Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

Published by 6032040034, 2018-08-28 04:53:29

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 1 การสื่อสารขอ้ มลูและเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้

ความหมายของการสอ่ื สารขอ้ มูลและเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ การสอ่ื สารข้อมูล (Data Communication) หมายถงึ การแลกเปลี่ยน โอนย้ายข้อมลู และสารสนเทศจากท่ีหน่ึงไปยงั อีกท่หี น่งึ โดยผา่ นอปุ กรณ์สื่อสารและรปู แบบวิธีของการสื่อสารขอ้ มูลชนิดต่าง ๆ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถงึ การนาเครอื่ งคอมพิวเตอร์ เครอื่ งขึนนไปเชื่อมต่อกนั โดยใช้อปุ กรณก์ ารสือ่ สาร

1. การสอื่ สารข้อมลู (Data Communication) หมายถึงอะไร ตอบ กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลยี่ นขอ้ มลู กันระหว่างผสู้ ่งและผ้รู บั โดยผา่ นชอ่ งทางสอ่ื สาร เชน่ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื คอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั กลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผ้รู ับเกิดความเขา้ ใจซงึ่ กนั และกัน2. การส่อื สารทางไกล (Telecommunication) หมายถึงอะไร ตอบ การติดต่อสอื่ สารด้วยการรบั ส่งข้อมลู ข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านส่อื กลางทเี่ ช่ือมต้นทาง และปลายทางท่ีห่างกัน โดยใชอ้ ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์หลายรูปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรือระเบยี บวิธีการท่ี กาหนดขึ้นในแตล่ ะอุปกรณ์3. ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถงึ อะไร ตอบ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (computer network) คือ ระบบท่มี ีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเคร่ืองเช่ือมต่อ กนั โดยใชส้ ่ือกลาง และสามารถส่อื สารข้อมลู กันได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอรแ์ ต่ละเคร่ือง สามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ซึ่งกันและกนั ได้ นอกจากนยี้ ังสามารถใชท้ รัพยากรท่มี ีอยู่ในเครอื ขา่ ยรว่ มกนั ได้ เช่น เคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ การใช้ทรพั ยากรเหล่าน้ีผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยให้ประหยัด ค่าใช้จา่ ยได้มาก เม่ือมีการเชอื่ มต่อกบั เครอื ข่ายอ่นื ๆ ท่อี ยู่ห่างไกล เช่น ระบบอินเตอรเ์ น็ต ซ่งึ เปน็ เครอื ข่ายทเี่ ชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอรท์ ว่ั โลก ก็ทาให้สามารถแลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสาร ได้กบั คนทัว่ โลก โดยใช้ แอพพลิเคชนั่ เช่น เวบ็ อีเมลล์ เปน็ ตน้4. ส่วนประกอบของระบบส่ือสารขอ้ มลู ประกอบด้วยอะไรบ้าง ตอบ การส่ือสารข้อมลู มีองค์ประกอบ 5 อยา่ ง 1. ผู้ส่ง (Sender) เปน็ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการส่งข่าวสาร (Message) เป็นตน้ ทางของการส่ือสารขอ้ มูลมี หนา้ ที่เตรียมสรา้ งข้อมูล เช่น ผพู้ ูด โทรทศั น์ กล้องวดิ โี อ 2. ผูร้ บั (Receiver) เป็นปลายทางการสอื่ สาร มีหน้าท่รี บั ข้อมูลท่ีส่งมาให้ เชน่ ผฟู้ ัง เคร่ืองรับ โทรทศั น์ เคร่อื งพิมพ์ 3. สอ่ื กลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเสน้ ทางการส่ือสารเพอ่ื นาข้อมูลจากตน้ ทางไปยังปลายทาง สือ่ สง่ ข้อมูลอาจเปน็ สายคู่บิดเกลยี ว สายโคแอกเชยี ล สายใยแกว้ นาแสง หรอื คลนื่ ทีส่ ่งผ่านทาง อากาศ เชน่ เลเซอร์ คลนื่ ไมโครเวฟ คลืน่ วทิ ยุภาคพืน้ ดิน หรือคลน่ื วิทยุผ่านดาวเทียม 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คอื สัญญาณอิเล็กทรอนิกสท์ สี่ ง่ ผา่ นไปในระบบสื่อสาร ซงึ่ อาจถูก เรยี กว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบง่ เปน็ 5รปู แบบ ดังนี้ 1) ขอ้ ความ (Text) ใชแ้ ทนตวั อักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหสั ต่าง ๆ เชน่ รหสั แอสกี 2) ตัวเลข (Number) ใชแ้ ทนตวั เลขต่าง ๆ ซ่งึ ตวั เลขไมไ่ ด้ถูกแทนดว้ ยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลง เป็นเลขฐานสองโดยตรง 3) รปู ภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจดุ สเี รียงกันไปตามขนาดของรปู ภาพ

4) เสยี ง (Audio) ข้อมลู เสยี งจะแตกตา่ งจากข้อความ ตัวเลข และรปู ภาพเพราะขอ้ มลู เสียงจะเปน็ สญั ญาณต่อเนอ่ื งกนั ไป 5) วดิ ีโอ (Video) ใชแ้ สดงภาพเคล่อื นไหว ซง่ึ เกดิ จากการรวมกันของรปู ภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คอื วธิ กี ารหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสอื่ สารขอ้ มลู เพ่ือให้ผ้รู ับและผสู้ ่ง สามารถเขา้ ใจกนั หรือคยุ กนั รู้เรื่อง โดยทัง้ สองฝง่ั ทง้ั ผรู้ ับและผูส้ ง่ ไดต้ กลงกันไวก้ ่อนลว่ งหนา้ แล้ว ในคอมพวิ เตอรโ์ ปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ท่ีมีหนา้ ทท่ี าใหก้ ารดาเนินงาน ในการสือ่ สาร ขอ้ มูลเปน็ ไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP5. ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยมีอะไรบ้าง ตอบ 1. สามารถแชร์ข้อมลู ใชร้ ่วมกันได้ ข้อมูลตา่ งๆในแต่ละเคร่ืองภายในระบบ หากมผี ู้อ่ืนต้องการใช้ คณุ สามารถแชรใ์ ห้ผู้อื่นนาไปใช้ได้ 2. สามารถแชรอ์ ปุ กรณต์ า่ งๆร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ ซิปไดรฟ์ เป็นต้น โดยทไ่ี ม่ จาเป็นต้องซ้ืออปุ กรณ์เหล่านัน้ มาติดตง้ั กับทกุ ๆเครื่อง 3. สามารถใช้โปรแกรมร่วมกนั หลายๆเคร่ืองได้ เช่น ในห้อง LAB คอมพวิ เตอร์ที่มีจานวน คอมพวิ เตอร์ ท่ีมีจานวนเครือ่ งในระบบจานวน 30 เครอื่ ง คณุ สามารถซ้ือโปรแกรมเพียงแค่ 1 ชดุ และสามารถ ใช้งานร่วมกันได้ 4. การสือ่ สารในระบบเครือข่ายผู้ใช้สามารถเช่อื มกบั เคร่ืองอ่ืนๆในระบบได้ เชน่ อาจจะส่งข้อความ จากเคร่ืองของคุณไปยังเครื่องของคนอน่ื ๆได้ นอกจากนี้คุณยงั สามารถใช้ E - Mail สง่ ข้อความ ขา่ วสารตา่ งๆภายในสานักงานได้อีก เช่น แจง้ กาหนดการต่างๆแจง้ ข้อมูลต่างๆให้ทุกๆคนทราบ โดยไม่ตอ้ งพิมพ์ออกทางเคร่อื งพิมพเ์ พื่อแจกจา่ ย 5. การแชร์อินเทอร์เนต็ ภายในระบบเครือข่ายคณุ สามารถแชร์อินเตอรเ์ นต็ เพื่อใช้ร่วมกนั ได้ โดยท่ี คุณไม่จาเป็นต้องซ้ือ Internet Account สาหรับทุกๆเคร่ืองและไมจ่ าเปน็ ต้องติดต้ังโมเด็มทุกเคร่อื ง

6. การส่ือสารขอ้ มูลมีก่ชี นิดอะไรบา้ งแตล่ ะชนิดแตกต่างกันอย่างไร ? ตอบ การสอ่ื สารข้อมูลระหวา่ งผ้รู ับกับผ้สู ง่ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท 1. การส่ือสารข้อมลู ทิศทางเดยี ว (Simplex Transmission) เป็นการตดิ ต่อสอ่ื สารเพยี งทิศทางเดยี ว คอื ผสู้ ง่ จะสง่ ขอ้ มูลเพยี งฝ่งั เดียวและโดยฝั่งรบั ไมม่ ีการตอบกลบั เชน่ การกระจายเสยี งของสถานี วิทยุ การส่ง e-mail เปน็ ตน้ 2. การสือ่ สารข้อมลู สองทิศทางสลบั กนั (Half Duplex Transmission) สามารถ ส่งข้อมูลในเวลาใด เวลาหนง่ึ ไปในทิศทางเดียวเทา่ น้ัน ทงั้ ฝ่ายส่งและฝา่ ยรบั หรือพดู อีกนัยหน่งึ คือ ผู้สง่ สามารถสง่ ข้อมลู ไปให้แกผ่ ้รู ับ สว่ นผู้รบั กส็ ามารถโตต้ อบกลบั ได้ แต่ไม่สามารถสง่ สวนทางกันได้ในเวลา เดยี วกัน เช่นการสง่ วิทยุของตารวจ 3. การสือ่ สารข้อมลู สองทศิ ทางพรอ้ มกัน (Full Duplex Transmission)สามารถ สง่ ข้อมลู ในเวลาใด เวลาหน่ึง ไดท้ ั้ง2ทิศทาง ทง้ั ฝ่ายส่งและฝา่ ยรบั หรอื พดู อีกนัยหนึ่งคอื ผู้ส่งและผรู้ บั สามารถ โตต้ อบสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสง่ สัญญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , feaebook แตกต่างโดย ชนิดที่ 1 ส่งข้อมูลแลว้ ผู้รบั ไมส่ ามารถโต้ตอบได้ ชนดิ ที่ 2 สง่ ข้อมูลแล้วผ้รู ับสามารถ โตต้ อบได้แต่ต้องรอผู้สง่ สง่ ข้อมูลใหเ้ สรจ็ ก่อน ชนดิ ที่ 3 ทั้งผู้ส่งและผ้รู บั สามารถสง่ ข้อมลู โตต้ อบ หากนั ไดต้ ลอดทุกเวลา4. สัญญาณมีก่ีประเภทอะไรบ้าง ? ตอบ สามารถจาแนกสญั ญาณได้ 2 ลักษณะ 1. สญั ญาณแบบดจิ ิทลั (Digitals signal) เปน็ สัญญาณท่ถี ูกแบ่งเป็นชว่ งๆ อยา่ งไมต่ อ่ เน่อื ง (Discrete) โดยลักษณะของสญั ญาณจะแบ่งออกเป็นสองระดับเพ่ือแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบติ 0 และสถานะของบติ 1 โดยแต่ละสถานะคอื การใหแ้ รงดันทางไฟฟ้าท่แี ตกต่างกัน การทางานใน คอมพวิ เตอร์ใช้สญั ญาณดิจทิ ัล 2. สญั ญาณอนาลอก(Analog Signal) เปน็ สัญญาณคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ ท่ีมคี วามต่อเน่ืองของ สัญญาณ โดยไมเ่ ปลีย่ นแปลงแบบทนั ท่ที ันใดเหมือนกบั สัญญาณดิจิทัล เชน่ เสยี งพูด หรืออุณหภูมิ ในอากาศเมื่อเทียบกับเวลาทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่างต่อเน่ือง จัดทาโดย นายวิชรัตน์ ธนพงศพ์ ิพัฒน์ ชั้น ปวส.1 เลขที่ 34

นายวชิ รัตน์ ธนพงศพ์ พิ ฒั น์ ช้นั ปวส.2 เลขท่ี 34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook