Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

คู่มือใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

Published by Au Kittipak Choowong, 2021-02-06 07:51:59

Description: คู่มือใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาาสตร์

Search

Read the Text Version

คำนำ คมู่ ือการใช้งานหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ฉบับนี้ เรียบเรียงขน้ึ เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการ สอน และการใช้ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ให้มีความปลอดภัยมากที่สุด ซึ่งผู้จัดทำได้ทำการศึกษาและ รวบรวมเอกสารทเ่ี ก่ียวข้องกับการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ อปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ และความปลอดภัยใน การใช้เครื่องมอื ทางวิทยาศาสตร์ มาจากแหล่งขอ้ มูลทีน่ ่าเชื่อถือ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปศึกษา และเป็นแนวทางปฏิบัติงานของครู นักเรียน และผู้ที่สนใจท่ัวไป การเรียบเรียงครั้งน้ีได้รับการอนุเคราะห์จากผูว้ ิจัย ผู้เชี่ยวชาญ และคณาจารย์ ด้าน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกท่านที่เก่ียวขอ้ ง และเจ้าหนา้ ห้องปปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ โรงเรยี นกัลยาณวตั ร จึง ใคร่ขอขอบพระคุณทกุ ๆ ทา่ นท่ีช่วยเหลอื ให้ค่มู อื เล่มน้สี ำเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี คณะผูจ้ ัดทำ 2564

ระเบยี บการใช้ห้องปฏิบตั ิการ อุปกรณ์ และเครอ่ื งมือวิทยาศาสตร์ ระเบียบการใช้ห้องปฏบิ ตั ิการ อุปกรณ์ และเครือ่ งมอื วทิ ยาศาสตร์ ของห้องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรยี นกัลยาณวตั ร มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ครู บคุ ลากร และนกั เรียน ในโณงเรยี นกัลปย์ าณวัตร ท่ปี ระสงค์จะใชห้ อ้ งปฏบิ ัติการ อปุ กรณ์ และ เครอ่ื งมือวิทยาศาสตร์ จะต้องตรวจสอบตารางการใชห้ อ้ งก่อน หากหอ้ งว่างก็สามารถทำการจองดดกรอกข้อมูลลง ในแบบฟอร์มการใชห้องให้เรียบร้อย โดยจองลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 1 วนั กอ่ นใชง้ าน 2. การเบิก-ยมื เคร่ืองมือ วสั ดวุ ิทยาศาสตร์ และอ่ืน ๆ ให้ทำการติดต่อเจา้ หน้าท่ีหอ้ งปฏบิ ัติการ เพื่อ ตรวจสอบเคร่อื งมือ และเพอื่ ให้เจ้าหน้าท่ีจัดเตรียมไวใ้ ห้ โดยแจง้ เจา้ หนา้ ทลี่ ่วงหน้าอย่างนอ้ ย 1 วนั 3. ก่อนใช้อปุ กรณ์ตอ้ งทำการตรวจเชค็ ก่อนทุกครั้ง ถ้าอปุ กรณช์ ำรดุ ตอ้ งแจง้ ให้เจ้าหน้าท่ที ราบทันที 4. ควรแตง่ การใหส้ ภุ าพ เรยี บร้อย เมอ่ื มาปฏิบัติงาน และควรใสเ่ สอื้ ปฏบิ ัติการทุกครง้ั ท่ีปฏิบัตงิ านใน ห้องปฏบิ ตั กิ าร เพื่อความปลอดภัย 5. ครู นักเรยี น และผู้ขอใชบ้ รกิ ารตอ้ งรบั ผดิ ชอบดูแลความเรียบรอ้ ยของห้องปฏิบตั กิ ารและ เครื่องมอื ท่ีขอใช้ 6. ครู นกั เรยี น และผขู้ อใชบ้ รกิ ารต้องเตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ และสารเคมีที่ประกอบการใชเ้ คร่ืองมือมา เอง และเกบ็ ใหเ้ รียบร้อยทุกคร้งั หลงั การใชง้ านในแต่ละวนั ห้ามมใิ ห้วางวสั ดุอุปกรณส์ ว่ นตัวทิง้ ไวบ้ นพ้ืนที่ส่วนรวม อย่างเด็ดขาด หากมีการฝ่าฝืนจะไมร่ บั ผิดชอบในความเสียหาย หรือสญู หายของอุปกรณ์เหลา่ นั้น 7. ใหท้ ำการตดิ ฉลากสารละลายที่เตรยี มทุกขวด/หลอด โดยเขยี นช่อื สารละลาย และวนั /เดือน/ปี ท่ี เตรยี ม ขวดสารละลายหรือหลอดทดลองทีไ่ มม่ ีการตดิ ฉลากจะถกู กำจดั ออกไป โดยไม่จำเปน็ ต้องแจ้งให้ทราบ ลว่ งหน้า 8. การใช้เคร่ืองมอื ใด ๆ ให้ปฏิบตั ิตามค่มู อื การใช้เครอ่ื งมอื เสมอ โดยจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามข้อควรระวัง และข้อควรปฏิบตั ิของแต่ละเครอ่ื งอยา่ งเครง่ ครดั หากเกดิ เหตุขัดขอ้ งในการใชง้ านหรือเกดิ การชำรุดเสยี หายให้ แจง้ เจ้าหนา้ ที่ทมี่ หี น้าท่ีดูแลโดยทันที 9. ห้ามเคล่อื นย้ายอุปกรณท์ กุ ชน้ิ ออกนอกห้องก่อนไดร้ บั อนญุ าต 10. หลงั การใชเ้ ครื่องมอื แล้ว ผใู้ ช้บริการตอ้ งทำความสะอาด และจดั เคร่อื งมือให้อยูใ่ นสภาพ เรยี บรอ้ ยพรอ้ มใชง้ านได้ต่อไป 11. ห้ามนำอาหาร หรอื เครอ่ื งดื่มทุกชนดิ เข้ามาในห้องปฏิบัตกิ ารโดยเด็ดขาด

ข้อควรระวัง และการแกไ้ ขการเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นห้องปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ การทำงานไม่ว่าจะเป็นเรื่องใด ณ สถานที่ใด ย่อมมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุขึ้นได้เสมอ แต่ถ้ามีมาตรการ ความปลอดภยั ที่บงั คับใช้ อบุ ตั ิเหตจุ ะมีโอกาสเกิดข้ึนนอ้ ย เพราะการเกิดอุบัติเหตไุ มไ่ ด้ข้ึนกับเคราะห์ กรรม หรือ โชคชะตาของผู้หนึ่งผู้ใด แต่การเกิดอุบัติเหตุมักเกิดขึ้นเมื่อการเลือกตัดสินใจทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งผิดพลาดไป หรือผู้ ปฏิบัติขาดความเอาใจใสใ่ นงานท่ีทำหรือละเลยเรื่องความปลอดภยั การทำงานในห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี นอกจากอันตรายทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นได้แล้ว ยังมี อันตรายอันเนื่องมาจากธรรมชาติของสารเคมี รวมทั้งอุปกรณ์เครื่องแก้วและการทำงานบางอย่างที่มี ลักษณะเฉพาะ ดังนั้นผู้ปฏบิ ตั ิงานในห้องปฏิบัติการทกุ คนตอ้ งเพ่ิมความระมัดระวงั มากข้ึนกว่าปกติ อันตรายของ สารเคมมี ีหลายรปู แบบ บางชนิดเป็นอันตรายนอ้ ย บางชนดิ ก่อใหเ้ กิดอันตรายรนุ แรง ไดแ้ ก่ สารไวไฟ สารระเบิดได้ สารออกซิไดส์ สารกัดกร่อน สารระคายเคือง สารพิษ สารกัมมันตรังสี และสารก่อให้ทารกมีลักษณะผิดปกติ จึง ต้องทำงานกับสารเคมีดว้ ยความเอาใจใส่ และคำนึงถงึ เรือ่ งความปลอดภัยเป็นอันดับแรกเสมอ โดยอัตรายที่อาจ เกดิ ขนึ้ ในห้องปฏิบตั กิ ารมี ดงั นี้ 1. ไฟไหม้ เปน็ อุบัตเิ หตทุ ่ีมักเกิดข้นึ ในห้องปฏิบัตกิ ารเสมอ เมอ่ื มกี ารใชต้ ัวทำละลายอินทรีย์ หรือใช้อุปกรณ์ให้ ความรอ้ น เชน่ การใชต้ ะเกยี งแอลกอฮอล์ วธิ ีปอ้ งกันท่ดี ีทส่ี ุด คอื ไมใ่ ช้หรือไมป่ ลอ่ ยให้มเี ปลวไฟในห้องปฏิบัติการ การตม้ ตวั ทำละลายอินทรีย์ตอ้ งทำในอ่างน้ำร้อนเท่านั้น ห้ามให้รอ้ นบนฮอ็ ตเพลตโดยตรง และไมค่ วรปล่อยตัวทำ ละลายอินทรีย์ท่ีระเหยง่ายไว้ในบีกเกอร์โดยไม่มีฝาปิด เพราะไอของตัวทำละลายจะแผ่ปกคลุมไปตามโต๊ะ ปฏบิ ตั กิ าร และเมื่อติดไฟแล้วจะลุกลามมาทบ่ี ีกเกอรต์ ้นเหตุ ทำให้เกดิ ไฟไหมร้ ุนแรงได้ วิธแี กไ้ ขเมอ่ื เกดิ อบุ ัตเิ หตุ ต้องรบี ดับตะเกยี งในห้องปฏบิ ัติการให้หมด แลว้ นำสารท่ตี ิดไฟงา่ ยออกจาก ห้องปฏิบัติการให้หา่ งที่สุด เพ่อื ไมใ่ หส้ ารเหล่านี้เป็นเชอื้ เพลิงได้ ในกรณที ี่เกิดไฟไหม้เลก็ นอ้ ย เช่น เกิดในบีกเกอร์ หรือภาชนะแกว้ อื่น ๆ ที่ใช้ในการทดลอง จะดับไฟที่เกิดน้ีได้ โดยใช้ผ้าขนหนูที่เปียกนำ้ คลุม แต่ถ้าหากไฟลุกลาม ออกไปบนโต๊ะปฏบิ ตั กิ ารหรือเกดิ ในบรเิ วณกว้าง จะตอ้ งใชเ้ ครอื่ งดบั เพลิงเขา้ ช่วยทนั ที 2. ผิวหนังไหม้เกรียม อุบัติเหตุเล็ก ๆ ที่เกิดขึ้นบ่อยมาก คือ ผิวหนังไหม้เกรียม สาเหตุอาจเกิดจากสารเคมีกกรดตาม ร่างกาย และการทำงานที่เก่ียวกับความร้อน เนอ่ื งจากสารเคมีหลายประเภท เช่น กรดและเบส มีสมบัติกัดกร่อน ต่อผิวหนัง จึงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง ถ้าหกเลอะบนพื้นโต๊ะปฏิบตั ิการ จะต้องทำความสะอาดทันทีด้วย ความระมัดระวัง เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นอันตรายต่อผู้อื่น ถ้าหก เลอะปริมาณมากต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ใน หอ้ งปฏิบัติการมาจัดการ เมือ่ สมั ผัสกบั สารเคมีแม้เพียงเลก็ นอ้ ย ให้รบี ลา้ งดว้ ยน้ำสะอาดอยา่ งน้อย 15 นาที แต่ถ้า หกรดตัวเป็นบริเวณกวา้ ง ให้ถอดเสื้อผ้า ที่เปื้อนออก และเช็ดสารเคมีออกจากตัวอย่างรวดเรว็ แล้วจึงชำระล้าง โดยใช้ที่ล้างตัวฉุกเฉินนานอย่างน้อย 15 นาที ในกรณีที่ต้องทำงานกับความร้อน ต้องใช้ถุงมือกันความร้อน หรือ อุปกรณส์ ำหรับหยิบหรือจบั ของรอ้ น

วิธีแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ไม่ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตามจะต้องรีบล้างบริเวณนั้น ด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ ทนั ทเี พ่ือไมใ่ ห้สารเคมมี โี อกาสทำลายเซลลผ์ ิวหนังหรือซึมเขา้ ไปในผวิ หนังได้ 3. แก้วบาด อุบัติเหตุแก้วบาดที่เกิดบ่อยที่สุด คือ ระหว่างการใช้งานเครื่องแก้ว และเทอร์โมมิเตอร์ โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงเวลาสวมตอ่ เครื่องแกว้ กับเครอ่ื งแก้วอีกชน้ิ หน่งึ หรือสายยาง บางครงั้ อาจใหแ้ รงกดมากเกนิ ไปทำให้เครื่อง แกว้ ทนแรงกดไมไ่ ด้และแตก วธิ แี ก้ไขเมื่อเกิดอบุ ัติเหตุ ตอ้ งทำการหา้ มเลือดโดยเรว็ โดยใช้นวิ้ มอื หรอื ผา้ ที่สะอาดกดลงบนแผล ถ้า เลือดยังออกมาก ใหย้ กสว่ นทเ่ี ลือดออกสูงกว่าส่วนอ่นื ๆ ของรา่ งกาย แลว้ หา้ มเลอื ดโดยใช้ผา้ กดไปท่ีบาดแผลเป็น คร้ังคราวจนเลอื ดหยุดไหล แลว้ ทำความสะอาดแผลดว้ ยแอลกอฮอล์ ใสย่ า ปิดแผล ถ้าหากแผลใหญแ่ ละลกึ ควรรีบ ไปหาแพทยท์ ันที 4. การสูดดมไอของสารเคมี สารเคมที ุกชนิดมีความดนั ไอค่าหนึ่ง ในห้องปฏบิ ัติการจึงมีกล่ินไอของสารเคมีปะปนอยู่มากมาย ถ้า เก็บสารเคมีไว้ปริมาณมาก จะมีไอของสารเคมีในบรรยากาศมาก เมื่อสูดดมไอของสารเคมี บางชนิดจะทำให้จมูก คอ และปอดระคายเคอื ง ความเปน็ อันตรายขน้ึ อยู่กับชนิดและปริมาณทีไ่ ดร้ บั เข้าสู่รา่ งกาย จึงต้องหลกี เล่ียงการสูด ดมไอของสารเคมีโดยตรง ถ้าจำเปน็ ต้องทดสอบดว้ ยการสูดดม ใหถ้ อื ภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตวั ประมาณ 6 นิ้ว แล้วใช้มือโบกพัดไอเข้าหาจมูก ถ้าต้องการระเหยตัวทำละลายออก ต้องทำในตู้ดูดควัน หรือทำโดยการกล่นั ห้ามระเหยแหง้ โดยการตม้ ในภาชนะเปดิ ท่โี ตะ๊ ปฏิบตั ิการ วิธแี กไ้ ขเมื่อเกิดอุบัตเิ หตุ เมื่อทราบวา่ สดู ดมไอของสารเคมีจะตอ้ งรบี ออกไปจากที่น้นั และไปอยู่ในที่ ทมี่ ีอากาศถา่ ยเท หากพบวา่ มผี ู้หายใจเอาก๊าซพษิ เข้าไปมากจนหมดสติหรอื ช่วยตัวเองไมไ่ ด้ จะตอ้ งรบี พาออกจาก ที่นน้ั ทันที ซ่ึงผเู้ ข้าไปช่วยต้องใส่หน้ากากป้องกนั ก๊าซพิษหรอื ใช้เคร่อื งช่วยหายใจ 5. สารเคมีเขา้ ปาก ที่พบเห็นบอ่ ยมี 3 แบบ คือ การดูดสารเคมีเขา้ พิเพตด้วยปาก ไม่ล้างมือเมื่อเปื้อนสารเคมี และการ แอบกินลูกอมหรอื ของขบเคี้ยวในหอ้ งปฏิบัติการ การป้องกันไม่ให้สารเคมีเข้าปากทำได ง่ายๆ คือ ใช้ลูกยางหรอื อุปกรณ์ดูดสารเคมเี ข้าพิเพต ห้ามดูดด้วยปากโดยเด็ดขาด ล้างมือทุกครั้งเมื่อเปื้อนสารเคมี จะช่วยลดโอกาสการ ปนเปอื้ นของสารเคมีบนใบหนา้ วิธีแก้ไขเม่ือเกิดอุบัติเหตุ จะต้องรีบล้างปากให้สะอาดเป็นอันดับแรก และ ต้องสืบให้รู้ว่ากลืนสาร อะไรลงไป ต่อจากนั้นกใ็ ห้ด่ืมน้ำหรือนมมาก ๆ เพอ่ื ทำให้พิษเจอื จาง

เทคนคิ การใชอ้ ปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ ในการทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จำเปน็ ต้องคำนึงถึงการใช้อุปกรณ์การทดลองทีถ่ กู ตอ้ งและ เหมาะสม เพอื่ ให้ได้ผลการทดลองทมี่ ปี ระสิทธิภาพและความคลาดเคลื่อนจากทดลองนอ้ ยทส่ี ุด อีกทง้ั เพื่อความ ปลอดภัยของผู้ทดลอง ผู้อนื่ และสงิ่ แวดลอ้ ม 1. การใชเ้ ทอร์มอมิเตอร์ • ให้กระเปาะเทอร์มอมิเตอรจ์ ุม่ อยู่ในของเหลว หรือสมั ผสั กับสิ่งที่จะวัด และต้องไมแ่ ตะกบั ดา้ นขา้ งหรอื กนั ภาชนะ • ใชท้ ี่จับหลอดทดลองจบั เทอร์มอมิเตอร์ไวใ้ ห้ตั้งตรง หรอื อาจใชน้ ้ิวจับเพยี งสว่ นปลายบนของเทอร์ มอมิเตอร์เทา่ นนั้ • การอา่ นอุณหภมู ิ ตอ้ งใหส้ ายตาอยู่ในระดับเดยี วกนั กับของเหลวในเทอรม์ อมิเตอร์ • เมื่อใช้เทอรม์ อมิเตอร์แล้วต้องทำความสะอาด เช็ดให้แห้งและเก็บใส่กล่อง 2. การใชเ้ ครื่องชงั่ สารดจิ ติ อล • เคร่ืองชง่ั สารแบบดิจิตอล มีอยู่หลายปบบ เช่น เครอ่ื งชัง่ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง เครอ่ื งช่งั ทศนยิ ม 4 ตำแหนง่ ซ่ึงการเลอื กใช้ขน้ึ อยู่กับความละเอยี ดของปรมิ าณสารที่ต้องการชงั่ โดยถ้าช่ังละเอยี ด มากก็จะสง่ ผลใหก้ ารทดลองได้ผลการทดลองทแี่ ม่นยำมาก • ไม่ควรเคล่ือนย้ายเคร่อื งชงั่ สารจากตำแหนง่ เดมิ • วธิ กี ารใช้ จะต้องวางเครอ่ื งช่ังบนพ้นื ราบที่เรยี บและม่ันคง กดปุ่ม ON/OFF รอจนหนา้ จอแสดง ตวั เลข “ 0.0 “ แล้วจึงวางของท่ีต้องการจะชง่ั อา่ นคา่ ตวั เลขทไ่ี ด้ 3. การใช้ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ • ควรใชท้ ่ีจดุ เตาแกส๊ ไมข้ ดี ไฟ ไฟแช็กหรอื เทยี น ห้ามนำตะเกียงไปตอ่ กนั โดยตรง หรอื ถอื ตะเกียง เดินไปมา • เม่ือใชต้ ะเกียงแอลกอฮอลเ์ สร็จแลว้ ตอ้ งดับตะเกียงทันทโี ดยใช้ฝาครอบปิด ห้ามใช้ปากเปา่ ให้ดับ • อยา่ สมั ผัสและท่กี ้นั ลมสว่ นที่อย่ใู กลเ้ ปลวไฟ เพราะอาจยงั ร้อนอยู่ 4. การใชอ้ ปุ กรณ์วัดปรมิ าณ • อปุ กรณท์ ีใ่ ช้วัดปรมิ าตรมีหลายชนดิ เช่น หลอดฉีดยา กระบอกตวง หลอดหยด อปุ กรณแ์ ต่ละ ชนิดมวี ิธใี ช้ และให้คา่ ความถูกตอ้ งและละเอยี ดของปรมิ าตรทว่ี ัดไดแ้ ตกต่างกัน • โดยท่ัวไปเม่ือเทสารออกมาเพ่ือวัดปริมาตรแล้วไม่ควรเทสารกลับเข้าภาชนะเก็บสารเนอ่ื งจากอาจ เกดิ การปนเปือ้ นของสารได้ 5.การใชช้ อ้ นตกั สาร

• ตรวจสอบวา่ ซอ้ นตกั สารที่ใชม้ ขี นาดตรงกบั ท่ีระบุไว้ในวิธีการทดลองหรือไม่ • เมือ่ ตกั สารแลว้ แต่ละคร้งั ต้องปาดปากซ้อนเพยี งคร้ังเดยี ว โดยไม่กดสารในชอ้ นกอ่ นปาด (ปาด เพื่อใหส้ ารเสมอผิวปากช้อนตักสาร) • เมอ่ื ต้องการตกั สารใหม่ต้องทำความสะอาดช้อนตักสารกอ่ น แล้วเช็ดให้แหง้ จึงนำไปใช้ตกั สาร ใหม่ได้ เพอื่ ป้องกันการปนเป้อื นของสาร และหา้ มใชช้ ้อนตักสารขณะท่ีสารยงั รอ้ นเดด็ ขาด 6. การใช้ไมห้ นีบหรอื ที่จับหลอดทดลอง • การใชไ้ มห้ นีบกับหลอดทดลอง ต้องหนีบที่ระยะประมาณ 1/3 จากปากหลอดทดลอง และขณะ ถอื ตอ้ งไมอ่ อกแรงกดไมห้ นีบ • หากใช้ทย่ี ึดกับขาตงั้ เพ่ือหนบี เทอรม์ อมเิ ตอร์หรือหลอดแกว้ จะตอ้ งใช้เศษผา้ หรือกระดาษชำระ หุม้ เทอร์มอมเิ ตอรใ์ หแ้ น่นเสียก่อน เพื่อป้องกนั อปุ กรณ์เสยี หายหรอื หลุดตก 7. การใหค้ วามรอ้ นแกข่ องเหลว • ของเหลวชนิดไวไฟซึง่ มีจดุ เดอื ดต่ำ ส่วนมากจะบรรจุในภาชนะปากแคบและทรงสงู เชน่ หลอด ทดลอง หรอื ขวดรูปกรวย • หา้ มใชเ้ ปลวไฟใหค้ วามร้อนโดยตรง โดยให้อุน่ ในภาชนะที่ใส่นำ้ และต้มให้เดอื ดด้วยไฟออ่ น ๆ • ไมค่ วรใสข่ องเหลวมากเกินไป ควรใช้ตามคำแนะนำของการทดลองนัน้ ๆ และควรระมัดระวัง ไมใ่ หส้ ารเดือดแรงเกนิ ไป 8. การคนสาร • การคนสารโดยใช้แท่งแก้วคน ตอ้ งระวงั ไมใ่ ห้แท่งแก้วกระทบกน้ และดา้ นขา้ งของภาชนะ เมอื่ ใช้แลว้ ทกุ ครง้ั จะต้องล้างแทง่ แก้ว เชด็ ใหแ้ ห้งแลว้ เก็บเข้าท่ี และต้องไมใ่ ชแ้ ท่งแก้วไปคน สารต่างชนดิ กนั ในภาชนะต่างกนั กอ่ นทำความสะอาด เพราะจะทำใหส้ ารปนเปอ้ื นกันได้ 9.การทำความสะอาดเครอ่ื งแก้ว • เครือ่ งแกว้ ทใ่ี ช้ในการทดลองตอ้ งลา้ งให้สะอาด การสังเกตว่าเคร่อื งแก้วนนั้ ลา้ งสะอาดหรอื ไม่ ทำได้โดยจุ่มเครอ่ื งแก้วลงในน้ำหรอื ราดด้วยนำ้ ถา้ เครื่องแกว้ ไมม่ ีหยดนำ้ เกาะติดท่ีผนัง เคร่อื งแก้ว แต่แผ่เปน็ แผน่ ฟิลม์ บนผนังหลอดทดลงอง จะต้องทำการทำความสะอาดใหม่ จึง จะถือวา่ เคร่ืองแกว้ นั้นสะอาด 10. การกำจัดสารเคมี • สารเคมแี ตล่ ะชนดิ จะมสี มบัตแิ ตกต่างกนั เมื่อตอ้ งการกำจดั จะต้องทำใหถ้ กู วธิ แี ละหลักการ เสมอ มฉิ ะนั้น จะก่อใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ ตนเอง ผูอ้ ่ืน หรือทำให้เกดิ มลพษิ ต่อสิ่งมชี วี ิตและ สิ่งแวดลอ้ ม สำหรับการกำจัดสารที่ใช้ในกจิ กรรม นักเรียนควรปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะจาก ครู และควรศึกษาหาขอ้ มูลเก่ียวกบั สารเคมนี ัน้ ๆ ก่อน หากไม่แน่ใจให้ทำการเทสารใช้ขวด เกบ็ ของเสีย ที่มีลักษณะเป็นขวดแกว้ สีชา

ข้างตน้ กล่าวถึงการใช้งานอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์เบื้องตน้ แต่ยังไม่เฉพาะเจาะจงถงึ ชนดิ ของอุปกรณ์ ซงึ่ การรู้ถงึ ชนิดของอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตรท์ พ่ี บเจอและใชง้ านบ่อยแบบเฉพาะเจาะจง เป็นส่งิ ที่จำเปน็ อย่างย่ิงท่ี ต้องรรู้ ายละเอยี ดการใชง้ าน ดังนี้ 1. ขวดวัดปรมิ าตร ใช้สำหรบั เตรียมสารละลายให้ได้ปรมิ าตรตามที่ต้องการ มีจกุ ปิดดา้ นบน จงึ สามารถเขยา่ ให้ สารละลายผสมกันได้อยา่ งท่ัวถึง สว่ นใหญ่มขี นาดตั้งแต่ 50 ml จนถงึ 2 L นยิ มใช้ในการเตรยี มสารละลาย มาตรฐาน (สารละลายทมี่ คี วามเขม้ ขน้ แนน่ อน) หรอื เตรียมสารละลาย ที่มีความเขม้ ขน้ น้อยกว่าสารละลายตัง้ ต้น หรอื สารสารละลายเดมิ เทคนคิ การเตรยี มสารละลายโดยใช้ขวดวัดปรมิ าตร 1. ละลายสารในขวดปริมาตรให้มีปริมาตรประมาณ 3/4 ของขวด ปิดจุกขวดแล้วแกวง่ ขวดปรมิ าตรด้วย ขอ้ มอื ใหส้ ารละลายไหลไปทางเดยี วกัน เพื่อใหส้ ารในขวดละลายจนหมด หรือให้สารผสมเปน็ เน้อื เดียวกนั ควรจับ ท่คี อขวดปริมาตร อยา่ จับทต่ี วั ขวดปริมาตร เพราะจะทำให้สารละลายอ่นุ ขน้ึ เนือ่ งจากความร้อนในมือ 2. เติมตัวทำละลาย เช่น น้ำกลน่ั ลงในขวดปริมาตรให้สว่ นโคง้ เวา้ ต่ำสดุ (ทอ้ งน้ำ) ของสารละลายอยู่ตรง ขีดบอกปรมิ าตร การอ่านปริมาตรตอ้ งให้ระดบั สายตาอย่ใู นระดับเดียวกนั กบั ขีดบอกปริมาตร 3. ปดิ จุกขวดปริมาตรแลว้ คว่ำขวดจากบนลงลา่ ง ทำแบบนี้ 2-3 ครง้ั เพื่อให้สารละลายผสมเป็นเน้อื เดียวกนั และมีเนื้อสารเท่าเทยี มกันทกุ สว่ น

2. บกี เกอร์ เป็นอปุ กรณพ์ ื้นฐานในห้องปฏบิ ตั กิ ารเคมี ใช้สำหรับเตรยี มสารละลาย ต้มสารละลาย ตกตะกอน ผสม สารหรือให้สารทำปฏกิ ิริยากนั บีกเกอรม์ หี ลายขนาด ต้งั แตข่ นาดเลก็ 50 ml ไปจนถงึ 5 Lบีกเกอร์ท่ีนิยมใช้ใน ห้องปฏบิ ตั กิ ารมักทำจากแกว้ ทนไฟ (Pyrex หรือ Bomex) และก็ยังมชี นิดทท่ี ำดว้ ยพลาสติกทไ่ี มส่ ามารถต้งั ไฟได้ แตร่ าคาถูกกว่า เทคนคิ การเลอื กใช้บีกเกอร์สำหรบั ใสส่ าร การเลือกขนาดของบีกเกอรเ์ พ่อื ใส่ของเหลวน้ันขึ้นอยูก่ ับปรมิ าณของเหลวที่จะใส่ โดยปกติให้ระดับ ของเหลวอยู่ต่ำกว่าปากบกี เกอรป์ ระมาณ 1 นว้ิ

3. กระบอกตวง กระบอกตวง มขี นาดตา่ ง ๆ กนั ตงั้ แต่ 5 มิลลลิ ติ รจนถึงหลาย ๆ ลิตรใช้เป็นอปุ กรณ์สำหรบั วดั ปริมาตร ของของเหลวที่มอี ณุ หภมู ิไม่สงู กวา่ อณุ หภูมขิ องห้องปฏบิ ตั ิการ กระบอกตวงไม่สามารถใช้วัดของเหลวท่ีมีอุณหภมู ิ สูงได้เน่อื งจากอาจจะทำใหก้ ระบอกตวงแตกได้ กระบอกตวงจะบอกปริมาตรของของเหลวอยา่ งครา่ ว ๆ ถ้า ตอ้ งการวดั ปริมาตรทแี่ น่นอนตอ้ งใชอ้ ุปกรณว์ ัดปริมาตรอนื่ ๆ เชน่ บวิ เรท โดยปกติความผิดพลาดของกระบอกตวง เมอื่ มปี รมิ าตรสูงสุดจะมปี ระมาณร้อยละ 1 กระบอกตวงขนาดเลก็ ใช้วัดปริมาตรได้ใกล้เคยี งความจรงิ มากกว่า กระบอกตวงขนาดใหญ่ เทคนคิ การใกระบอกตวงวัดปรมิ าตรสารละลาย 1. นำสารละลายท่ตี ้องการตวงปรมิ าตร เทใส่ในกระบอกตวง 2. การอา่ นค่าปริมาตรของของเหลวในกระบอกตวงนนั้ สามารถทำได้โดยการยกกระบอกตวงให้ตงั้ ตรง ในระดับสายตา และให้ทอ้ งน้ำอยูใ่ นระดับสายตา และอ่านคา่ ปริมาตร ณ จุดต่ำสดุ ของทอ้ งน้ำ

4. หลอดทดสอบ หรือทดลอง หลอดทดสอบสว่ นมากใช้สำหรบั ทดลองปฏิกิริยาเคมรี ะหวา่ งสารตา่ ง ๆ ท่ีเปน็ สารละลาย ใช้ตม้ ของเหลวท่มี ีปรมิ าตรนอ้ ย ๆ โดยมี test tube holder จบั กันรอ้ นมอื หลอดทดสอบแบบทนไฟจะมขี นาดใหญ่ และหนากว่าหลอดธรรมดา ใช้สำหรับเผาสารต่าง ๆ ด้วยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมทิ สี่ ูง หลอดชนดิ นีไ้ ม่ควร นำไปใชส้ ำหรบั ทดลองปฏกิ ิริยาเคมีระหวา่ งสารเหมือนหลอดธรรมดา 5. กรวยกรอง อปุ กรณ์ช่วยในการถ่ายเทสารละลายจากภาชนะท่ีมขี นาดใหญ่ไปยังภาชนะขนาดเลก็ มักจะใช้สำหรับสวม บิวเรตเพอื่ เทสารละลายลงในบิวเรตหรอื ใช้ร่วมกับกระดาษกรองเพอื่ กรองเอาของแขง็ หรือตะกอนออกจาก สารละลาย กรวยกรองมที ง้ั แบบก้านสน้ั และกา้ นยาว โดยกรวยกา้ นยาวจะกรองไดเ้ ร็วกว่ากรวยกา้ นสัน้ สว่ นขนาด ของกรวยกรองวดั จากเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง(ภายนอก) โดยมีหลายขนาด ซึ่งมีตง้ั แต่ ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลาง 4 cm. ไป จนถึง 15 cm.

6. ปเิ ปต ปิเปต เป็นอปุ กรณ์ใช้สำหรบั วัดปรมิ าตรของสารละลายใหม้ คี วามแนน่ อนและมีความแม่นยำสูง Graduated pipette หรือ Measuring pipette มีลักษณะเป็นหลอดแกว้ ทีม่ สี เกลบอกปรมิ าตรต่างๆไว้ ทำให้มี ความยืดหยุน่ ในการใช้งานมากกว่า Volumetric pipette แต่มคี วามแม่นยำน้อยกว่า Volumetric pipette เชน่ กนั 7. บวิ เรท บวิ เรต เป็นอุปกรณท์ ี่ใช้ในการไทเทรต มีลกั ษณะเปน็ หลอดแก้วที่มขี ีดบอกปรมิ าตรและมีวาลว์ สำหรับเปิด-ปดิ เพ่ือควบคมุ การปล่อยสารละลายภายในหลอดท่ีใช้ในการทำปฏิกิรยิ า จึงทำให้สามารถวดั ปรมิ าตร สารทใี่ ช้ไปในการทดลองได้ อยา่ งแมน่ ยำ ขนาดที่นยิ มใช้โดยทว่ั ไปในหอ้ งปฏิบัติการคือ 25 ml. หรือ 50 ml

เครือ่ งหมายเตอื นสารเคมีอนั ตราย เครื่องหมายเตือนสารเคมอี นั ตราย ปกตเิ ป็นเครอื่ งหมายสากลที่เขา้ ใจงา่ ย อาจใช้สพี ืน้ หรือขอ้ ความท่ี แตกตา่ งกันได้บา้ ง โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ใหท้ ราบถึงอนั ตรายของสารเคมี หรือแจง้ ให้ทราบวา่ เป็นพ้ืนท่อี นั ตราย วัตถรุ ะเบิด : ระเบิดได้เม่ือถูกกระแทกเสยี ดสี หรือ ความร้อน เช่น ทเี อ็นที ดนิ ปนื พลไุ ฟ ดอกไม้ไฟ กา๊ ซไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถกู ประกายไฟ เช่น กา๊ ซหุง ตม้ ก๊าซไฮโดรเจน กา๊ ซมีเทน ก๊าซอะเซทีลนี กา๊ ซพิษ : อาจตายไปเม่ือสดู ดม เช่น ก๊าซคลอรนี ก๊าซ แอมโมเนียกา๊ ซไฮโดรเจนคลอไรด์ วัตถุท่เี กดิ การลกุ ไหมไ้ ด้เอง : ลกุ ตดิ ไฟไดเ้ มอื่ สมั ผัส กบั อากาศภายใน 5 นาที เช่น ฟอสฟอรสั ขาว ฟอสฟอรสั เหลอื ง โซเดียมซัลไฟต์

วัตถุออกซไิ ดซ์ : ไม่ติดไฟแต่ชว่ ยให้สารอนื่ เกดิ การลุก ไหม้ไดด้ ีขึน้ เช่น ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ โปแต สเซียมคลอเรต แอมโมเนียม ไนเตรท วัตถตุ ิดเชอ้ื : วตั ถทุ มี่ ีเชื้อโรคปนเป้อื นและท าให้เกดิ โรคได้เช่น ของเสยี อันตรายจากโรงพยาบาล เข็มฉีดยา ท่ใี ช้แล้ว เช้อื โรคตา่ ง ๆ วัตถุก่อใหเ้ กิดการระคายเคือง : อาจกอ่ ให้เกดิ การ ระคาย เคอื งตอ่ ระบบทางเดินหายใจ ท าลายเยอื่ บุ ผวิ หนัง และ เย่อื บุตา เชน่ กรดแก่ ดา่ งแก่ ท่มี า : กรมควบคมุ มลพษิ

เอกสารอา้ งอิง กล่มุ ฝกึ อบรมผา่ นเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ (กอ) สำนักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ. (2555). คมู่ ือ การใช้และการดูแลรกั ษาเครือ่ งนึ่งฆา่ เชอ้ื ด้วยไอนำ้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: www.teainstitutemfu.com/downloadform.html คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ. (2554). คมู่ ือความปลอดภัยใน หอ้ งปฏบิ ัติการ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://sci2.hcu.ac.th/webqa/WebQA57/research/2123.pdf คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์. (2555). คมู่ ือความปลอดภัยในการใช้หอ้ งวจิ ยั . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://research.eng.psu.ac.th/images/document/lab-safety/lab- template.pdf สถาบันเทคโนโลยีปทมุ วนั . (2560). คู่มือการปฏบิ ัตงิ านของนักวทิ ยาศาสตร์. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://sci.pit.ac.th/_files/down/pic_rFbJPEhP.pdf สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2546). คูม่ อื การจัดหอ้ ง ปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร.์ กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2553). ค่มู ือการจัดหอ้ ง ปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร(์ ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2553). กรงุ เทพฯ: อนิ เตอร์ เอด็ ดูเคช่นั ซัพพลายส์.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook