Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KM colli

KM colli

Published by kholeeyohwadoyee, 2020-04-29 03:56:13

Description: KM colli

Search

Read the Text Version

บันทึกองคค์ วามรู้รายบคุ คล เร่อื ง เทคนคิ การจดั เก็บข้อมลู ความจาเป็นพน้ื ฐาน ( จปฐ.) เจา้ ของความรู้ นางสาวคอลเี ยาะ แวโดยี ตาแหนง่ อาสาพฒั นา ( อสพ.) รนุ่ ที่ 71 สังกัดสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอศรสี าคร

แบบบนั ทึกองค์ความรูร้ ายบคุ คล 1. ชอ่ื องคค์ วามรู้ เทคนิคการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ความจาเปน็ พื้นฐาน ( จปฐ. ) 2. ชือ่ เจ้าขององค์ความรู้ นางสาวคอลีเยาะ แวโดยี ตาแหนง่ อาสาพัฒนา รนุ่ ท่ี 71 3. องค์ความรทู้ บ่ี งช้ี ( เลอื กได้จานวน 1 หมวด )  หมวดท่ี 1 สร้างสรรค์ชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ ◻ หมวดท่ี 2 สง่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากใหส้ มดุล ◻ หมวดท่ี 3 เสริมสร้างทนุ ชมุ ชนใหม้ ธี รรมภบิ าล ◻ หมวดท่ี 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู 4. ท่ีมาและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ ข้อมูล จปฐ คือ ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึง ประสงค์ ตามหลักเกณฑ์มาตรฐานข้นั ตา่ ของเครือ่ งช้วี ดั วา่ อยา่ งน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ ไม่ต่า กว่า ระดับไหน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพ ชีวิตของตนเอง ครอบครัวรวมไปถึงหมบู่ า้ น ชมุ ชนอยใู่ นระดบั ใด มปี ญั หาทจ่ี ะตอ้ งแกไ้ ขในเรื่องใดบ้าง เป็นการ สง่ เสรมิ ให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม และเม่ือทราบแล้ว ส่วนใดสามารถ แก้ปญั หาไดเ้ องได้ ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนก็ต้องช่วยกันดาเนินการแก้ไข ส่วนใดที่ไม่สามารถดาเนินการเอง ได้ ก็ให้ขอรับหารสนับสนุนบางส่วนหรือทั้งหมดจากโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่น (อปท) เช่น อบต. เทศบาล สว่ นราชการราชการท่เี กยี่ วข้อง ทีจ่ ะเขา้ มาดาเนนิ การตอ่ ไป 5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ข้ันตอน ในการจดั เกบ็ ข้อมูลความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) จะต้องมีการเตรียมการ ดังนี้ 1. การประสานและประชุมเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น อาสาสมัครในการจัดเก็บ, ผู้นาอาสาพัฒนา ชุมชน, อาสาพัฒนาชุมชน, อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน, เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, กานัน, ผใู้ หญบ่ ้าน, ผ้ชู ่วยผใู้ หญบ่ า้ น, แพทย,์ สารวตั รกานัน เพอ่ื ช้ีแจงทาความเขา้ ใจในตัวชีว้ ัดแต่ละข้อ 2. การจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารการจดั เก็บ การบนั ทกึ การประมวลผลขอ้ มลู ซ่งึ จะต้องให้เสร็จสิ้นตาม วัน เวลา ท่ีกาหนด ซ่ึงได้กาหนดให้อาสาสมัครจัดเก็บ 1 คน ต่อ 20 ครัวเรือน ระยะเวลาในการจัดเก็บ ประมาณ 1 เดือน โดยแต่ละหมู่บ้าน ให้มีหัวหน้าทีม 1 คน มีช่ือ – นามสกุล พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ ท่ี สามารถติดต่อไดต้ ลอดเวลา 3. เมื่อกรอกแบบสอบถามเสร็จแล้ว ได้สง่ ให้เจา้ หนา้ ท่ีที่รบั ผิดชอบตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล ใน ระหว่างการบันทึกข้อมูลจะพบปัญหาต่าง ๆ มากมาย เช่น โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมท่ีต้อง เปลี่ยนแปลงอยบู่ ่อย ๆ ปญั หาเกย่ี วกบั ข้อมูลครัวเรือนท่ีบันทึกก่อนหน้านั้นหายไป ปัญหาการกรอกข้อมูลไม่ ครบถ้วน คนในครัวเรือนไม่ให้ข้อมูลตามความเป็นจริง ปญั หาการคีย์เลขบัตรประจาตัวซ้า ฯลฯ จะต้องคอย ติดตามและใหค้ าแนะนาแก่อาสาสมคั รผ้จู ดั เก็บและเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลอยู่เสมอ เพ่ือคอยช่วยแก้ไขปัญหาท่ี เกิดข้นึ

-2- กระบวนการ หรือลาดบั ขั้นตอน 1. ศึกษาแนวทางการบรหิ ารการจัดเก็บขอ้ มูลความจาเป็นพน้ื ฐาน แบบสอบถาม /โปรแกรมการ บนั ทึกข้อมลู 2. ประสาน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ขอความอนเุ คราะห์ เจ้าหนา้ ท่ีในการบนั ทึกข้อมูล รวมถึง วสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้องในการประชมุ ชแ้ี จง , การจดั เกบ็ และบันทึกข้อมลู 3. ประชมุ ช้ีแจงแก่อาสาสมัครจดั เกบ็ ข้อมลู อธิบาย สร้างความร้คู วามเข้าใจในแต่ละตัวช้ีวดั เพอื่ ให้ ไดข้ ้อมูลท่ีมีคุณภาพ เป็นทยี่ อมรับและเชือ่ ถอื ได้ 4. รวบรวมขอ้ มูล และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล รวบรวมส่งบันทึก 5. ศึกษาโปรแกรมบนั ทึกข้อมูล 6. บนั ทกึ และประมวลผลขอ้ มูล จปฐ.เปน็ ภาพรวมของหมู่บา้ นและตาบล 7. ขอ้ มูลที่ประมวลผลแล้ว ต้องผ่านการรับรองจากคณะทางานบรหิ ารจดั เก็บข้อมูลฯระดับอาเภอ  ลาดบั ขัน้ ตอนในการจดั เก็บข้อมลู ความจาเป็นพน้ื ฐาน ( จปฐ. ) 1.มีการประชุมคณะทางานเพ่ือวางแผนการทางาน 2.จัดอบรมคณะทางานโดยเน้นระดับหมบู่ ้าน 3.ให้ความสาคัญและอานวยความสะดวกให้แก่ผบู้ ันทึกข้อมูล 4.มกี ารประสานงานอยา่ งต่อเนื่องในชว่ งทมี่ ีการจัดเก็บและบันทกึ ข้อมูล 5.ติดตามใหก้ ารช่วยเหลือมใิ ช่การสงั่ การโดยอา้ งหนังสือ หรอื คาสงั่ ฯ 6.การเรง่ รดั การจัดเก็บอย่างใกลช้ ดิ 7.การนาขอ้ มลู กลับไปตรวจสอบความถูกต้อง 8.การสนับสนุนการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 6. เทคนคิ ในการปฏบิ ัตงิ าน 1) การวางแผนในการทางาน 2.) การประสานงานภาคีการพฒั นา 3) การตดิ ต่อส่อื สาร รบั ทราบขอ้ มูล 4) ปรกึ ษาหารือ รบั ฟังขอ้ เสนอแนะจากผู้บงั คับบัญชาและทมี งาน 5) สรปุ ผลการดาเนนิ งาน

-3– 7.ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ข้าพเจา้ ในฐานะท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ี ซง่ึ เป็นผู้ประสานงานในพนื้ ทีจ่ งึ ควรมวี ธิ ใี นการแก้ไขปญั หาดังน้ี 1. หัวหน้าครัวเรือนไม่ให้ข้อมูลรายได้ตามความเป็นจริง เพราะกลัวไม่ได้รับสิทธ์ิจากภาครัฐ เช่น บัตรประชารัฐ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การได้รับความช่วยเหลือจากภาครัฐในพ้ืนที่ 2. ระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลมีจากัด เพราะบางครัวเรือนต้องเดินทางไปทางานนอกพื้นท่ี 3.ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่เห็นความสาคัญของการให้ข้อมูลในการจัดเก็บ 4.คณะทางานบางคนมีความรู้ความเข้าใจท่ีไม่ถูกต้อง และทัศนคติไม่ดีต่อการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.คณะทางานบริหารการจดั เก็บข้อมูล จปฐ.ในระดบั อาเภอ ตาบล หมูบ่ ้าน/ชุมชน สรา้ งความรูค้ วาม เข้าใจประโยชน์ของการจดั เก็บข้อมูล จปฐ.ใหก้ บั หวั หน้าครัวเรือนอย่างละเอยี ด 2.คณะทางานบริหารการจัดเกบ็ ข้อมูล จปฐ.ในระดับอาเภอ ตาบล หมบู่ ้าน/ชมุ ชน ตอ้ งมีการวางแผน เวลาในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ในแต่ละครัวเรือน 3.ประชมุ สรา้ งความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและปรบั ทัศนคติทดี่ ขี องการจัดเกบ็ ข้อมูล จปฐ. 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ 1. สามารถนาข้อมูลท่ีได้มาบริหารการแก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นท่ี ส่งเสริมสัมมาชีพ ชุมชน ส่งเสริมอาชีพ ให้การสงเคราะห์นาข้อมูลไปใช้เวทีประชาคมเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพทุกหมู่บ้าน/ ชุมชน 2.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นาข้อมูล จปฐ.ไปบูรณาการจัดทาแผนในพื้นท่ี 3.หน่วยงานภาคีเครือข่ายการพัฒนา นาข้อมูล จปฐ.ไปประกอบการวางแผนและการ ตัดสินใจในการทางานในพื้นท่ี เ ร กิ านรากมน่ั คงและชมชนพง่ ตนเองได้ ายในป 2565

สำนักงำนพฒั นำชุมชนศรีสำคร ถนน กรป.รงั สรรค์ ตำบลซำกอ อำเภอศรีสำคร จังหวัดนรำธิวำส 96210


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook