก ลุ ม เ ส่ี ย ง เชน ทุเรียน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล และการเช็ค อณุ หภมู ใิ นพน้ื ท/ี่ การเยย่ี ม บานใหคําแนะนาํ การจัด สภาพแวดลอมเพ่ือลด ความรอ น/การดแู ลสขุ ภาพ ตามกลมุ เสย่ี ง/การจดั เตรยี ม เจา หนา ทป่ี ฐมพยาบาลเพอื่ ดูแลนักทองเที่ยวในกรณี ฉกุ เฉนิ 2. การลงพื้นท่ีศูนยพักพิง ชั่วคราว (Shelter) กรณี เกดิ สถานการณค วามรอ น รุนแรง (มากกวา 43 องศาเซลเซียส) เพ่ือให คาํ แนะนาํ การจัดสภาพ แวดลอ ม เพอ่ื ลดความรอ น/ การดูแลสุขภาพต า ม กลมุ เสย่ี ง รวมทงั้ การดแู ล ดา นสขุ าภบิ าลและอนามยั สงิ่ แวดลอ ม เชน สขุ าภบิ าล อาหาร นา้ํ ด่มื การจดั การ ขยะ นา้ํ เสีย สิ่งปฏิกูล หอ งสว ม ฯลฯ 6 1 วัน รายงานผลการลงพื้นท่ีหนา รายงานสรปุ ผลการดําเนนิ - ศูนยอ นามยั รายงานผลการดําเนินงาน เว็บไซดศูนยตอบโตภาวะ งานลงพน้ื ท่ีและรายงานผล - หนว ยงาน ลงพื้นที่ ฉุกเฉินกรมอนามัย เชน ในเวบ็ ไซตศ นู ยบ ญั ชาการ สวนกลาง จัดทาํ One page สรปุ ผล ต อ บ โ ต ภ า ว ะ ฉุ ก เ ฉิ น ระยะหลังภยั จากความรอ น การดําเนินงาน กรมอนามัย 7 1 ครั้ง/ป สรุปทเรียนการดําเนินงาน รายงานสรปุ ถอดบทเรยี น - ทมี OP สรปุ ทเรียนการดําเนนิ งาน ลงพน้ื ทที่ มี ปฏบิ ตั กิ าร (AAR) ศูนยอนามยั ลงพืน้ ท่ที มี ปฏิบตั กิ าร (AAR) ในระดับตาง ๆ เชน สสจ. - ทีม OP ศูนยอนามยั สวนกลาง สว นกลาง 29คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

6. รายละเอยี ดขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน ก่อนเกิดภยั จากความร้อน 6.1 จัดต้งั คณะทํางาน และกําหนดบทบาทหนา ที่ จดั ทําคาํ สงั่ แตง ตงั้ ผรู บั ผดิ ชอบหรอื หนงั สอื มอบหมายผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ติ ามมาตรฐาน คุณภาพงานและคณะทํางาน ของทมี OP ศูนยอนามยั และสวนกลาง โดยในแตละทีมจะมอี งคป ระกอบและ บทบาทหนา ท่ี ดังตอ ไปนี้ 1) หัวหนาทีม ทาํ หนาที่เปนหัวหนาในการนําทีมปฏิบัติการลงพ้ืนที่ ดูแลความเรียบรอย แบง บทบาทหนาทขี่ องทีมปฏิบตั กิ าร 2) เลขาทีมปฏบิ ตั กิ าร ทาํ หนา ที่เปน ผูประสานงานในทมี นัดหมายผรู วมทมี ในการลงพนื้ ที่ ปฏิบัติการจัดเตรียมอุปกรณ เคร่ืองมือสาํ หรับลงพ้ืนท่ี และรวบรวมรายงานผลการปฏิบัติการลงพ้ืนท่ี ในแตละครัง้ สง ใหฝ ายเลขาฯ ทมี ปฏบิ ัติการกองประเมนิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ 3) ผรู ว มทีมปฏบิ ัตกิ าร ทาํ หนา ท่รี ว มลงพ้ืนทแี่ ละปฏบิ ตั ิงานตามทห่ี วั หนาทีมมอบหมาย 4) ผปู ระสานงานทมี ปฏบิ ตั กิ าร เปน เจา หนา ทก่ี องประเมนิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ ทาํ หนา ท่ี ประสานงานกับเลขาทีมปฏิบัติการ เพ่ือแจงวัน เวลา สถานที่ที่จะลงปฏิบัติการ จัดหารถสาํ หรับเดินทาง ลงพื้นที่ และบริหารจัดการการเบิกจายคาเบี้ยเลี้ยงสาํ หรับทีมปฏิบัติการ รูปแบบกิจกรรมในการลงพ้ืนที่ ประกอบดวย (1) รูปแบบการจัดบูธกิจกรรม (Event) มีวัตถุประสงคเพื่อจัดกิจกรรมใหความรู แกป ระชาชน โดยตอ งจดั เตรยี มสถานทจ่ี ดั งาน เตรยี มนทิ รรศการ อปุ กรณส ําหรบั การตงั้ บธู สอ่ื สงิ่ พมิ พส าํ หรบั ผูรว มงาน และจัดเตรียมผูบ รรยายใหความรปู ระจาํ บธู กจิ กรรม (2) รปู แบบการเดินรณรงค (Road show) มวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื เดินรณรงค ตดิ ตาม ผบู รหิ ารหนว ยงาน เนน การแสดงเชงิ สญั ลกั ษณ เชน งานแถลงขา ว งานเดนิ รณรงคใ หค วามรู งานเปด ตวั กจิ กรรม เปนตน (3) การตรวจใหคาํ แนะนํา (Investigate) มีวัตถุประสงคเพ่ือสํารวจประเมิน ความเสย่ี งตอ สขุ ภาพ ตามความรุนแรงของสถานการณร วมกับทีมแพทยห รอื ทมี สอบสวนโรคในพน้ื ที่ 6.2 เตรยี มความพรอม (คน/ เงนิ / ของ/ พาหนะ) 1) พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่และซอมแผน เพ่ือเตรียมความพรอมของคณะทาํ งาน ในการปฏิบัติงานในพื้นท่ี เชน ผลกระทบตอสุขภาพจากความรอน วิธีเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพ จากความรอ นและคําแนะนาํ สาํ หรบั ประชาชน และการจดั การดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มและการสง เสรมิ สขุ ภาพ โดยควรจัดอบรมอยางนอ ยปล ะ 1 คร้งั เปนตน 2) ประสานทีม Logistic ในการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ ชุดสาธิต เชน ชุดปฐมพยาบาล ผาเย็น กระตกิ นํา้ แขง็ ถุงนํา้ แขง็ สือ่ ใหความรู เปนตน 3) จดั เตรยี มพาหนะ สาํ หรบั การเดนิ ทางลงพน้ื ท่ี ประสานคณะการเงนิ จดั เตรยี มงบประมาณ เพ่อื เปน คาเบย้ี เล้ยี งเจาหนา ท่ี คาประกันชีวติ คาเส่ียงภัย 30 คู่มือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

6.3 จดั ทําแผนหรอื ทบทวนแผนของทมี OP 1) จัดทําแผนการดาํ เนนิ งานทีมปฏิบัติการและทบทวนแผนการดําเนนิ งานท่มี ีอยูเดมิ 2) ประสานทมี ตระหนกั รสู ถานการณ (Situation Awareness Team : SAT) เพอื่ ทราบ พื้นท่เี ปาหมาย สาํ หรับการเตรยี มความพรอ มกอนลงพนื้ ที่ ระยะเกิดภยั จากความรอ้ น 6.4 เตรียมความพรอมกอ นลงพ้ืนที่ปฏิบตั ิการ 1) จัดทาํ แผนการลงพ้ืนท่ีทีมปฏิบัติการ โดยแผนการลงพื้นท่ีแบงตามประเภทสถานท่ี และกลุมเส่ียง 2) ประสานสถานทจี่ ะลงพนื้ ท่ี ประสานหนว ยงานในพน้ื ที่ เชน สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั Care Manager : CM หรอื Care Giver : CG เพื่อเตรยี มการสนับสนุน (วนั เวลา สถานท่ี กลุมเปาหมาย ความตองการชว ยเหลอื ) รวมท้งั ประสานหนวยงานท่รี ับผิดชอบดูแลในพืน้ ท่ี (สสจ./อปท.) รวมดาํ เนนิ การ 3) จดั เตรยี มทมี ชี้แจงซักซอ มบทบาทหนาทีก่ อ นการลงพน้ื ที่ (ภายในทีม) ประกอบดวย (1) หัวหนา ทีมปฏิบัติการ ทําหนา ที่สงั่ การ แบงหนาท่ี ดูแลภาพรวมของทมี (2) เลขาทมี ปฏบิ ตั กิ าร ทาํ การนดั หมายผรู ว มทมี เพอ่ื นดั วนั เวลา สถานทตี่ ามรายละเอยี ด รปู แบบกจิ กรรมในการลงพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ าร และรวบรวมการสง รายงานผลปฏบิ ตั งิ าน ของทมี (3) ผปู ระสานงานทมี ปฏิบตั ิการ ทาํ หนา ทปี่ ระสานงานกับสถานท่ีที่จะลงพ้ืนที่ เพอื่ แจง เลขาทีมปฏิบัติการทราบเกี่ยวกับวัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วัน เวลา สถานท่ี รปู แบบการจัดกิจกรรม และทาํ หนาที่ขออนมุ ตั ิราชการ รวมถงึ จัดเตรียมรถสาํ หรบั เดนิ ทาง (4) ผจู ดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณใ นการลงพนื้ ที่ ตดิ ตอ ขอรบั อปุ กรณท กี่ องประเมนิ ผลกระทบ ตอ สขุ ภาพ หรอื หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง เชน ชดุ นทิ รรศการ แผน พบั และสอ่ื Video คา เฝา ระวงั ผลกระทบตอ สุขภาพจากความรอ น (5) ผูใหความรู คาํ แนะนาํ การดูแลและปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากความรอน ความรกู ารปฐมพยาบาลโรคฮที สโตรก ความรกู ารจดั ทาํ หอ งคลายรอ น (Cool Room) (6) ผจู ัดทาํ รายงาน ประกอบดวย • H1 : แบบสํารวจอนามยั โพล : ผลกระทบตอ สขุ ภาพและการปอ งกันตัวเอง จากความรอ น • H2 : แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ กจิ กรรมใหค วามรเู กยี่ วกบั การดแู ลปอ งกนั ผลกระทบตอ สุขภาพจากความรอน • H3 : รายงานผลการลงพืน้ ทท่ี ีมปฏิบัติการ กรณีความรอ น 4) ประสานตรวจสอบความพรอมของพาหนะเดินทางและวัสดุอุปกรณ หรือชุดสาธิต เชน ชุดปฐมพยาบาล ผาเย็น กระติกนํ้าแข็ง ถุงน้าํ แข็ง ส่อื ใหค วามรจู ะใชล งพืน้ ทใี่ หพรอ ม เปนตน คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 31 ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

6.5 การลงพนื้ ทปี่ ฏบิ ัติการ แบง เปน 2 รปู แบบ คือ 1) การลงพนื้ ท่ีตามสถานที่ตาง ๆ (1) การใหความรู คาํ แนะนําในการปองกันตนเอง ในสถานท่ีตาง ๆ ไดแก โรงเรียน ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ ศนู ยด แู ลผสู งู อายุ ชมุ ชน บา นเรอื น สถานทท่ี อ งเทย่ี ว สถานทจี่ ดั การแขง ขนั กฬี ากลางแจง เพ่อื แนะนําเก่ียวกบั การปอ งกันสขุ ภาพจากความรอน เชน ความรเู กย่ี วกับประเภทอาหารทคี่ วรเล่ยี งสาํ หรับ กลุมเสี่ยง หามรับประทานทุเรียนพรอมกับเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล ควรเช็คสภาพอากาศและอุณหภูมิในพื้นท่ี การเยย่ี มบา นใหค ําแนะนําการจดั สภาพแวดลอ มเพอ่ื ลดความรอ น การดแู ลสขุ ภาพตามกลมุ เสย่ี ง การจดั เตรยี ม เจา หนา ท่ีปฐมพยาบาลเพ่อื ดแู ลนักทอ งเที่ยวในกรณฉี ุกเฉนิ (2) สํารวจอาการและพฤติกรรมประชาชน กรณีความรอน โดยใชเครื่องมือ ตาม H1 แบบสาํ รวจอนามัยโพล : ผลกระทบตอสขุ ภาพและการปองกันตวั เองจากความรอ น 2) การลงพ้ืนที่ศนู ยพักพิงช่ัวคราว (Shelter) (1) กรณเี กดิ สถานการณค วามรอ นรนุ แรง (มากกวา 43 องศาเซลเซยี ส) เพอื่ ใหค ําแนะนาํ การจดั สภาพแวดลอ มเพ่อื ลดความรอ น การดูแลสุขภาพ ตามกลมุ เสี่ยง รวมท้ังการดแู ลดานสุขาภบิ าลและ อนามัยส่ิงแวดลอ ม เชน สขุ าภบิ าลอาหาร นาํ้ ด่มื การจดั การขยะ ส่งิ ปฏกิ ลู หองสว ม ฯลฯ (2) สาํ รวจอาการและพฤติกรรมประชาชนกรณีความรอน โดยใชเครื่องมือ ตาม H1 แบบสํารวจอนามยั โพล : \"ผลกระทบตอสุขภาพและการปองกันตวั เองจากความรอ น\" 6.6 รายงานผลการดาํ เนนิ งานลงพ้ืนที่ 1) รายงานผลการลงพ้ืนที่ หนาเว็บไซตคณะทํางานตอบโตภาวะฉุกเฉิน กรมอนามัย (https://eoc.anamai.moph.go.th/th/operation-team/) เชน จดั ทํา one page สรุปผลการดาํ เนินงาน เปนตน 2) จัดทาํ รายงาน (Google form) ประกอบดว ย H2 : แบบประเมินความพึงพอใจกิจกรรมใหความรูเกี่ยวกับการดูแลปองกัน ผลกระทบตอ สุขภาพจากความรอน H3 : แบบฟอรม รายงานผลการลงพื้นท่ที มี ปฏิบัตกิ าร กรณคี วามรอน ระยะหลงั เกิดภยั จากความรอ้ น 6.7 สรปุ บทเรยี นการดําเนนิ งานลงพนื้ ทที่ มี ปฏบิ ตั กิ าร (AAR) สรปุ บทเรยี นการดาํ เนนิ งานลงพนื้ ที่ ทีมปฏิบตั กิ าร (AAR) ในระดับตา ง ๆ เชน สสจ. ศนู ยอ นามัย สว นกลาง เพอื่ ปรกึ ษาหารอื ปญหาอุปสรรค ขอ เสนอตอการดาํ เนนิ งานตอ ไป 32 คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏิบัติงาน ช่ือกระบวนงาน ประเภท สําหรับทมี Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภัยจากฝนุ ละออง ดานอนามยั สง่ิ แวดลอ ม และหมอกควัน และสง เสรมิ สุขภาพ รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข วนั ท่เี ร่มิ ใช 15 ก.พ. 2566 ผจู ัดทํา จาํ นวน 8 หนา กองประเมินผลกระทบตอสขุ ภาพ ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถงึ เหตกุ ารณท กี่ อใหเ กิดโรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซง่ึ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททกี่ อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยมีลักษณะทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปนเหตุการณที่ผิดปกติหรือไมเคยพบมากอน มีโอกาสท่ีจะแพรไปสูพ้ืนท่ีอ่ืน และตองจํากัดการเคล่ือนที่ ของผูคนหรือสินคา ตัวอยางภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เชน อุทกภัย ดินโคลนถลม สึนามิ หมอกควัน ฝนุ ละอองขนาดเล็ก ภยั จากสารเคมีและกัมมันตรงั สี เปน ตน ฝนุ ละอองขนาดเลก็ หมอกควนั เปน หนงึ่ ในภยั ฉกุ เฉนิ ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ ซง่ึ หลายจงั หวดั ของประเทศไทยประสบปญ หาฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2ภ.5าคไมตคะรวอนั นออ(PกMเฉ2.ยี5)งทเหง้ั นพอืน้ื แทลเ่ี ขะตภเามคอื ใงตใน จการกงุ สเทาพเหมตหตุ าา นงคๆร และปรมิ ณฑล พน้ื ทหี่ มอกควนั 9 จงั หวดั ภาคเหนอื ทั้งการเผาในท่ีโลง การคมนาคม อุตสาหกรรม และหมอกควันขามแดน รวมกับปจจัยทางอุตุนิยมวิทยา ทงั้ ความกดอากาศ ความเรว็ ลม ปรมิ าณฝน และอณุ หภมู ิ ซง่ึ สง ผลกระทบตอ สขุ ภาพของประชาชนในทกุ กลมุ โดยเฉพาะในประชาชนกลมุ เสย่ี งทง้ั เดก็ หญงิ ตง้ั ครรภ ผสู งู อายุ และผทู มี่ โี รคประจาํ ตวั เชน โรคระบบทางเดนิ หายใจ หอบหืด เปนตน นอกจากน้ี องคก ารอนามัยโลกระบวุ า ทกุ ๆ 10 ไมโครกรมั ของฝุนละออง จะเพ่ิมอตั รา การเสยี ชวี ติ รวม (ทไ่ี มใ ชอ บุ ตั เิ หตุ อาชญากรรม และการฆา ตวั ตาย) รอ ยละ 0.6 กรณกี ารเสยี ชวี ติ ดว ยโรคระบบ ทางหายใจจะเพิม่ ขึ้น รอ ยละ 1.3 และกระทบตอการดาํ รงชวี ติ ของประชาชนเปนวงกวาง การรบั มอื กบั สถานการณด งั กลา ว กรมอนามยั ไดก ําหนดระบบบญั ชาการศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารดา นสง เสรมิ สขุ ภาพและอนามยั สง่ิ แวดลอ ม กรมอนามัย และกลอ งภารกิจตา ง ๆ เพอื่ ดําเนนิ การเตรียมความพรอมรับมือ และบริหารจัดการกับโรคและภัยพิบัติในดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพอยางทันทวงที โดยคณะทํางานกลุมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) มีภารกิจสําคัญในการปฏิบัติการภาคสนามรองรับ สถานการณภ าวะฉกุ เฉนิ ในพนื้ ท่ี ดังนั้น จึงไดจัดทาํ มาตรฐานการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสขุ (Standard Operating Procedure : SOP) กรณฝี นุ ละอองและหมอกควนั สําหรบั เจา หนา ที่ ท้งั สวนกลางกรมอนามยั ศูนยอนามยั และสถาบนั พฒั นาสุขภาวะเขตเมือง ใชเ ปนแนวทางในการปฏิบัตงิ าน ลงพื้นท่ีปฏิบัติการสื่อสาร ใหคาํ แนะนาํ ดูแลปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน ได(Pอ Mยา2ง.5ม)ปี ไรดะอสยิทาธงิภถาูกพตอ งต า ม ข้ันตอน เพ่ือคุมครองปองกันและดูแลสุขภาพประชาชน จากฝุน PM2.5 33คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

1. วตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สาํ หรับกรณีฝุนละอองและหมอกควัน สามารถสื่อสาร ใหคาํ แนะนาํ ดูแลปองกันผลกระทบตอสุขภาพ จากฝนุ ละอองขนาดไมเกนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) 2. ขอบเขต เปนกรอบการดําเนินงานดานการปฏิบัติการภาคสนามทั้งสวนกลางกรมอนามัย และศูนยอนามัย รโดวยมมทกี ้ังรสะรบาวงนคกวาารมปรฏูคบิวาัตมิงาเขนาเรใม่ิจเตกัง้ ี่ยแวตก กับาวริธเตีกรายี รมปกฏาิบรกัตอิในนกเกาิดรภปัยองรกะัหนวผาลงกเกรดิะภทยับตแลอะสรุขะภยาะพฟจ้น าฟกูหฝลุนงั เกPิดMภ2ยั.5 เพอื่ ประชาชนสามารถกลับมาใชช วี ิตไดอยางปลอดภยั ลดความเสย่ี งทางสุขภาพ 3. หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ทีมภารกิจปฏิบตั กิ าร (Operation) ดา นอนามัยสิง่ แวดลอ มและสง เสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั 4. แผนผังแนวทางการทาํ งานรบั มอื ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข : กรณีภยั จากฝุ่นละอองและหมอกควัน มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วดั คุณภาพงาน ขนั้ ตอนท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรยี มความพรอมกอนเกิดภัยจากฝุนละอองและหมอกควนั 1 3 วัน - จดั ตง้ั คณะทาํ งาน มคี ําสง่ั แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศนู ยอนามยั - กําหนดบทบาหนา ที่ หรือหนังสือมอบหมาย - หนวยงาน - คณุ สมบตั ขิ องทมี ปฏบิ ตั กิ าร ผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง กาํ หนดผรู บั ผดิ ชอบ ตองผานการอบรม และ ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน และแบงบทบาทหนา ท่ี รบั ผดิ ชอบงานดา นอนามยั และคณะทาํ งาน สิ่งแวดลอม และสงเสริม สขุ ภาพ 2 2 วัน - จัดทําแผนการดําเนินงาน แผนการดําเนินงานทีม - ศนู ยอ นามัย ทีมปฏิบัติการ/ ทบทวน ปฏิบัติการในภาพรวม - หนวยงาน แผนการดาํ เนินงานที่มี ตงั้ แตก อ นเกดิ ภยั ระหวา ง สวนกลาง จดั ทาํ แผน/ ทบทวนแผน อยแู ลว และหลังเกดิ ภัย กรมอนามัย - ประสานทีม SAT(ขอมูล เพอื่ การเฝา ระวงั คาดการณ) เพื่อทราบพื้นที่เปาหมาย สาํ หรบั การเตรยี มความพรอ ม กอนลงพ้นื ที่ 34 คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วัด คณุ ภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 3 เตรยี มความพรอ ม การปฏบิ ตั งิ าน (คน/ เงิน/ ของ/ พาหนะ) 1 ครง้ั /ป - พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ - หลกั ฐานการประชมุ เชงิ - ศนู ยอนามัย และซอมแผน ปฏิบัติการ การเรียนรู - หนวยงาน - ประสานคณะ Logistic วชิ าการ หรอื การเขา รบั สว นกลาง ใ น ก า ร จั ด เ ต รี ย ม วั ส ดุ การอบรมของเจา หนา ท่ี อุปกรณ เชน หนากาก ในหนวยงาน อาจเปน N95/ สอื่ / Test kit/ ชดุ PPE อบรมแบบ Onsite หรอื และจัดเตรียมพาหนะ Online สาํ หรบั การเดนิ ทางลงพนื้ ที่ - รายการวัสดุอุปกรณ - ประสานคณะการเงิน จัด ทีต่ อ งจดั เตรยี ม/ จัดซอื้ เตรยี มงบประมาณเพอ่ื เปน - แผนงานโครงการรองรบั คาเบี้ยเล้ียงเจาหนาที่ การปฏิบัติงานของทีม คาประกันชีวติ คาเสี่ยงภยั ปฏบิ ัตกิ าร กรณฉี กุ เฉนิ จ า ก ฝุ น ล ะ อ อ ง แ ล ะ หมอกควัน ระยะเกดิ ภยั จากฝุนละอองและหมอกควัน 4 ตามความ - ตรวจสอบความพรอ มของ - แผนการลงพ้ืนที่ทีม - ศูนยอนามยั เหมาะสม พาหนะเดินทาง และวสั ดุ ปฏบิ ตั กิ ารราย setting/ - หนวยงาน 1 – 2 วนั อุปกรณท่ีจะใชลงพ้ืนท่ี กลุมเสีย่ ง สว นกลาง ใหพรอม เชน หนากาก - มีทีมปฏิบัติการพรอม N95/ สือ่ / Test kit ในการลงพื้นท่ี ½ วนั - จัดทําแผนการลงพื้นที่ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารและประสาน หนวยงานท่ีรับผิดชอบ การเตรยี มความพรอม ในพื้นที่ (สสจ./อปท.) กอนการลงพื้นที่ปฏบิ ตั กิ าร เพ่ือเตรยี มการสนับสนนุ ½ วัน - เตรยี มชดุ ความรู อุปกรณ เครอ่ื งมอื ตา งๆใหเ หมาะสม กับรูปแบบกลุมเปาหมาย ท่ีจะลงพ้นื ท่ี 1วัน - จัดเตรียมทีมและชี้แจง ซกั ซอ มบทบาทหนา ทกี่ อ น การลงพ้ืนที่ (ภายในทมี ) 35คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบตั ิการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วัด คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน 5 1 วนั ลงพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารโดยดําเนนิ สรุปผลการดาํ เนินงาน - ศนู ยอ นามยั การดงั น้ี ลงพื้นที่ - หนวยงาน 1. ลงพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารในระดบั สว นกลาง พนื้ ที่ โดยดําเนนิ การดังน้ี การลงพ้นื ท่ีปฏบิ ตั ิการ รูปแบบท่ี 1 ใหความรู เก่ียวกับชองทางการติดตาม สใหถคาํานแกนาะรนณํารในะดกบาั รPดMแู ล2ต.5นแเลอะง รปู แบบที่ 1 รปู แบบที่ 2 รปู แบบที่ 3 ขุมชน/ setting ศนู ยพ กั พงิ เพอ่ื ปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพ หมูบ า น ตา ง ๆ ชว่ั คราว จากฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอนใหเหมาะสม กับกลุมเปา หมาย รูปแบบท่ี 2 ลงพ้ืนที่ 1. ใหความรเู กย่ี วกับชองทางการ Setting ตาง ๆ เชนศูนย แลตะิดใตหาคมาํ สแถนาะนนกาํ าใรนณกราะรดดบัูแลPตMน2เ.อ5 ง เด็กเล็กฯ ศูนยดูแลผูสูงอายุ ใหเหมาะสมกับกลุม เปา หมาย เพอ่ื ใหค ําแนะนํา ความรู และ โดยใชเครื่องตรวจวัดฝุน (ถา ม)ี เพอื่ เฝา ระวงั ฝนุ ภายใน อาคารเบ้ืองตน และให 2. ตรวจสภาพแวดลอม คาํ แนะนาํ การจัดสภาพ ใหป ลอดฝุน โดยใช แวดลอ ม (หองปลอดฝุน) เคร่ืองตรวจวัดฝนุ / ใหค ําแนะนาํ การจดั รปู แบบที่ 3 กรณคี า ฝนุ สงู สภาพแวดลอม และมีการเปดศูนยพักพิง (หองปลอดฝนุ ) ชวั่ คราว(shelter)ดาํ เนนิ การ ตรวจสภาพแวดลอ มใหป ลอดฝนุ โดยใชเครื่องตรวจวัดฝุน 3. ใหคาํ แนะนาํ ภายในอาคาร/ใหคาํ แนะนาํ และสมุ ตรวจ และการจัดสภาพแวดลอม (หอ งปลอดฝนุ )และสขุ าภบิ าล เฝา ระวัง แ ล ะ อ น า มั ย สิ่ ง แ ว ด ล อ ม สุขาภบิ าล เชน สุขาภิบาลอาหาร และอนามัย น้ําดมื่ การจดั การขยะ นํ้าเสยี สิ่งแวดลอม ส่งิ ปฏิกลู หองสว ม ฯลฯ 6 1 วนั รายงานผลการลงพ้ืนที่หนา แบบฟอรม รายงานผล - ศูนยอนามัย เว็บไซดระบบบัญชาการ การดําเนินงาน ในระบบ - หนวยงาน ตอบโตส าธารณภยั กรมอนามยั บั ญ ช า ก า ร ต อ บ โ ต สวนกลาง ดังน้ี สาธารณภัยกรมอนามัย 1. จดั ทํา one page สรปุ ผล รายงานผลการดําเนินงาน การดําเนนิ งาน ลงพืน้ ที่ 2. รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ตามแบบฟอรม - PM_DOH1 การจัด สภาพแวดลอม - PM_DOH2 เฝาระวัง อาการ - PM_DOH3 รายงานผล 36 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัติการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตวั ชีว้ ดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ภาพงาน มาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน 3. จัดทํา weekly report เ พ่ื อ นํา เ ส น อ ผู บ ริ ห า ร (ทมี OP สวนกลาง) ระยะฟน ฟูหลงั เกิดภัยจากฝุนละอองและหมอกควนั 7 1 ครงั้ /ป สรปุ บทเรยี นการดาํ เนนิ งาน รายงานสรุปบทเรียน - ศูนยอนามัย ลงพน้ื ทที่ มี ปฏบิ ตั กิ าร (AAR) การดาํ เนนิ งานทมี ปฏบิ ตั กิ าร - หนวยงาน ในระดับตาง ๆ เชน สสจ. สวนกลาง สรุปบทเรยี นการดําเนนิ งาน ศูนยอ นามยั สว นกลาง ลงพน้ื ทีท่ ีมปฏบิ ตั กิ าร (AAR) 5. รายละเอยี ดข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน ระยะเตรียมความพรอ้ มก่อนเกิดภยั จากฝุ่นละอองและหมอกควัน 5.1 กาํ หนดผรู บั ผดิ ชอบและแบง บทบาทหนา ท่ี การกาํ หนดเจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบทไ่ี ดร บั มอบหมาย โดยมีความรูดานสาธารณสุขหรืออนามัยส่ิงแวดลอม ซึ่งเปนผูที่มีประสบการณในการดําเนินการ กรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ หรือผานการอบรมพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติการ ดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สําหรับกรณีฝุนละอองและหมอกควัน โดยอาจจัดต้ังในรูปแบบ คณะทาํ งานหรือบุคคลผไู ดรบั มอบหมาย เพ่อื กําหนดบทบาทหนาท่ีทไ่ี ดรบั มอบหมายใหช ดั เจน 5.2 จดั ทําแผน/ ทบทวนแผน เจา หนา ท่ีปฏบิ ัติการหรอื ผูรับผิดชอบทไ่ี ดร บั มอบหมาย ดําเนนิ การ จัดทําแผนและทบทวนแผนปฏิบัติการท่ีผานมา โดยจัดทาํ แผนในภาพรวมต้ังแตระยะเตรียมความพรอม กอ นเกดิ ฝนุ ละอองและหมอกควนั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะหลงั เกดิ ภยั โดยการประสานทมี SAT เพอื่ ขอขอ มลู สถานท่ีเสี่ยงสาํ คัญในพื้นที่ กลุมเส่ียง เพื่อทราบพ้ืนท่ีเปาหมายในการจัดทาํ แผนดาํ เนินงานครอบคลุม ดานการบริหารจัดการกาํ ลังคน งบประมาณ ส่ิงของและวัสดุอุปกรณตาง ๆ โดยแบงการดาํ เนินการเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะเตรียมการ (กันยายน - พฤศจิกายน) เปนระยะในการจัดทําแผนและแนวทาง การดาํ เนนิ งาน เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณใ หพ รอ มใชง าน ระยะวกิ ฤติ (ธนั วาคม - เมษายน) เปน การเตรยี มปฏบิ ตั กิ าร ในชวงปริมาณ โPดMย2เ.ฉ5 พสาูงะกโดลยุมจเสะี่ยตงอใงนเพตรื้นียทม่ี ลแงลพะื้นระทย่ีปะฏหิบลัตังิกเกาิดรสภื่อัยสา(พรใฤหษคภวาาคมมรูค-าํ แกนรกะนฎําาเคพมื่อ)ดูแเลปสนุขรภะายพะ ของประชาชน การทบทวนเพอ่ื สรปุ บทเรยี น ปญ หา อปุ สรรคและสรปุ ผลการดําเนนิ งาน เพอ่ื จดั ทําแผนการดาํ เนนิ งานตอ ไป 5.3 เตรียมความพรอม (คน/ เงิน/ ของ/ พาหนะ) 1) การเตรียมความพรอมของบุคลากร เจาหนาที่ผูรับผิดชอบท่ีไดรับมอบหมายจาํ เปนตอง ไดรับการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพ่ือเตรียมความพรอมปฏิบัติการดานสงเสริมสุขภาพและอนามัย สงิ่ แวดลอ ม สําหรับกรณีฝุน ละอองและหมอกควัน ซึ่งอาจเปนการจดั การอบรมในหนว ยงาน หรือเขารวมรบั การอบรมจากหนวยงานภายนอก หรือการเรียนรูผานหลักสูตรที่เก่ียวของในระบบออนไลน รวมถึงมีการ ซอมแผนอยางนอยปละ 1 ครงั้ 37คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

2) การเตรยี มความพรอมดา นงบประมาณ วัสดอุ ปุ กรณ และยานพาหนะ ทีมปฏิบัติการควร จดั ทํารายการวสั ดอุ ปุ กรณท จี่ าํ เปน สาํ หรบั การปฏบิ ตั งิ านในกรณฝี นุ ละอองและหมอกควนั เชน ชดุ นทิ รรศการ สอื่ ส่งิ พิมพ แผน พบั หนา กากปอ งกนั ฝนุ ชนดิ ตา ง ๆ (สาํ หรับสาธติ ) ชดุ สาธิตสาํ หรับแจก/ ของท่รี ะลกึ (ถามี) เครื่องตรวจวัดฝุนละอองภายในอาคาร พาหนะ คาเบ้ียเลี้ยง คาประกันชีวิต คาเส่ียงภัย และแบบฟอรม การรายงานผลดําเนินงาน QR code (PM_DOH1 - PM_DOH3) โดยประสานใหคณะทาํ งานLogistic ดําเนินการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณตาง ๆ โดยตองหมั่นตรวจสอบ วิเคราะหความตองการ ความเพียงพอ ความจําเปน ในการใชงาน อายุการใชง าน เพอ่ื เตรียมความพรอมอยเู สมอ ระยะเกิดภยั จากฝุ่นละอองและหมอกควนั 5.4 การเตรยี มความพรอ มกอ นการลงพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร เมอ่ื สถานการณฝ นุ ละอองเรมิ่ เขา สชู ว งวกิ ฤติ ทีมปฏิบัติการควรจัดทําแผนการลงพื้นท่ี โดยเนนพื้นที่เสี่ยงสาํ คัญ และกลุมเส่ียงกลุมเปราะบาง เชน ผูปวยโรคทางเดินหายใจ ผูปวยโรคหลอดเลือดและหัวใจ ผูปวยติดเตียง ผูสูงอายุ สตรีมีครรภ เด็กเล็ก กลุมดอยโอกาส (คนจรจัด) ผูประกอบอาชีพท่ีเส่ียงตอการรับสัมผัสมลพิษอากาศมากกวาคนท่ัวไป เชน ตํารวจจราจร คนขับรถสาธารณะ คนกวาดถนน พอคาแมคาริมถนน เปนตน โดยประสานกลุมเปาหมาย เกย่ี วกับ วัน เวลา และสถานที่ และความตองการการชว ยเหลือในเบื้องตน ท้ังน้ี กอ นลงพ้นื ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารควร มกี ารแบง บทบาทหนา ทภี่ ายในทมี ละชแ้ี จงรายละเอยี ดการลงพน้ื ท่ี ตรวจสอบความพรอ มของยานพาหนะและ วสั ดุอปุ กรณใ หค รบถว นกอ นลงพืน้ ที่ปฏิบัติงานจริง เชน ชดุ นทิ รรศการ ส่ือสิ่งพมิ พ แผน พับ หนา กากปองกนั ฝุนชนิดตาง ๆ (สําหรับสาธิต) ชุดสาธิตสําหรับแจก/ ของที่ระลึก เคร่ืองตรวจวัดฝุนละอองภายในอาคาร (ขึ้นอยูกับรูปแบบกิจกรรมและสถานที่) และแบบฟอรมรายงานผลปฏิบัติงาน QR code ประกอบดวย แบบฟอรม PM_DOH1 แบบสํารวจการจัดการดานส่ิงแวดลอมสาํ หรับบานเรือนและอาคารสาธารณะ 4กรhณeี aPlMth2_.5PแMบ2บ.5ฟอแรลมะแPบMบ_ฟDอOรHม2 แบบสํารวจผลกระทบตอสุขภาพและพฤติกรรมการปองกันตนเอง ขนาดไมเกนิ 2.5 ไมครอน PM_DOH3 รายงานผลการลงพื้นที่ทีมปฏิบัติการ กรณีฝุนละออง 5.5 การลงพื้นที่ปฏิบัติการ ทีมปฏิบัติการดาํ เนินการลงพ้ืนท่ี เพ่ือสื่อสารและใหคาํ แนะนํา ในการปอ งกนั ผลกระทบตอสขุ ภาพจากฝนุ ละอองและหมอกควันรวมกบั หนว ยงานอนื่ ๆ ท่ีเก่ียวของ ในพ้ืนที่ เชน สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด โดยการลงพืน้ ทีป่ ฏบิ ัติการ มี 3 รูปแบบ ประกอบดวย 1) รปู แบบที่ 1 การลงพน้ื ทใ่ี หค วามรทู ว่ั ไป/ การเยยี่ มบา น/ เฝา ระวงั อาการ โดยใชเ ครอื่ งมอื แ4กลาhระeปใaหอltคงhกวันาPมตMรน2ูแ.เ5อกกงปรรม4ะอชนhาeาชมaนlัยt/hหกรPอืลMใุมช2เแ.ส5บ่ียเบงพกฟื่อลอสุมราํ เมรปวPรจMาอะ_าบกDาาOงรHแต2ลาะแมพบคฤบําตแสิกาํนรระรวนมจาํ ผใในลนกกการาระรปทปอบฏงติบกอันัตสติตุขนนภเสาอําพงหแจรลาับกะปพฝุนรฤะลตชะิกาอรชรอนมง เกพรอ่ืมปออนงากมนั ัยผลเรกื่อรงะทคบาตเฝอ าสรขุ ะภวาังพผจลากกรฝะนุทลบะตอออสงุขขภนาาดพไจมาเ กกฝนิ ุน2ล.ะ5อไอมงคขรนอานดเล(P็กMใน2.5บ)รใรนยบารกรายศา)กาโดศย(พปิจราะรกณาศา ใหคําแนะนาํ ประชาชนใหเหมาะสมตามคาระดับปริมาณ PรMะด2บ.ั 5 ปเาฉนลก่ียลา2ง4 ชม. (มคก./ลบ.ม.) ซึ่งแบงเปน 5 ระดับ ไดแก ระดบั ดมี าก (0 - 25), ระดบั ดี (26 - 37), (38 - 50), ระดบั เรม่ิ มผี ลกระทบ ตอ สขุ ภาพ (51 - 90) และระดับมีผลกระทบตอสุขภาพ (91 ขึ้นไป) และแนะนําใหประชาชนควรติดตาม สถานการณคุณภาพอากาศทางเว็บไซต แอปพลิเคชัน Air4thai กรมควบคุมมลพิษ หรือติดตามขาวสาร ตผดิามปชกอ ตงขิ ทอางงรตา า งงกๆายเชแนละเคพนจใ“นคคนรรอกั บอคนราัวมโยั ดใยสเฉใ จพอาาะกเาดศ็กเPลMก็ 2ผ.5”สู ูงรอวามยถุ งึแแลนะะผนมู ําโี ใรหคปปรระะชจาําชตนัวหหมาน่ั กสพงั บเกอตาอกาากรไาอร แนนหนาอก วงิ เวยี นศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน หรอื อาการผดิ ปกติทางรางกายอื่น ๆ ควรรีบปรึกษาแพทยทันที 38 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

2) รูปแบบที่ 2 การลงพื้นที่ใน setting ตาง ๆ ไดแก โรงเรียน ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศนู ยด ูแลผสู ูงอายุ ชุมชน บานเรือน เพ่อื ใหค าํ แนะนํา ความรใู นการปฏบิ ตั ติ นสาํ หรับประชาชนเพือ่ ปองกัน ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากฝนุ ละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในบรรยากาศ และแนะนาํ ใหป ระชาชน ควรติดตามสถานการณค ณุ ภาพอากาศทางเว็บไซต/ แอปพลเิ คชัน Air4Thai กรมควบคุมมลพษิ หรือติดตาม ขาวสารตามชองทางตาง ๆ เชน เพจ “คนรักอนามัย ใสใจอากาศ PM2.5” รวมถึงแนะนาํ ใหประชาชน หมนั่ สงั เกตอาการผิดปกตขิ องรางกายและคนในครอบครวั โดยเฉพาะเด็กเล็ก ผูสงู อายุ และผูมีโรคประจาํ ตัว หากพบอาการไอ แนน หนา อก วิงเวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจยี น หรอื อาการผิดปกติทางรา งกายอื่น ๆ ควรรบี ปรึกษาแพทยทันที พรอมท้ังมีการสํารวจสภาพแวดลอมและใหคาํ แนะนาํ ในการจัดสภาพแวดลอม ใน setting ตาง ๆ โดยอาจใชเครื่องตรวจวัดฝุน เพ่ือเฝาระวังฝุนภายในอาคาร และใหคาํ แนะนําการจัด สภาพแวดลอม หรอื จัดหองปลอดฝุนตามความเหมาะสมของสถานท่ี 3) รูปแบบที่ 3 การลงพื้นทศ่ี นู ยพ กั พงิ ชว่ั คราว (shelter) เมือ่ มสี ถานการณฝ ุนสูงถงึ ข้นั มีการเปดศูนยพักพิงชั่วคราว เพื่ออพยพประชาชนที่ไดรับผลกระทบออกจากพ้ืนท่ีชั่วคราว ทีมปฏิบัติการ ตองดําเนินการใหคําแนะนําการจัดสภาพแวดลอมใหปลอดฝุนในพักพิงช่ัวคราว และการจัดสุขาภิบาลและ อนามยั สิ่งแวดลอม เชน สขุ าภบิ าลอาหาร น้ําดืม่ การจดั การขยะ นา้ํ เสีย สิ่งปฏิกูล หอ งสวม โดยดําเนนิ การ ดงั น้ี (1) สาํ รวจความเหมาะสมของสถานที่ตั้งศูนยพักพิงช่ัวคราวใหมีระยะหางที่เพียงพอ โดยตัง้ อยูบ รเิ วณเหนือลม และเปน จดุ ท่ีไมไดร บั ผลกระทบจากมลพษิ อากาศ (2) ใชเครื่องตรวจวัดคาฝุนภายในศูนยพักพิงชั่วคราว เพ่ือเฝาระวังฝุนภายในอาคาร และใหคาํ แนะนําการจัดสภาพแวดลอม หรือจัดหองปลอดฝุนตามความเหมาะสม ของสถานที่ สามารถสืบคนขอ มูลไดท เ่ี วบ็ ไซต : http://hia.anamai.moph.go.th/ download/hia/manual/book/2563/book93.pdf (3) ประเมินความเพียงพอของสวม ใหเหมาะกับจํานวนผูอพยพ และประสานทองถ่ิน ใหด าํ เนินการสูบสง่ิ ปฏิกลู ไปกาํ จดั ตามกาํ หนด (4) จดั ใหม ถี งั ขยะแบบแยกประเภทมฝี าปด มดิ ชดิ ใหเ พยี งพอ และประสานทอ งถน่ิ เกบ็ ขน ไปกาํ จัดทุกวนั (5) กรณีท่ีมีการจัดเตรียมอาหารและน้าํ เพื่อแจกจายใหกับประชาชน ทีมปฏิบัติการ ควรมีการสุมตรวจการปนเปอนของเชื้อโคลิฟอรมแบคทีเรียในนา้ํ อุปโภคบริโภค และอาหาร (6) ตรวจปรมิ าณคลอรนี อสิ ระคงเหลอื ในนํ้าอปุ โภคทใ่ี ชใ นศนู ยพ กั พงิ ชวั่ คราวใหไ ดม าตรฐาน และมีการตรวจเฝา ระวังความเสยี่ งคุณภาพน้าํ ทง้ิ อยางตอ เนอื่ ง (7) ประเมินสภาพแวดลอมทั่วไป เชน ความแออัด การระบายอากาศ ความสวาง ความปลอดภัยทางสขุ ภาพ เปน ตน 39คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

5.6 รายงานผลการดาํ เนนิ งานลงพน้ื ท่ี โดยทมี ปฏบิ ตั กิ ารรวบรวม วเิ คราะห และสรปุ ผลจดั ทาํ รายงาน ผลการปฏิบัติงานในแตละครงั้ ที่ลงพน้ื ที่ ประกอบดว ย One Page ระบุกจิ1ก)รรรมายวงันาเนวลผาลสกถาารนลทงี่ พพรื้นอ ทม่ีปรปูฏภิบาัตพิกผาา รนทPาMงไ2ล.5นกโดลมุยจPัดMท2าํ.5 DOH เพ่ือรายงานใหผูบริหารทราบและอัปโหลดในเว็บไซต คณะทาํ งานตอบโต ภาวะฉุกเฉินฯ กรมอนามัย (https://eoc.anamai.moph.go.th/th/opera- tion-team/) PM_DOH3 รายง2า)นผราลยกงาารนลผงพลื้นกทารี่ทลีมงปพฏนื้ ิบทัตท่ี ิกมี าปรฏกบิ รตั ณกิ ีฝาุนรลกะรอณองฝี ขนุ นาPดMไม2.เ5ก(ินGo2o.5glไeมคfoรอrmน )โดแยบสบาฟมอารรถม เขา ระบบเพอ่ื รายงานผานลงิ กคณะทาํ งานตอบโตภ าวะฉกุ เฉินฯ กรมอนามยั ในสวนของทมี ปฏบิ ตั ิการ กรณี ฝุนละอองและหมอกควนั ทง้ั น้ี ทมี วชิ าการ (กองประเมนิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ) รวบรวมและสรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานเสนอ ผบู ญั ชาการเหตุการณ EOC กรมอนามยั รายวนั หรือรายสปั ดาห ขน้ึ กับความรนุ แรงของสถานการณ ภัยจากฝุ่นละอองและหมอกควัน 5.7 สรุปบทเรียนการดาํ เนินงานลงพื้นที่ทีมปฏิบัติการ (AAR) ในระดับตาง ๆ เชน สสจ. ศูนยอนามัย สวนกลาง ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ทีมปฏิบัติการตองจัดทําขอมูลรายงาน ผลการดําเนนิ งานของทมี ปฏบิ ตั กิ ารในแตล ะระดบั ทง้ั สว นกลาง และศนู ยอ นามยั เพอ่ื สรปุ ภาพรวมตามบทบาท หนา ที่ ทงั้ 3 ระยะ ปญ หาทพ่ี บ และขอ เสนอตอ การดําเนนิ งาน เพอื่ เสนอผบู รหิ ารเพอื่ ทราบ โดยขอ มลู ดงั กลา ว อาจใชป ระกอบการปรบั ปรงุ แผนการดาํ เนนิ งาน เพอื่ ใหม คี วามครอบคลมุ และลดชอ งวา งการดําเนนิ งานรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ กรณีฝนุ ละอองและหมอกควนั ในปถัดไป 40 คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั ิการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ชอ่ื กระบวนงาน ประเภท สําหรับทมี Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภยั จากสารเคมี ดานอนามยั ส่งิ แวดลอ ม วันทเ่ี รมิ่ ใช 15 ก.พ. 2566 และสงเสรมิ สขุ ภาพ รองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ จาํ นวน 13 หนา ผูจดั ทํา สาํ นักอนามยั สิ่งแวดลอ ม ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถงึ เหตุการณท่กี อใหเกิดโรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซง่ึ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททก่ี อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยมีลักษณะทาํ ใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปนเหตุการณที่ผิดปกติหรือไมเคยพบมากอน มีโอกาสที่จะแพรไปสูพ้ืนที่อ่ืน และตองจาํ กัดการเคล่ือนท่ี ของผูคนหรือสินคา ตัวอยางภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เชน อุทกภัย ดินโคลนถลม สึนามิ หมอกควัน ฝุนละอองขนาดเลก็ ภัยจากสารเคมีและกัมมนั ตรังสี เปน ตน ปจ จบุ ันภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยมีการพัฒนาและขยายตวั มากข้นึ มกี ารนําสารเคมีตา ง ๆ มาใชต งั้ แตก ระบวนการผลติ การนํามาใชเ ปน สว นประกอบการผลติ ตลอดจนใชส ําหรบั การเกบ็ รกั ษาผลติ ภณั ฑ ตา ง ๆ ซง่ึ ในการเก็บรกั ษา ขนสง หรือการใชสารเคมนี ัน้ หากขาดความระมดั ระวังและขาดการบํารงุ รกั ษา อยางตอเนื่องอาจทาํ ใหเกิดอุบัติภัยจากสารเคมีได ไมวาจะเปนการลุกไหมจากความรอน การระเบิดของ สารเคมี รวมถึงการร่ัวไหลซ่ึงหากประชาชนไดรับสัมผัสในปริมาณที่มากเกินไป อาจสงผลใหเกิดผลกระทบ ตอ สุขภาพได คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 41 ของทีมภารกจิ ปฏิบัตกิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ดงั นน้ั เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพภายใตส ถานการณก ารเกดิ ภยั ฉกุ เฉนิ จากสารเคมไี ดอ ยา งเปน ระบบ หนว ยงานรบั ผดิ ชอบมรี ปู แบบกระบวนการดาํ เนนิ การทชี่ ดั เจนเปน ไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั จงึ กําหนดใหม มี าตรฐานการจดั การอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข (Standard Operating Procedure : SOP) สาํ หรับเจาหนาท่ีใชเปนแนวทางในการ ปฏิบัตกิ ารในชวงเกดิ สถานการณไ ดอยางมปี ระสิทธิภาพตอไป 1. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานขอทีมปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สาํ หรบั กรณภี ยั พบิ ตั จิ ากภยั จากสารเคมี สามารถลดความเสย่ี งและผลกระทบตอ สขุ ภาพประชาชนทป่ี ระสบภยั 2. ขอบเขต เปนกรอบการดาํ เนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม รวมท้ัง การสงเสริมสุขภาพภายใตสถานการณภ ยั จากสารเคมี เพ่ือใหเจาหนาที่ท่ีมภี ารกิจการดําเนินงานดานอนามยั ส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สามารถใชเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมรับมือกับภัยจากสารเคมี โดยกระบวนการปฏบิ ัตงิ านเร่ิมต้ังแต การเตรยี มการกอนเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟนฟหู ลงั เกดิ ภยั เพ่อื ประชาชนสามารถกลบั มาใชช วี ติ ไดอยา งปลอดภัยลดความเส่ยี งทางสขุ ภาพ 3. หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ทมี ภารกจิ ปฏิบัติการ (Operation) ดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสงเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย 4. เอกสารอ้างองิ 1. สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ , 2564. 2. กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . แผนการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ. 2558. ม.ป.ท., 2558. 3. กรมควบคมุ โรค. คมู อื การเตรยี มตวามพรอ มและตอบโตภ าวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ กรณอี บุ ตั ภิ ยั สารเคมี, 2564. 4. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. คูมือแนวทางปฏิบัติงานทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) สาํ หรับ การเผชญิ เหตุและฟน ฟูดานการแพทยแ ละสาธารณสุขตอ โรคและภัยพบิ ตั ิ, 2565. 5. สํานักอนามัยสงิ่ แวดลอม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . คูมือการจัดการอนามยั สงิ่ แวดลอม และสงเสรมิ สขุ ภาพสาํ หรบั ศูนยพกั พิงชว่ั คราว, 2565. 6. สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ SEhRT book สําหรับ ทมี ปฏิบัตกิ ารดานอนามยั สง่ิ แวดลอ ม, 2565. 7. World Health Organization. International Health Regulation: IHR. 2005. 8. World Health Organization. Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 – 2030. 42 คู่มอื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

5. แผนผงั แนวทางการทํางานรบั มอื ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข : ภยั จากสารเคมี มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชี้วัด คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรยี มการกอนเกดิ ภยั จากสารเคมี 1 3 วนั มีการกําหนดผูรับผิดชอบ - มคี ําสง่ั แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศนู ยอนามยั และบทบาทหนา ท่ีโดยเจา หนา ที่ หรือหนังสือมอบหมาย - หนว ยงาน ตอ งผา นกระบวนการเรยี นรู ผรู บั ผดิ ชอบทมี่ คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน หรือฝกอบรมหลักสูตร - หลักฐานการเขารวม ที่เก่ียวของกับการจัดการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ กําหนดผรู ับผิดชอบ/ การสุขาภิบาล สุขอนามัย การเรียนรูวิชาการ กาํ หนดบทบาทหนา ท่ี อนามยั สงิ่ แวดลอ ม ประเดน็ หรือรับการอบรมของ ท่ีเก่ียวของ อยางนอยปละ เจาหนาท่ีในหนวยงาน 1 คร้ัง หรือมีประสบการณ อาจเปนอบรมแบบ การทํางานดานอนามัย Onsite หรือ Online สง่ิ แวดลอ มอยางนอย 1 ป 2 5 วนั มีการจัดทําแผนเผชิญเหตุ แผนปฏบิ ตั กิ ารทเี่ กยี่ วกบั - ศูนยอ นามยั จดั ทําแผนเตรียมพรอม หรือแผนปฏิบัติการหรือ การจดั การดา นสขุ าภบิ าล - หนว ยงาน แผนเผชิญเหตุ กิจกรรมดาํ เนินการ พรอม สุขอนามัย และอนามัย สว นกลาง หรือแผนปฏิบัตกิ ารรองรบั กาํ หนดบทบาทความรบั ผดิ ชอบ สิ่งแวดลอมรองรับการ ภาวะฉกุ เฉินและภัยพิบัติตาง ๆ กรณีเกดิ ภัยจากสารเคมี เกิดภัยจากสารเคมีหรือ เปนภาพรวม 3 1 - 3 วัน มีการจัดทาํ รายการวัสดุ มีขอมูล Stock วัสดุ - ศนู ยอนามัย อุปกรณ สาํ หรับสนับสนุน อุปกรณสนับสนุนดาน - หนว ยงาน จดั ทํารายการวสั ดุ อปุ กรณ ดานสุขาภิบาล สุขอนามัย สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ สว นกลาง ทีเ่ หมาะสมตามประเภทภยั และอนามัยส่ิงแวดลอม อนามยั สงิ่ แวดลอ มรองรบั และประสาน Logistic แกผูประสบภัยอยางนอย กรณีภัยจากสารเคมี เพ่ือจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ ปละ 1 คร้ัง และประสาน พรอ มมแี ผนเตรยี มพรอ ม ทีม Logistic เพื่อจดั เตรยี ม จดั ซื้อเพิ่มเติม ใหเพียงพอ อปุ กรณใหเพยี งพอ 4 3 วัน จัดกระบวนการซอมแผน มีหลักฐานกิจกรรมการ - ศูนยอ นามัย ซอ มแผนสาํ หรบั หนวยงาน โดยอาจกําหนดสถานการณ ซอ มแผนรองรบั กรณเี กดิ - หนว ยงาน (ซอมภายในหนวยงานหรือ จําลองเพอื่ มกี ลไกการทํางาน สาธารณภยั สวนกลาง ที่ชัดเจน และควรซอมแผน ซอมรวมกบั หนวยงาน อยา งนอยปล ะ 1 ครั้ง ที่เกยี่ วของ) 5 รว มจัดทาํ ฐานขอ มลู พนื้ ฐาน 5 วัน มีการประสานหนวยงาน มีขอ มูลเบอื้ งตน ดงั น้ี - ศนู ยอนามยั เกีย่ วกบั โรงงานสารเคมใี นพ้ืนท่ี และคณะทํางานที่เก่ียวของ - มีฐานขอมูลโรงงาน - หนวยงาน เพ่อื รว มจดั ทําขอ มลู ไดแ ก สารเคมีในพื้นท่ี/ พื้นที่ สวนกลาง และจดั ทาํ เนียบผูเช่ยี วชาญ 1. ฐานขอ มลู โรงงานสารเคมี ทเ่ี คยประสบเหตภุ ยั จาก หนว ยงานทเ่ี กย่ี วของ ในพน้ื ท/ี่ พน้ื ทที่ เี่ คยประสบ สารเคมี/ พ้ืนที่เสี่ยง/ พรอมชอ งทางการตดิ ตอ เหตภุ ยั จากสารเคม/ี พน้ื ที่ กลมุ เสยี่ ง/ กลมุ เปราะบาง เสยี่ ง/กลมุ เปราะบางในบรเิวณ ในบริเวณใกลเ คยี ง ใกลเคียง 43คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วดั คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน 2. จดั ทาํ ทาํ เนยี บผเู ชย่ี วชาญฯ - มีทําเนียบผูเชี่ยวชาญฯ - ศนู ยอนามัย หรอื หนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง หรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง - หนว ยงาน ท้งั ภาครฐั เอกชน พรอม ทงั้ ภาครฐั เอกชน พรอ ม สวนกลาง ชอ งทางการติดตอ และมี ชอ งทางการตดิ ตอ กรณี การแจงเวียนเพ่ือทราบ ทเ่ี กดิ เหตภุ ยั จากสารเคมี ในหนว ยงาน ท้งั น้ี ควรมี การทบทวนขอ มลู อยา งนอ ย ปละ 1 ครัง้ ระยะเกดิ ภัยจากสารเคมี ขณะ มีการประสานงานทีม SAT มีขอมูลรายงานพ้ืนท่ี - ศูนยอ นามยั เกิดภยั เพอ่ื ตดิ ตามขอ มลู สถานการณ ประภัยและประชาชนท่ี - หนวยงาน 6 เบ้ืองตน เพ่ือวิเคราะห ต อ ง ดาํ เ นิ น ก า ร เ ข า สวนกลาง ประสานงาน ติดตาม สถานการณและเตรยี มความ ชว ยเหลือ สถานการณเบ้ืองตน พรอ ม เชน พนื้ ทปี่ ระสบภยั / จากทมี SAT หรอื หนว ยงาน จาํ นวนและท่ีตั้งศูนยพักพิง ทเ่ี กยี่ วของ และจดั ทําขอ มูล ช่วั คราว/ จํานวนประชาชน สถานการณเพ่ือรายงาน ที่ตองการความชวยเหลือ ประธานทมี ปฏิบัติการ OP เปน ตน และรายงานสถานการณ ตอ ประธานทมี ปฏบิ ตั กิ ารOP 7 1 - 3 วนั มีการจัดทาํ รายการวัสดุ มสี ง่ิ ของวสั ดุอปุ กรณและ - ศนู ยอ นามยั อปุ กรณ และส่งิ สนบั สนุนที่ สิ่งสนับสนุนท่ีจําเปน - หนวยงาน ใชในการลงพ้ืนท่ี และ ดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั สว นกลาง ประสาน Logistic เพอ่ื จัดเตรยี ม ประสานงานทีม Logistic และอนามัยส่ิงแวดลอม วสั ดุ อุปกรณ ส่งิ สนบั สนุน เพื่อจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ เพียงพอกบั ผูประสบเหตุ ในการลงพ้ืนที่ เชน หนา กากปอ งกนั อนั ตราย จากสารเคมี/ชุดเฝาระวัง DOH Test kit 8 ประเมินความเสยี่ ง/ ขึ้นกบั ระยะ เขาชวยเหลือประชาชน มีสรุปผลการดําเนินงาน - ศูนยอนามยั เฝาระวังผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น เกดิ ภยั ที่ประสบภัย และไดรับ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง - หนว ยงาน ผลกระทบในชุมชนและ ดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั สวนกลาง ไมม ีการเปด ศูนยพักพงิ เปดศนู ยพกั พงิ ศูนยพักพิงชั่วคราว โดย และอนามัยส่ิงแวดลอม ชมุ ชน ศูนยพกั พิง เฝา ระวงั สขุ ภาพของประชาชน ในชุมชนหรือศูนยพักพิง ทไี่ ดร ับ ช่วั คราว 1. คาดการณและประเมิน ชั่วคราว ผลกระทบ ค ว า ม เ ส่ี ย ง ผ ล ก ร ะ ท บ ตอสุขภาพประชาชนจาก คาดการณแ ละประเมนิ ความเสยี่ ง สารมลพิษท่ีเกิดขึ้น เพื่อ ผลกระทบตอสขุ ภาพประชาชน แจงเตือนประชาชนท่ีมี จากสารมลพษิ โดยใชโ ปรแกรม ALOHA, WISER ฯลฯ แนวโนม อาจไดร บั ผลกระทบ จากการแพรกระจายของ มลพษิ 44 คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook