Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนการสอนวิชาวิชางานเชื่อมซ่อมบำรุง

แผนการเรียนการสอนวิชาวิชางานเชื่อมซ่อมบำรุง

Published by fanrg99, 2021-03-13 05:31:42

Description: แผนการเรียนการสอนวิชาวิชางานเชื่อมซ่อมบำรุง

Search

Read the Text Version

การออกแบบการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวชิ า งานเชอื่ มซอ มบำรงุ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๖ จดั ทาํ โดย นายภทั รพงษ์ แคแดง ตาํ แหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ตาํ บลช่างเค่ิง อาํ เภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ สาํ นักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สาํ นักงานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า งานเชอ่ื มซอ มบำรุง ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง จำนวน ๒ หนว ยกิต คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับความสามารถในการเชื่อมโลหะ (Weld ability) ของเหล็กหลอชนิดตางๆ เหล็กกลา แรงดึงสูง (High Low Alloy HSLA) เหล็กกลาไรสนิมชนิดตางๆ อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมผสมการให ความรอนแกนช้ินงานกอนและหลังการเชื่อม (Pre & Post Weld Heat Treatment) การแกไขปญหาการ แตกราวชนิดตางๆ ในการเชื่อม การใชเครื่องมือในการเตรียมและทำความสะอาดรอยตอ การเลือกใช กระบวนการเชื่อมและวัสดุสิ้นเปลือง (Welding Consumable) ปฏิบัติการเตรียมรอยตอและเชื่อมซอม บำรุงเหล็กเหล็กหลอ เหล็กกลาแรงดึงสูง และอะลูมิเนียม ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู ๑. เขาใจหลกั การ งานเช่อื มซอ มบำรุงในงานเช่อื มโลหะ ๒. เตรียมงานเช่อื มซอ มบำรุงโลหะงานเหล็กกลา แรงดึงสงู เหลก็ หลอ และโลหะนอกกลมุ เหล็ก ๓. เชือ่ มซอ มบำรุงเหล็กกลา แรงดงึ สูง เหลก็ หลอ อะลมู เิ นยี ม รวมท้งั หมด ๓ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู

ผงั มโนทัศน รายวชิ า งานเชอ่ื มซอ มบำรงุ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ช่ือหน่วย ๑ สญั ลกั ษณ์งานเชื่อม ชื่อหน่วย ๒ การกาํ หนดสญั ลกั ษณ์ จาํ นวน ๑๐ ชวั ่ โมง : ๑๐ คะแนน ของแนวเช่ือมต่อฉาก จาํ นวน ๑๐ ชวั่ โมง : ๑๐ คะแนน ช่ือหน่วย ๔ การเช่ือมเหลก็ ช่ือหน่วย ๓ การกาํ หนดสญั ลกั ษณ์ โครงสร้างท่ีรบั ภาระพลวตั ของ แนวเช่ือมบากรอ่ ง จาํ นวน ๑๐ ชวั ่ โมง : ๑๐ คะแนน จาํ นวน ๑๐ ชวั่ โมง : ๑๐ คะแนน ช่ือหน่วย ๕ การเชื่อมชิ้นส่วนข้นึ รปู ช่ือหน่วย ๖ การเกิดและการป้องกนั เยน็ และขึน้ รปู รอ้ น การโก่งงอของคานนํ้าหนกั และเสาคา้ํ จาํ นวน ๒๐ ชวั ่ โมง : ๑๐ คะแนน ยนั

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชา งานเชอื่ มซอมบำรุง รหสั วิชา ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ เวลาเรยี น ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห นำ้ หนักเวลาเรียน ๘๐ ช่ัวโมง หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ เร่อื ง สญั ลักษณงานเช่ือม ระยะเวลา ๑๐ ชัว่ โมง ..................................................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั สัญลักษณงานเชอ่ื ม (Weld Symbols) ท่กี ำหนดไวในแบบสั่งงานนน้ั เราจะใชแสดงรายละเอียดตา งๆ ของแนว เชือ่ มโดยผอู อกแบบ เพื่อใหผูตรวจสอบ หวั หนางานและชา งปฏิบัติงานไดเ ขาใจในรายละเอียดและขอกำหนดของแนว เชื่อม สว นประกอบของสัญลกั ษณง านเชื่อม หลักการกำหนดสญั ลักษณงานเชือ่ มในแบบงาน และการกำหนดสัญลกั ษณ งานเช่อื มของการตรวจสอบไมท ำลายสภาพชนิ้ งาน 2. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วดั ชั้นป/ ผลการเรียนรู/เปา หมายการเรยี นรู เพื่อใหม คี วามรูความเขา ใจความรูเ ก่ยี วกับสญั ลักษณงานเชอ่ื ม 3. สาระการเรียนรู 1. สญั ลกั ษณง านเช่ือม 2. หลักการกำหนดสัญลักษณงานเชื่อมในแบบงาน 3. การกำหนดสัญลักษณงานเชื่อมของการตรวจสอบแบบไมท ำลายสภาพชิน้ งาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 1. บอกชอ่ื สว นประกอบของสญั ลักษณงานเชอื่ มได 2. เขยี นสญั ลกั ษณของรอยตอ และแนวเชือ่ มในแบบส่ังงานได 3. กำหนดรายละเอียดและขอ มูลอา งอิงอนื่ ๆ ในสญั ลกั ษณง านเชื่อมได 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - กระบวนการกลุม 6. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค 1. มวี ินยั 2. มงุ มนั่ ในการทำงาน 3. รักความเปน ไทย 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 7.1 ผลงาน/ช้นิ งาน ไดแก 1) ผลงานจากการทําใบงาน 2) ผลงานจากการทาํ กจิ กรรมกลมุ 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบรู ณาการ

7.2 ผลการปฏบิ ตั ิงาน ไดแ ก 1) การปฏิบตั ิกิจกรรมในช้นั เรยี น 2) การมีสว นรว มในการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลมุ 7.3 การทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรียนจบหนวยการเรยี นรู 8. กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั ตอนการเรยี นหรือกิจกรรมของผเู รยี น ขนั้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู • นกั ศึกษากำลงั คดิ คำตอบทีถ่ ามไปโดยการ • นำเสนอปญหาเกย่ี วกับสญั ลักษณงาน ฟงและการตอบจากปากเปลา เช่อื ม • นักศกึ ษากำลังศกึ ษาขอมูลจากอาจารย • ใหค วามรเู ก่ยี วกบั สญั ลกั ษณง านเช่อื ม ผสู อนโดยการฟง และการจดบันทกึ ใน • ซักถามปญ หาแกนักศึกษาในความเขาใจ เนื้อหาเก่ยี วกบั สญั ลักษณง านเชอื่ ม • นักศกึ ษาทำแบบฝก หดั สงอาจารย ผูสอน ในเน้ือหามากนอยเพยี งใด ไดอ ยางถูกตอ ง • ใหน ักศกึ ษาทบทวนความรูความเขาใจ • นกั ศึกษาทำความเขา ใจในเนื้อหาไดอ ยาง ถูกตอง และทำการจดบนั ทกึ สรุปอกี คร้ัง ในเนอ้ื หาโดยการทำแบบฝก หดั ทายบท และใหคะแนน • สรปุ เนอื้ หาที่สำคัญใหกับนักศกึ ษาอีก คร้ังกอนเลกิ เรียน

9. สือ่ การเรียนการสอน / แหลง เรียนรู จำนวน สภาพการใชส่อื รายการสือ่ 1 เลม ขน้ั ตรวจสอบความรูเดมิ หนงั สือประกอบการเรยี นวชิ างานเชอ่ื มซอ่ มบาํ รุง 10. การวัดผลและประเมินผล เปา หมาย หลกั ฐานการเรียนรู วธิ ีวดั เครื่องมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรียนรู ชน้ิ งาน/ภาระงาน ตรวจจากการทํา ใบงาน เกณฑการให เขาใจและสามารถ แบบฝก หดั ทา ยบท แบบทดสอบ สบื คน ขอ มูลความรู คะแนน เก่ียวกับสญั ลักษณง าน ตอบถูกคิดเปน 70 เชอื่ ม เปอรเ ซนต

11. การบรู ณาการตามจุดเนนของโรงเรยี น หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผเู รยี น พอดดี านจิตใจ 1. ความพอประมาณ พอดดี า นเทคโนโลยี รจู กั ใชเ ทคโนโลยีมาผลติ สอ่ื ท่ีเหมาะสมและ มีจิตสำนกึ ท่ีดี เอ้ืออาทร สอดคลองเนือ้ หาเปนประโยชนตอ ผูเ รียนและ ประนปี ระนอม นกึ ถงึ ประโยชน พัฒนาจากภมู ิปญ ญาของผเู รยี น สว นรวม/กลมุ 2. ความมเี หตุผล - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว ยความถูกตอง ไมหยดุ น่ิงทห่ี าหนทางในชวี ติ หลุดพน 3. มีภูมิคุมกนั ในตัวท่ดี ี สุจรติ แมจะตกอยใู นภาวะขาดแคลน ในการ จากความทุกขย าก (การคน หาคำตอบ 4. เงื่อนไขความรู ดำรงชีวิต เพอื่ ใหหลดุ พนจากความไมร ู) ภูมิปญ ญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภูมิปญ ญา : มีความรู รอบคอบ และ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม ระมดั ระวัง ระมดั ระวงั สรางสรรค ความรอบรู เร่ือง ความรูเกยี่ วกับการทำ ความรอบรู เรอื่ ง ความรูเ บ้ืองตน โครงการ ที่เก่ียวของรอบดา น ความรอบคอบที่ ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอมและ จะนำความรูเหลานัน้ มาพจิ ารณาใหเ ชอื่ มโยง พลงั งาน กรณที ่เี กิดงาน ปริมาณที่ กนั เพ่ือประกอบการวางแผน การดำเนนิ การ เกี่ยวขอ ง การคำนวณสูตรท่ีตองใช จัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หก บั ผเู รยี น สามารถนำความรูเหลานน้ั มาพิจารณา ใหเชอ่ื มโยงกัน สามารถประยุกตใชใน ชีวติ ประจำวัน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ซอื่ สัตยสจุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ความซือ่ สตั ยสุจรติ และมคี วามอดทน มี ใชส ติปญ ญาในการดำเนินชีวิต ความเพยี ร ใชสติปญญาในการดำเนิน ชวี ิต สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู ผเู รยี น ความรเู กย่ี วกบั งานเชื่อมซอม ความรเู บอื้ งตนความรเู กยี่ วกบั สญั ลกั ษณงาน ความรคู วามรเู ก่ยี วกับสญั ลกั ษณงาน บำรงุ เรอ่ื ง เกี่ยวกับธรรมชาติ เชอ่ื ม เชือ่ ม ของเรา ความแตกตางและความ คลา ยคลงึ กนั ของ - ทำผงั ภมู ิทศั น (บรรยายความ ทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอมและ แตกตา งและ ความคลายคลึงของผังภูมิ พลังงานและสง่ิ แวดลอ ม ทัศน) ลงชือ่ ..................................................ผสู อน (นายภทั รพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรยี นการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………. 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….……………………………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกป ญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….……………………………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชื่อ..............................................ผสู อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผอู ำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ลงช่อื __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผอู ำนวยการโรงเรยี น _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ลงชือ่ __________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรยี น) (__________________________)

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชา งานเชอื่ มซอ มบำรงุ รหสั วิชา ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เวลาเรยี น ๔ ช่ัวโมง/สปั ดาห น้ำหนักเวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง หนวยการเรียนรทู ่ี ๒ เร่ือง การกำหนดสญั ลกั ษณข องแนวเชอื่ มตอฉาก ระยะเวลา ๑๐ ชวั่ โมง ..................................................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ แนวเชื่อมตอฉาก (Fillet Weld) คือ แนวเชื่อมที่มีรูปรางลักษณะของพื้นที่หนาตัด ของโลหะเติม หลังจาก การเชื่อมเปน รูปคลายกับสามเหลยี่ มมมุ ฉาก โดยในหนว ยการเรยี นนี้ ผูเ รยี นจะไดเรียนรู วธิ ีการกำหนดรายละเอียดของ แนวเชือ่ มตอ ฉากลงในสญั ลักษณงานเชอื่ ม ไมว าจะเปน การกำหนดความกวาง หรือความสูงและความยาวแนวเชื่อม การ กำหนดสัญลักษณงานเชื่อมรอบ การกำหนดสัญลักษณงานเชื่อมสนาม การกำหนดรูปรางและกรรมวิธีตกแตงผิวแนว เชื่อม 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชี้วดั ช้นั ป/ผลการเรยี นร/ู เปาหมายการเรยี นรู 1.เพอื่ ใหม ีความรูความเขาใจการกำหนดสัญลกั ษณข องแนวเชื่อมตอ ฉาก 3. สาระการเรยี นรู 1. การกำหนดความกวางหรอื ความสูงของแนวเช่ือม 2. การกำหนดความยาวของแนวเช่อื ม 3. การกำหนดสัญลกั ษณงานเชอ่ื มรอบและงานเชือ่ มสนาม 4. การกำหนดสัญลกั ษณข อง รปู รางแนวเช่อื มและกรรมวิธีตกแตง ผวิ 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 1. อธิบายวิธกี ารกำหนดสญั ลักษณของแนวเช่อื มตอ ฉากในแบบส่ังงานได 2. กำหนดความกวา งหรอื ความสงู ของแนวเช่อื มตอฉากได 3. กำหนดความยาวของแนวเชื่อมตอฉากได 4. กำหนดสญั ลกั ษณงานเชอ่ื มรอบและงานเชอื่ มสนามได 5. คณุ ลักษณะของวชิ า - กระบวนการกลุม 6. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค 1. มีวินยั 2. ใฝเ รยี นรู 3. มงุ มนั่ ในการทำงาน 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : 1. ทำแบบทดสอบกอ นเรยี น บทท่ี 2 2. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นและคำถามทายบทเพื่อวัดประเมนิ ผล

8. กิจกรรมการเรียนรู ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผเู รยี น ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู • นักศกึ ษากำลงั คิดคำตอบทถ่ี ามไปโดย การฟงและการตอบจากปากเปลา • นำเสนอปญหาเกี่ยวกบั การกำหนด สัญลักษณของแนวเชือ่ มตอ ฉาก • ใหค วามรเู กยี่ วกับการกำหนดสัญลกั ษณ • นกั ศกึ ษากำลงั ศึกษาขอ มูลจากอาจารย ของแนวเช่ือมตอ ฉาก ผสู อนโดยการฟง และการจดบันทกึ ใน เนอื้ หาเกยี่ วกับการกำหนดสัญลักษณของ • ซักถามปญหาแกน ักศึกษาในความเขาใจ แนวเชอ่ื มตอฉาก ในเน้อื หามากนอยเพียงใด • นักศึกษาทำแบบฝก หดั สง อาจารย • ใหนักศกึ ษาทบทวนความรคู วามเขาใจใน ผูสอนไดอยา งถูกตอง เนอ้ื หาโดยการทำแบบฝก หัดทา ยบทและ ใหค ะแนน • นักศึกษาทำความเขา ใจในเนื้อหาไดอยา ง ถกู ตอ ง และทำการจดบนั ทกึ สรุปอีกครงั้ • สรุปเนื้อหาท่ีสำคัญใหก ับนกั ศึกษาอกี ครั้ง กอ นเลกิ เรยี น

9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลงเรียนรู จำนวน สภาพการใชสอ่ื รายการส่ือ 1 เลม ขัน้ สรา งความสนใจ 1. หนังสืองานเชื่อมซอ มบำรงุ 10. การวัดผลและประเมินผล วิธวี ดั ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานรายบคุ คล 2. สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู อ นเรียน หนว ยท่ี 2 4. การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค เครอื่ งมือวดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานรายบุคคล 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ 3. แบบประเมินผลการเรยี นรกู อนเรียน หนว ยที่ 2 4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค โดยครแู ละนกั ศึกษา รว มกนั ประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ ผล 1. เกณฑผานการสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานรายบคุ คล ตองไมมีชองปรบั ปรุง 2. เกณฑผานการสังเกตพฤตกิ รรมการเขารว มกิจกรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)

11. การบูรณาการตามจุดเนน ของโรงเรยี น หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู รยี น 6. ความพอประมาณ พอดีดา นเทคโนโลยี พอดีดานจิตใจ 7. ความมเี หตุผล รูจกั ใชเทคโนโลยมี าผลิตสื่อที่ มีจิตสำนึกท่ดี ี เอ้ืออาทร 8. มีภูมคิ มุ กนั ในตัวทด่ี ี เหมาะสมและสอดคลอ งเน้อื หาเปน ประนีประนอม นกึ ถงึ ประโยชน ประโยชนต อผูเ รียนและพฒั นาจากภมู ิ สวนรวม/กลมุ ปญญาของผเู รยี น - ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว ยความ ไมห ยุดนง่ิ ที่หาหนทางในชีวิต หลุด ถกู ตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาด พนจากความทุกขยาก (การคน หา แคลน ในการดำรงชีวติ คำตอบเพ่อื ใหหลุดพน จากความไมร)ู ภมู ปิ ญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ปิ ญญา : มีความรู รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมัดระวงั สรา งสรรค 9. เงื่อนไขความรู ความรอบรู เรอ่ื ง พลังงาน ความรอบรู เร่ือง พลังงาน สนิ้ เปลอื ง ทเี่ กย่ี วขอ งรอบดาน ความ สน้ิ เปลอื ง กรณที ่ีเกดิ งาน ปริมาณที่ รอบคอบทจี่ ะนำความรูเ หลา นน้ั มา เกยี่ วขอ ง การคำนวณสตู รท่ีตอ งใช พิจารณาใหเช่อื มโยงกัน เพือ่ สามารถนำความรเู หลานน้ั มา ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การ พจิ ารณาใหเชอ่ื มโยงกัน สามารถ จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู หก ับผเู รยี น ประยุกตใชในชวี ิตประจำวนั 10. เง่อื นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี ความซอ่ื สัตยส ุจริตและมคี วามอดทน ความซ่อื สตั ยส ุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชสตปิ ญ ญาในการ มีความเพียร ใชสติปญญาในการ ดำเนินชวี ิต ดำเนินชวี ิต สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ครู ผเู รียน ความรูเบ้ืองเกยี่ วกบั การกำหนด ความรเู บ้ืองเก่ยี วกบั การกำหนด ความรเู บ้ืองตน เก่ยี วกบั การกำหนด สัญลกั ษณของแนวเชื่อมตอฉาก สัญลกั ษณข องแนวเชอื่ มตอฉาก สัญลกั ษณของแนวเชือ่ มตอฉาก - บรรยายความแตกตา งและความ ความแตกตางและความ คลา ยคลึง คลายคลงึ กันของ พลงั งานสน้ิ เปลอื ง กันของพลงั งานส้ินเปลอื ง และส่งิ แวดลอมโดยใชค วามรู เรือ่ ง เกย่ี วกบั งานเชือ่ มซอมบำรุง ลงชอ่ื ..................................................ผูสอน (นายภัทรพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกปญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชือ่ ..............................................ผูส อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผูอ ำนวยการโรงเรียน _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรียน) (__________________________)

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชา งานเชอ่ื มซอ มบำรงุ รหสั วิชา ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เวลาเรียน ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห นำ้ หนกั เวลาเรยี น ๘๐ ช่ัวโมง หนว ยการเรียนรทู ี่ ๓ เรอ่ื ง การกำหนดสญั ลักษณข อง แนวเชอื่ มบากรอง ระยะเวลา ๑๐ ชวั่ โมง ..................................................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั แนวเช่ือมบากรอง (Groove Weld) คอื แนวเชื่อมท่ีกระทำลงบนรองที่เตรียมไวบนช้ินงานโดยท่ีการเตรียมขอบ รอยตอช้ินงานของ แนวเชอ่ื มชนิดนแ้ี บงออกไดเปน หลายชนดิ ดวยกัน เชน ชนิดของรองบาก การกำหนดชอ งหา งรอยตอ มมุ เอียงของรองบาก มมุ ของรอ งบากและหนาฐาน ขนาดของรองบาก ความลึกของรอ งบาก 2. มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชีว้ ดั ชนั้ ป/ ผลการเรยี นร/ู เปา หมายการเรยี นรู 1. เพอื่ ใหม คี วามรคู วามเขาใจการกำหนดสญั ลักษณของ แนวเช่ือมบากรอ ง 3. สาระการเรียนรู 1. ชนิดของแนวเชอ่ื มบากรอง 2. การกำหนดขนาดชอ งหางของรอยตอ 3. การกำหนดขนาดมมุ เอยี งของรอ งบาก 4. การกำหนดขนาดมุมบากและหนา ฐาน 5. การกำหนดขนาดของรอ งบากและความลกึ ของแนวเชือ่ ม 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 1. บอกชอ่ื กำหนดสญั ลักษณข องแนวเช่อื มบากรอ งได 2. กำหนดขนาดของชองหา งรอยตอแนวเชื่อมบากรอ งได 3. กำหนดขนาดมุมเอียงของรองบากได 4. กำหนดขนาดของมมุ บากและหนา ฐานของการบากรองแบบตวั ยแู ละตวั เจได 5. กำหนดขนาดความลึกของแนวเชื่อมบากรอ งได 5. คุณลกั ษณะของวิชา - กระบวนการกลมุ 6. คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเ รยี นรู 3. มุงม่นั ในการทำงาน

7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : 1. สมุดบนั ทึกความกา้ วหนา้ ทางการเรียน 2. ช้ินงาน 3. แบบประเมนิ ผล 8. กิจกรรมการเรียนรู ข้ันตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของผูเ รยี น ขนั้ ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู • นักศึกษากำลงั คิดคำตอบทีถ่ ามไปโดย • นำเสนอปญ หาเกย่ี วกับการกำหนด การฟงและการตอบจากปากเปลา สัญลกั ษณบากรอ ง • ใหความรเู ก่ียวกบั การกำหนดสัญลักษณ • นกั ศกึ ษากำลงั ศึกษาขอมูลจากอาจารย บากรอ ง ผูสอนโดยการฟง และการจดบันทกึ ใน เนอื้ หาเกยี่ วกับการกำหนดสัญลักษณ • ซกั ถามปญ หาแกนกั ศกึ ษาในความเขาใจ บากรอง ในเนือ้ หามากนอ ยเพียงใด • นักศกึ ษาทำแบบฝกหดั สงอาจารย • ใหนักศึกษาทบทวนความรคู วามเขาใจใน ผูสอนไดอยางถกู ตอ ง เนอื้ หาโดยการทำแบบฝก หัดทายบทและ ใหคะแนน • นกั ศึกษาทำความเขาใจในเน้ือหาไดอยา ง ถูกตอง และทำการจดบนั ทึกสรุปอีกครัง้ • สรปุ เนือ้ หาที่สำคัญใหกับนกั ศึกษาอีกคร้งั กอนเลกิ เรยี น 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง เรียนรู จำนวน สภาพการใชสื่อ รายการสื่อ 1 เลม ขั้นสรา งความสนใจ 1. หนังสอื งานเช่ือมซอมบำรุง 10. การวัดผลและประเมินผล วธิ ีวัดผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกิจกรรมกลุม 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรูก อ นเรียน หนวยที่ 2 4. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดานคุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

เคร่ืองมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานรายบุคคล 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม 3. แบบประเมนิ ผลการเรียนรกู อนเรียน หนวยที่ 2 4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค โดยครแู ละนักศกึ ษา รวมกนั ประเมนิ เกณฑการประเมนิ ผล 1. เกณฑผ า นการสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานรายบคุ คล ตอ งไมม ีชอ งปรับปรุง 2. เกณฑผ า นการสงั เกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 11. การบรู ณาการตามจดุ เนน ของโรงเรียน หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผูเ รียน 11. ความพอประมาณ พอดดี านเทคโนโลยี พอดีดานจิตใจ 12. ความมีเหตุผล รจู ักใชเทคโนโลยีมาผลติ สื่อท่ี มีจติ สำนกึ ที่ดี เออ้ื อาทร 13. มภี ูมคิ ุมกันในตวั ทีด่ ี เหมาะสมและสอดคลองเน้ือหาเปน ประนีประนอม นกึ ถึงประโยชน ประโยชนต อผูเ รยี นและพัฒนาจากภูมิ สว นรวม/กลมุ ปญ ญาของผูเ รยี น - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดวยความ ไมห ยดุ นิ่งท่ีหาหนทางในชีวติ หลุด ถกู ตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาด พนจากความทุกขย าก (การคน หา แคลน ในการดำรงชวี ติ คำตอบเพือ่ ใหห ลุดพนจากความไมร )ู ภูมปิ ญญา : มีความรู รอบคอบ และ ภูมปิ ญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมดั ระวงั สรา งสรรค 14. เง่ือนไขความรู ความรอบรู เร่อื ง พลงั งาน ความรอบรู เรอื่ ง พลังงาน สิ้นเปลอื ง ท่ีเกย่ี วของรอบดา น ความ สนิ้ เปลือง กรณที ่ีเกิดงาน ปริมาณท่ี รอบคอบทจ่ี ะนำความรเู หลานั้นมา เกย่ี วขอ ง การคำนวณสตู รท่ีตอ งใช พจิ ารณาใหเชือ่ มโยงกัน เพอื่ สามารถนำความรเู หลา น้นั มา ประกอบการวางแผน การดำเนินการ พิจารณาใหเชอ่ื มโยงกัน สามารถ จัดกจิ กรรมการเรียนรใู หก บั ผูเรียน ประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวัน

15. เง่อื นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ความซื่อสัตยสุจริตและมคี วามอดทน ความซอื่ สตั ยส ุจริตและมคี วามอดทน ความรูเบ้ืองเก่ียวกบั พลงั งาน มีความเพยี ร ใชสติปญญาในการ มคี วามเพียร ใชสติปญ ญาในการ ส้นิ เปลอื ง ดำเนินชีวิต ดำเนนิ ชวี ิต บรรยายความแตกตา งและความ ครู ผเู รียน คลา ยคลงึ กนั ของ พลงั งานส้นิ เปลือง ความรเู บือ้ งเกี่ยวกับพลงั งาน ความรูเ บื้องตนเก่ียวกบั พลังงาน และสิง่ แวดลอ มโดยใชความรู เรื่อง สิ้นเปลอื ง สน้ิ เปลอื ง เกีย่ วกบั งานเชอ่ื มซอ มบำรงุ - ความแตกตางและความ คลายคลงึ กนั ของพลงั งานส้นิ เปลอื ง ลงชือ่ ..................................................ผสู อน (นายภัทรพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกปญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชือ่ ..............................................ผูส อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผูอ ำนวยการโรงเรียน _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรียน) (__________________________)

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชา งานเชอื่ มซอมบำรุง รหัสวิชา ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เวลาเรยี น ๔ ช่ัวโมง/สปั ดาห นำ้ หนักเวลาเรียน ๘๐ ชว่ั โมง หนวยการเรียนรูท ่ี ๔ เร่อื ง การเชอื่ มเหลก็ โครงสรา งท่ีรบั ภาระพลวตั ระยะเวลา ๑๐ ชั่วโมง ..................................................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ ภาระพลวัต (Dynamics Load) เปนแรงที่เกิดขึ้นกับชิ้นสวนในขณะที่ชิ้นสวนนั้นเคลื่อนที่ ซึ่งแบงออกตาม ทศิ ทางและชวงของการเปลย่ี นแปลงภาระทม่ี ากระทำกบั ชิ้นสวนน้ันๆ การคำนวณตรวจสอบความแขง็ แรงหรือความสามารถในการรบั ภาระแบบพลวัตนี้จะอาศัยหลักการเชนเดียวกัน กับภาระสถติ แตจะแตกตางกันตรงที่คา ความเคนจากการคำนวณภายใตการรับภาระแบบพลวัตน้ัน จะตองเทากับหรอื นอยกวา คา ความเคนใชงานภายใตภาระพลวัตเทา นน้ั 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ ตัวช้ีวดั ชน้ั ป/ผลการเรียนรู/เปาหมายการเรยี นรู 1. เพ่อื ใหม ีความรูความเขาใจการเช่อื มเหล็กโครงสรา งที่รับภาระพลวัต 3. สาระการเรยี นรู 1. หลักการคำนวณหาคาความสามารถในการรับภาระพลวัตเบอื้ งตน 2. การคำนวณตรวจสอบความแขง็ แรงของแนวเชอ่ื มที่รบั ภาระพลวตั 4. สมรรถนะสำคญั ของนกั เรยี น 1. อธิบายลกั ษณะของภาระพลวตั ที่กระทำตอ แนวเชือ่ มได 2. บอกคาตัวแปรท่ีมอี ิทธพิ ลตอการรับภาระของแนวเชอื่ มได 3. บอกระดับของการประเมนิ ความบอยคร้งั ของภาระทกี่ ระทำตอ ชิ้นงาน ตามมาตรฐานของเยอรมัน DIN 8563 4. อธิบายวิธกี ารกำหนดเกรดคุณภาพของแนวเชอ่ื มตามมาตรฐานของเยอรมัน DIN 8563 ได 5. กำหนดคา แฟกสเตอรของการกระแทกท่ใี ชสำหรับคำนวณตรวจสอบความแขง็ แรงของแนวเชื่อมไดเหมาะสม กบั ลกั ษณะงาน 5. คุณลักษณะของวิชา - กระบวนการกลุม 6. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มุงม่นั ในการทำงาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : 1. สมดุ บนั ทึกความกา้ วหนา้ ทางการเรียน 2. ช้ินงาน 3. แบบประเมินผล

8. กิจกรรมการเรยี นรู ขั้นตอนการเรียนหรอื กิจกรรมของผเู รียน ขนั้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู • นักศึกษากำลังคิดคำตอบทถ่ี ามไปโดย การฟงและการตอบจากปากเปลา • นำเสนอปญหาเกี่ยวกบั การเชอ่ื มเหลก็ โครงสรา งท่ีรบั ภาระพลวตั • ใหค วามรูเกยี่ วกับ การเชือ่ มเหล็ก • นักศึกษากำลงั ศกึ ษาขอ มูลจากอาจารย โครงสรางทร่ี บั ภาระพลวัต ผูส อนโดยการฟง และการจดบันทึกใน เนอื้ หาเกี่ยวกบั การเช่ือมเหล็กโครงสรา ง ที่รบั ภาระพลวัต • ซกั ถามปญ หาแกนกั ศกึ ษาในความเขาใจ • นกั ศกึ ษาทำแบบฝก หดั สงอาจารย ในเนื้อหามากนอยเพยี งใด ผูสอนไดอ ยางถูกตอง • ใหน กั ศกึ ษาทบทวนความรคู วามเขาใจใน • นักศึกษาทำความเขา ใจในเนื้อหาไดอ ยาง เนอื้ หาโดยการทำแบบฝกหัดทา ยบทและ ถกู ตอ ง และทำการจดบนั ทึกสรปุ อกี คร้งั ใหคะแนน • สรุปเนอ้ื หาท่ีสำคัญใหกบั นักศึกษาอีกครั้ง กอ นเลิกเรียน 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลงเรยี นรู จำนวน สภาพการใชส ่ือ รายการสือ่ 1 เลม ขน้ั สรางความสนใจ 1. หนังสืองานเช่อื มซอ มบำรุง 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรูกอนเรยี น หนวยท่ี 2 4. การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดานคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค

เครอื่ งมือวดั ผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านรายบุคคล 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ 3. แบบประเมินผลการเรียนรกู อ นเรยี น หนวยที่ 2 4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค โดยครูและนักศกึ ษา รว มกันประเมนิ เกณฑการประเมินผล 1. เกณฑผ านการสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานรายบุคคล ตอ งไมมีชองปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ านการสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป) 11. การบรู ณาการตามจุดเนน ของโรงเรียน หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผูเรียน 1. ความพอประมาณ พอดีดานเทคโนโลยี พอดีดา นจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รูจักใชเ ทคโนโลยีมาผลติ ส่อื ท่ี มจี ิตสำนกึ ท่ดี ี เอือ้ อาทร 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตวั ท่ดี ี เหมาะสมและสอดคลอ งเนื้อหาเปน ประนปี ระนอม นกึ ถึงประโยชน ประโยชนต อผูเรยี นและพฒั นาจากภูมิ สวนรวม/กลุม ปญ ญาของผเู รยี น - ยึดถอื การประกอบอาชพี ดวยความ ไมหยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ิต หลุด ถูกตอ ง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาด พนจากความทกุ ขยาก (การคนหา แคลน ในการดำรงชวี ิต คำตอบเพ่ือใหหลุดพน จากความไมรู) ภมู ปิ ญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ปิ ญ ญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ระมดั ระวงั ระมดั ระวงั สรา งสรรค 4. เงื่อนไขความรู ความรอบรู เร่ือง พลงั งาน ความรอบรู เรอ่ื ง พลงั งาน ส้ินเปลือง ทเี่ กี่ยวขอ งรอบดา น ความ ส้ินเปลือง กรณที ี่เกิดงาน ปรมิ าณที่ รอบคอบทจ่ี ะนำความรูเหลานั้นมา เกย่ี วของ การคำนวณสตู รที่ตอ งใช พิจารณาใหเชอ่ื มโยงกัน เพือ่ สามารถนำความรูเหลานัน้ มา ประกอบการวางแผน การดำเนินการ พิจารณาใหเชื่อมโยงกนั สามารถ จัดกจิ กรรมการเรียนรใู หกับผูเรยี น ประยุกตใชในชีวติ ประจำวัน 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซ่ือสัตยส ุจริตและมีความอดทน ความซ่ือสัตยสุจริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชสติปญญาในการ มคี วามเพียร ใชสตปิ ญ ญาในการ ดำเนนิ ชีวิต ดำเนนิ ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู ผเู รียน

ความรูเบ้ืองเก่ยี วกบั พลังงาน ความรเู บื้องเก่ยี วกับพลังงาน ความรเู บอ้ื งตนเกยี่ วกับพลงั งาน สิ้นเปลอื ง ส้ินเปลอื ง ส้นิ เปลอื ง - บรรยายความแตกตา งและความ ความแตกตา งและความ คลายคลึง คลา ยคลงึ กันของ พลงั งานสิ้นเปลอื ง กันของพลังงานส้ินเปลอื ง และสง่ิ แวดลอ มโดยใชค วามรู เรอ่ื ง เกี่ยวกับงานเชอ่ื มซอมบำรงุ ลงชือ่ ..................................................ผสู อน (นายภทั รพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกปญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชือ่ ..............................................ผูส อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผูอ ำนวยการโรงเรียน _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรียน) (__________________________)

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชา งานเช่อื มซอ มบำรงุ รหัสวิชา ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห นำ้ หนกั เวลาเรยี น ๘๐ ชว่ั โมง หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๕ เรือ่ ง การเชือ่ มชิ้นสว นขึน้ รปู เย็นและขน้ึ รูปรอ น ระยะเวลา ๒๐ ช่วั โมง .............................................................................................................................................................................................. 1. สาระสำคัญ ชิน้ สว นข้นึ รูปเยน็ หมายถงึ การขึ้นรปู ช้ินสว นเพือ่ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรา งถาวร โดยใชอุณหภูมิที่ต่ำกวา อณุ หภูมทิ ี่ทำใหเกิดผลึกใหม (Recryatallization) แตจะตำ่ กวา อุณหภูมิท่ีทำใหโลหะนั้นเกิดการหลอม สว นกรรมวิธีการ ขน้ึ รูปชน้ิ สว นรอนหมายถึง การขึน้ รปู ชิ้นสว นทอ่ี ุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิท่ีทำใหเกิดผลึกใหม สำหรับการเช่ือมชิ้นสวนขึ้น รูปเยน็ และขนึ้ รปู รอนที่จะกลา วถงึ ในหนวยนนี้ น้ั จะอธบิ ายเฉพาะการเชอื่ มประกอบเหลก็ I-Beam เทา นนั้ 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ัดชน้ั ป/ผลการเรียนร/ู เปา หมายการเรยี นรู 1. เพ่อื ใหมคี วามรคู วามเขาใจการเชื่อมชิน้ สว นขนึ้ รูปเย็นและข้นึ รูปรอน 3. สาระการเรยี นรู 1. หลกั การทั่วไปของการเช่อื มเหล็ก ท่ีผานการขึ้นรูปเย็นและรอน 2. การเชอื่ มเหล็ก I-Beam ท่ีผานการขน้ึ รูปเยน็ และรอน 4. สมรรถนะสำคญั ของนกั เรยี น 1. บอกความหมายของชิน้ สว นข้ึนรูปเย็นและชิ้นสวนข้นึ รูปรอนได 2. บอกวิธกี ารแกไ ขปญ หาการพลิกควำ่ ในการเชอื่ มประกอบของเหลก็ I-Beam ได 3. บอกขอควรระวงั ในการเตรยี มช้นิ งานประกอบของเหลก็ I-Beam ได 4. บอกขอ เสยี ของการเช่ือมเหล็กรีดในแนวเย้ืองศูนยไ ด 5. บอกขอควรระวงั ในการเชื่อมตอคานแบบการใชแผนประสานได 6. สเกตซร ปู การตอเทา แขนและคานเหลก็ I-Beam ได 7. สเกตซรปู การตอ คานเหล็ก I-Beam ในแนวยาวและแนวขวางได เพื่อใหร บั ภาระสถิต 5. คุณลกั ษณะของวิชา - กระบวนการกลุม 6. คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมน่ั ในการทำงาน 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : 1. สมดุ บนั ทกึ ความกา้ วหนา้ ทางการเรียน 2. ช้ินงาน 3. แบบประเมินผล

8. กิจกรรมการเรยี นรู ขนั้ ตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของผูเรยี น ขนั้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู • นักศึกษากำลงั คิดคำตอบทถี่ ามไปโดย การฟงและการตอบจากปากเปลา • นำเสนอปญ หาเกีย่ วกับการเชื่อม ชนิ้ สวนขนึ้ รปู เยน็ และข้ึนรูปรอน • ใหความรูเก่ียวกบั การเช่ือมชน้ิ สว นขนึ้ • นกั ศึกษากำลงั ศึกษาขอมูลจากอาจารย รปู เยน็ และขนึ้ รปู รอ น ผสู อนโดยการฟง และการจดบนั ทกึ ใน เนอ้ื หาเกีย่ วกบั การเชอื่ มชิน้ สว นข้ึนรปู เย็นและขน้ึ รูปรอ น • ซักถามปญหาแกนักศกึ ษาในความ • นกั ศึกษาทำแบบฝกหัดสงอาจารย เขาใจในเนอ้ื หามากนอยเพยี งใด ผูสอนไดอยา งถกู ตอ ง • ใหน กั ศึกษาทบทวนความรูความเขา ใจ • นักศึกษาทำความเขาใจในเนอื้ หาได ในเนอื้ หาโดยการทำแบบฝกหดั ทายบท อยางถกู ตอง และทำการจดบันทกึ สรปุ และใหคะแนน อีกครงั้ • สรุปเน้ือหาที่สำคญั ใหก ับนักศกึ ษาอกี คร้ังกอ นเลิกเรียน 9. สือ่ การเรียนการสอน / แหลง เรยี นรู จำนวน สภาพการใชสอื่ รายการสอื่ 1 เลม ขน้ั สรา งความสนใจ 1. หนังสืองานเชือ่ มซอมบำรุง 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานรายบคุ คล 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรูก อ นเรียน หนว ยท่ี 2 4. การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา นคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค

เครอ่ื งมือวดั ผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม 3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูกอ นเรยี น หนวยที่ 2 4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค โดยครแู ละนกั ศึกษา รวมกนั ประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ ผล 1. เกณฑผานการสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านรายบุคคล ตองไมมีชองปรบั ปรุง 2. เกณฑผ านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 11. การบรู ณาการตามจุดเนน ของโรงเรียน หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผูเรยี น 1. ความพอประมาณ พอดดี า นเทคโนโลยี พอดดี า นจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รูจกั ใชเทคโนโลยีมาผลิตส่ือที่ มจี ิตสำนกึ ท่ดี ี เอ้ืออาทร เหมาะสมและสอดคลอ งเนอ้ื หาเปน ประนปี ระนอม นกึ ถึงประโยชน ประโยชนต อผเู รยี นและพฒั นาจากภมู ิ สว นรวม/กลุม ปญ ญาของผเู รยี น - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดวยความ ไมหยุดน่ิงที่หาหนทางในชีวิต หลุด ถูกตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาด พน จากความทกุ ขย าก (การคนหา แคลน ในการดำรงชีวิต คำตอบเพือ่ ใหห ลุดพนจากความไมรู) 3. มภี มู ิคมุ กันในตวั ที่ดี ภูมิปญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ปิ ญ ญา : มคี วามรู รอบคอบ และ 4. เงื่อนไขความรู ระมดั ระวัง ระมัดระวัง สรางสรรค 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม ความรอบรู เร่ือง พลงั งาน ความรอบรู เร่ือง พลงั งาน สิน้ เปลือง ทเ่ี กี่ยวของรอบดา น ความ สน้ิ เปลือง กรณที ่ีเกิดงาน ปริมาณที่ รอบคอบท่จี ะนำความรูเหลาน้ันมา เกีย่ วของ การคำนวณสตู รท่ีตอ งใช พิจารณาใหเชอื่ มโยงกนั เพ่ือ สามารถนำความรเู หลานนั้ มา ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การ พิจารณาใหเช่อื มโยงกัน สามารถ จัดกิจกรรมการเรียนรใู หกบั ผเู รยี น ประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจำวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซอ่ื สัตยสุจริตและมีความอดทน ความซือ่ สตั ยสุจริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชสตปิ ญ ญาในการ มคี วามเพียร ใชสติปญญาในการ ดำเนินชวี ิต ดำเนนิ ชวี ิต

สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู ผูเ รียน ความรเู บ้อื งเกย่ี วกบั พลงั งาน ความรูเ บื้องเกย่ี วกบั พลังงาน ความรูเ บื้องตน เก่ยี วกับพลังงาน สิน้ เปลอื ง สิ้นเปลอื ง สิน้ เปลอื ง บรรยายความแตกตางและความ - คลา ยคลึงกนั ของ พลงั งาน ความแตกตา งและความ คลา ยคลึง สน้ิ เปลือง และสิง่ แวดลอ มโดยใช กนั ของพลังงานสิ้นเปลือง ความรู เรอ่ื งเกยี่ วกับงานเชือ่ ม ซอ มบำรุง ลงชื่อ..................................................ผูสอน (นายภทั รพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกปญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชือ่ ..............................................ผูส อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผูอ ำนวยการโรงเรียน _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรียน) (__________________________)

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ า งานเชื่อมซอ มบำรงุ รหัสวชิ า ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ เวลาเรยี น ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห น้ำหนักเวลาเรยี น ๘๐ ชัว่ โมง หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๖ เรื่อง การเกิดและการปองกันการโกงงอของคานน้ำหนกั และเสาค้ำยนั ระยะเวลา ๒๐ ชว่ั โมง .............................................................................................................................................................................................. 1. สาระสำคัญ ในงานเชื่อมนัน้ การใหความรอนและการเย็นตัวของชิ้นงานเชื่อมจะเปน วัฏจักรที่สำคัญที่จะนำไปสูการบิดงอ หรือเสียรูปของชิ้นงาน ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากแรงหดตัวของแนวเชื่อม หรือจากการเกิดความเคนตกคางที่เกิดจาก กระบวนการเชื่อม การออกแบบแนวเช่ือมจำเปน อยางยงิ่ ทีจ่ ะตอ งคดิ หาวิธีปอ งกนั เอาไวล วงหนา ท้งั น้เี พือ่ ไมใหเ กิดความ เสียหายทง้ั ทางดานวิศวกรรมและทางดานเศรษฐศาสตรด วย 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชีว้ ัดชั้นป/ ผลการเรยี นร/ู เปา หมายการเรียนรู 1. บอกหลักการของการเกิดและการปอ งกันการโกงงอของคานน้ำหนกั และเสาคำ้ ยนั ได 3. สาระการเรยี นรู 1. การปองกนั การบิดงอเชงิ มมุ 2. การโกงงอตามความยาว 3. การคำนวณหาโมเมนตความเฉอ่ื ย 4. การปองกนั การโกงงอตามยาว 5. มาตรฐานของคา พิกดั ความเผื่อของการบิดงอในงานเช่อื มโครงสรา ง 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน 1. คำนวณหาระยะการบดิ งอเชิงมมุ ของชิน้ งานเช่ือมได 2. บอกวธิ กี ารปอ งกันการบิดงอเชิงมุมของช้นิ งานเชอ่ื มได 3. บอกสาเหตุที่ทำใหชนิ้ งานเชอ่ื มเกดิ การโกง งอตามความยาวได 4. คำนวณหาโมเมนตความเฉอ่ื ยท่กี ระทำตอพ้นื ท่หี นาตัดของช้นิ งานเชือ่ มได 5. บอกวิธกี ารปองกันการโกง งอตามความยาวได 6. บอกคา มาตรฐานของพกิ ัดความเผ่ือของการโกง งอในการเชือ่ มตามมาตรฐานของ AWS ได 5. คุณลกั ษณะของวิชา - กระบวนการกลมุ 6. คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค 1. มวี ินัย 2. ใฝเ รยี นรู 3. มงุ มัน่ ในการทำงาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : 1. สมดุ บนั ทึกความกา้ วหนา้ ทางการเรียน 2. ช้ินงาน 3. แบบประเมนิ ผล

8. กิจกรรมการเรียนรู ขัน้ ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของผเู รียน • นำเสนอปญ หาเกี่ยวกบั การปองกนั การ • นกั ศกึ ษากำลงั คดิ คำตอบทถี่ ามไปโดย โกง งอของคานน้ำหนกั และเสาคำ้ ยนั การฟงและการตอบจากปากเปลา • ใหค วามรเู กี่ยวกับการปอ งกันการโกงงอ • นกั ศกึ ษากำลงั ศึกษาขอ มลู จากอาจารย ของคานน้ำหนกั และเสาคำ้ ยนั ผูสอนโดยการฟง และการจดบนั ทกึ ใน เน้ือหาเก่ียวกบั การปองกันการโกงงอ ของคานน้ำหนักและเสาคำ้ ยนั • ซกั ถามปญ หาแกนกั ศกึ ษาในความ • นกั ศกึ ษาทำแบบฝกหัดสงอาจารย เขาใจในเนอื้ หามากนอ ยเพยี งใด ผูสอนไดอ ยางถูกตอง • ใหน กั ศึกษาทบทวนความรูความเขาใจ • นักศึกษาทำความเขา ใจในเนอ้ื หาได ในเน้อื หาโดยการทำแบบฝกหัดทา ยบท อยางถูกตอง และทำการจดบนั ทึกสรุป และใหค ะแนน อกี ครัง้ • สรุปเนอ้ื หาที่สำคญั ใหก บั นกั ศกึ ษาอีก ครัง้ กอ นเลกิ เรยี น 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลงเรียนรู จำนวน สภาพการใชส ่ือ รายการส่อื 1 เลม ข้ันสรา งความสนใจ 1. หนังสอื งานเช่อื มซอมบำรงุ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล วธิ วี ดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานรายบุคคล 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลมุ 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรูกอ นเรยี น หนว ยท่ี 2 4. การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา นคุณธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค

เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม 3. แบบประเมินผลการเรยี นรกู อ นเรยี น หนวยที่ 2 4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครแู ละนกั ศึกษา รวมกนั ประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ ผล 1. เกณฑผานการสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานรายบุคคล ตอ งไมม ีชอ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ านการสังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 11. การบรู ณาการตามจุดเนนของโรงเรียน หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดดี า นเทคโนโลยี พอดดี า นจิตใจ 2. ความมเี หตุผล รูจกั ใชเ ทคโนโลยีมาผลิตส่ือที่ มจี ิตสำนกึ ที่ดี เอ้ืออาทร เหมาะสมและสอดคลอ งเน้อื หาเปน ประนปี ระนอม นกึ ถงึ ประโยชน ประโยชนต อผเู รยี นและพฒั นาจากภมู ิ สว นรวม/กลมุ ปญ ญาของผเู รยี น - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว ยความ ไมหยุดน่ิงท่ีหาหนทางในชีวิต หลุด ถกู ตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาด พน จากความทกุ ขย าก (การคนหา แคลน ในการดำรงชีวิต คำตอบเพ่ือใหหลุดพนจากความไมรู) 3. มภี มู ิคุมกนั ในตวั ที่ดี ภูมิปญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ปิ ญ ญา : มคี วามรู รอบคอบ และ 4. เงื่อนไขความรู ระมัดระวัง ระมดั ระวัง สรางสรรค 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ความรอบรู เรื่อง พลงั งาน ความรอบรู เร่ือง พลงั งาน สน้ิ เปลือง ทเ่ี กี่ยวขอ งรอบดา น ความ สน้ิ เปลอื ง กรณที ่ีเกิดงาน ปริมาณที่ รอบคอบท่ีจะนำความรูเหลาน้ันมา เกีย่ วขอ ง การคำนวณสตู รท่ีตอ งใช พจิ ารณาใหเชอื่ มโยงกนั เพ่ือ สามารถนำความรเู หลานั้นมา ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การ พิจารณาใหเชือ่ มโยงกัน สามารถ จัดกิจกรรมการเรยี นรใู หกบั ผเู รยี น ประยกุ ตใ ชในชวี ิตประจำวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซอ่ื สตั ยสุจริตและมีความอดทน ความซอื่ สตั ยสุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญ ญาในการ มคี วามเพียร ใชสติปญญาในการ ดำเนินชวี ิต ดำเนินชวี ิต

สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู ผูเ รียน ความรเู บ้อื งเกย่ี วกบั พลงั งาน ความรูเ บื้องเกย่ี วกบั พลังงาน ความรูเ บื้องตน เก่ยี วกับพลังงาน สิน้ เปลอื ง สิ้นเปลอื ง สิน้ เปลอื ง บรรยายความแตกตางและความ - คลา ยคลึงกนั ของ พลงั งาน ความแตกตา งและความ คลา ยคลึง สน้ิ เปลือง และสิง่ แวดลอ มโดยใช กนั ของพลังงานสิ้นเปลือง ความรู เรอ่ื งเกยี่ วกับงานเชือ่ ม ซอมบำรุง ลงชื่อ..................................................ผูสอน (นายภทั รพงษ แคแดง)

บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… 2. ปญ หา / อุปสรรค ในการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… 3. การแกปญ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………….…… ลงชือ่ ..............................................ผูส อน ( นายภทั รพงษ แคแดง ) ............ /............ /........... ขอเสนอแนะของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________________(รองผูอ้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) (__________________________) ขอเสนอแนะของผูอ ำนวยการโรงเรียน _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________________(ผูอ ำนวยการโรงเรียน) (__________________________)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook