Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือค่ายสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา กิจกรรมรถแข่งพลังลูกโป่ง

คู่มือค่ายสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา กิจกรรมรถแข่งพลังลูกโป่ง

Published by Sa Kaeo SCE site, 2019-06-13 22:14:58

Description: ค่ายสนุกจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา กิจกรรมรถแข่งพลังลูกโป่ง

Search

Read the Text Version

ศูนย์วิทยำศำสตร์เพ่อื กำรศกึ ษำสระแก้ว สะแกนเพ่อื อ่าน E-Book สำนักงำน กศน. สำนักงำนปลดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร กระทรวงศึกษำธิกำร

ฐานการเรียนรทู้ ่ี 3 เร่อื ง รถแข่งพลงั ลูกโป่ง ประกอบด้วยแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่อื ง รถแขง่ พลังลูกโป่ง จานวน 2 ช่วั โมง

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง รถแข่งพลังลูกโป่ง เวลา 2 ชั่วโมง แนวคิด การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นผลมาจากการที่มีแรงไปกระทาต่อวัตถุ ทาให้วัตถุเปลี่ยนแปลงสภาพโดย เปล่ียนตาแหน่งจากจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 โดยการเปล่ียนตาแหน่งของวัตถุจะทาให้เกิดปริมาณท่ีเกี่ยวข้องกับ การเคล่อื นท่ี เปน็ ขบวนการที่ทาให้เกิดการเปล่ียนตาแหน่งอย่างต่อเน่ืองตามเวลาท่ีผ่านไปโดยมีทิศทาง และ ระยะทาง โดยมลี กั ษณะทางการเคลือ่ นทเี่ ป็นแนวเส้นตรง วตั ถปุ ระสงค์ เม่ือส้ินสุดแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้นู แี้ ลว้ ผ้รู บั บรกิ ารสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การการเคล่ือนท่ขี องรถ 2. ออกแบบและสร้างรถแข่งพลงั ลกู โป่งจากวัสดุที่กาหนดใหไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม เน้ือหา 1. การเคลื่อนที่ในแนวเสน้ ตรง 2. แรงเสียดทาน ขนั้ ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ตอนที่ 1 กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity) 1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายผู้เข้ารับบริการและแนะนาตนเองกับผู้รับบริการ หลังจากนั้นชี้แจง วัตถปุ ระสงคข์ องฐานการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรือ่ ง รถแขง่ พลงั ลกู โปง่ 2. ผู้จดั กิจกรรมซักถามความร้พู นื้ ฐานของผู้รับบริการ เรอื่ ง รถแข่งพลงั ลูกโป่ง โดยการสุ่มผู้รับบริการ จานวน 3 – 5 คน ตามความสมัครใจ ใหต้ อบคาถามจานวน 2 ประเด็น ดงั นี้ ประเดน็ ที่ 1 “รถแข่งพลงั ลกู โป่งสามารถเคล่อื นทไ่ี ด้อยา่ งไร” ประเดน็ ท่ี 2 “ทา่ นคดิ วา่ รถแข่งพลังลูกโปง่ เคลื่อนทไ่ี ด้จากพลังงานอะไร” 3. ผู้จดั กิจกรรม และผรู้ ับบรกิ ารแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และสรุปส่ิงท่ไี ด้เรียนรรู้ ่วมกนั ขนั้ ตอนที่ 2 กจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ท่ที า้ ทาย (C : Challenge Learning Activity) 1. ผูจ้ ัดกิจกรรมเช่ือมโยงเนื้อหาในขั้นตอนที่ 1 เรื่อง รถแขง่ พลงั ลูกโป่ง โดยแบง่ ผรู้ บั บริการออกเป็น กล่มุ ๆละ 5 - 10 คน ให้ปฏิบตั ิตามใบกิจกรรม เรือ่ ง รถแข่งพลงั ลูกโปง่ 2. ผจู้ ัดกิจกรรมแจกกล่องชุดรถแขง่ พลังลกู โป่ง ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ 3. ผ้จู ดั กิจกรรมบอกเงอื่ นไขในการสรา้ งรถแข่งพลงั ลกู โป่ง ดังนี้

- จดั ทารถแขง่ ที่วงิ่ ไดไ้ กลทีส่ ดุ - ใช้วัสดุทีม่ ีอยูอ่ ยา่ งจากดั ไมม่ กี ารขอวสั ดุเพ่มิ เติมจากท่ีจัดให้ 4. ใหผ้ ู้รับบรกิ ารลงมอื ปฏิบัติตามใบกิจกรรม เงื่อนไข ภายในเวลา 30 นาที 5. ผูจ้ ดั กิจกรรม เตรียมสนามทดสอบ และสนามแขง่ รถพลงั ลูกโป่ง โดยมี 2 ล่วู ่ิง เพ่ือหาผู้ชนะ 6. ให้นารถแข่งพลังลกู โปง่ ของแตล่ ะกลุม่ มาทดสอบ จากน้ันให้ทุกกลมุ่ นากลับไปแกไ้ ขเพม่ิ เติม ให้ เวลา 5 นาที เม่อื ครบเวลาทีก่ าหนดให้ทุกกลมุ่ นามาแข่งขันโดยเร่ิมปลอ่ ยรถแขง่ พลงั ลกู โปง่ จากจุดเริ่มตน้ คร้งั ละ 2 คนั พรอ้ มกนั โดยผู้จัดกจิ กรรมจะบันทึกระยะทางท่ีรถแต่ละกลุม่ วิ่งได้ไกลทีส่ ุด จนครบทุกกลุ่ม 7. ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะหห์ าความเชื่อมโยง STEM เขยี นลงในกระดาษปรฟุ๊ ดังน้ี 7.1 ช่ือกิจกรรม 7.2 วาดรปู ส่งิ ประดษิ ฐ์ 7.3 หาความเช่ือโยง STEM (ใช้หลกั การใดมาเกย่ี วขอ้ ง) S = …………………………………………… T = …………………………………………… E = …………………………………………… M = …………………………………………… 8. ผู้จัดกิจกรรมคดั เลือกรถแข่งพลังลกู โป่งทใ่ี ช้วิง่ ได้ไกลท่สี ุด ออกมานาเสนอรถแข่งพลังลูกโป่ง ทป่ี ระดิษฐ์ขนึ้ หลงั จากน้นั ผจู้ ดั กจิ กรรมถามนาในประเดน็ ดงั น้ี 8.1 แนวคิดในการสรา้ ง 8.2 ผลการทดลองและการปรับปรุงแกไ้ ขรถแข่งพลงั ลูกโปง่ จนมปี ระสิทธิภาพที่ตอ้ งการ 9. ผู้จดั กิจกรรมและผรู้ บั บริการแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และสรุปสง่ิ ท่ไี ดเ้ รียนรู้รว่ มกัน ข้นั ตอนที่ 3 กจิ กรรมการสรุปผลการนาวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้ในชวี ิตประจาวัน (I : Implementation Conclusion Activity) 1. ให้ผ้รู ับบริการในแต่ละกล่มุ ตามขัน้ ตอนท่ี 2 บอกว่ารถแข่งพลังลูกโปง่ เคลอ่ื นท่ีไดจ้ ากพลังงานอะไร 2. ใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารตอบคาถามโดยสุ่มผรู้ ับบริการ จานวน 3 – 5 คน ตามความสมัครใจ ให้ตอบคาถาม ในประเดน็ “ทา่ นจะนาความรู้ท่ไี ดจ้ ากกจิ กรรมรถแขง่ พลังลูกโปง่ ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งไรบา้ ง” 3. ผจู้ ัดกิจกรรมและผู้รบั บรกิ ารสรปุ ส่ิงทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ร่วมกัน ส่ือ วสั ดุอุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบความรู้สาหรับผู้จัดกิจกรรม เร่อื ง รถแขง่ พลังลูกโปง่ 2. ใบความรู้สาหรบั ผรู้ ับบริการ เรอื่ ง รถแขง่ พลงั ลูกโปง่ 3. ใบกิจกรรม เรอื่ ง รถแขง่ พลังลูกโป่ง 4. กล่องชุดรถแข่งพลังลูกโปง่

5. สนามทดสอบ และสนามแขง่ รถพลังลกู โปง่ โดยมี 2 ล่วู ิ่ง 6. ตลบั เมตร 7. กระดาษปลฟุ๊ 8. ปากกาเคมี การวัดและประเมนิ ผล 1. สังเกตความสนใจและการใหค้ วามรว่ มมือภายในกลุ่ม 2. สงั เกตการปฏิบัติงาน ทักษะการทากิจกรรม 3. บนั ทกึ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการใชแ้ ผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. จานวนเนอ้ื หากบั จานวนเวลา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. การเรยี งลาดับเนอื้ หากับความเข้าใจของผ้รู บั ริการ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. การนาเข้าส่บู ทเรยี นเน้ือหาแต่ละหัวข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. วิธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้กบั เนอ้ื หาในแต่ละข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. การประเมินผลกบั วตั ถุประสงคใ์ นแต่ละเนือ้ หา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ผลการเรียนรู้และผ้รู บั บรกิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องผจู้ ักจิ กรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรสู้ าหรบั ผู้จัดกิจกรรม เรื่อง รถแขง่ พลงั ลูกโปง่ 1. แรงเสยี ดทาน แรงเสยี ดทาน (friction) หมายถึง แรงทตี่ ่อต้านการเคลอ่ื นทขี่ องวัตถุ แรงเสยี ดทานเกดิ ข้ึนระหว่าง ผิวสมั ผัสของวตั ถุกับผิวของพน้ื เชน่ เมอ่ื เราเขน็ รถเขน็ เด็ก ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อแรงเสียดทาน คือ 1. น้าหนักของวัตถุ วตั ถุที่มนี า้ หนกั กดทบั ลงบนพื้นผวิ มากจะมแี รงเสียดทานมากกว่าวตั ถุทม่ี นี า้ หนกั กดทับลงบนพน้ื ผิวน้อย 2. พื้นผิวสมั ผสั ผิวสัมผสั ทเี่ รียบจะเกดิ แรงเสียดทานน้อยกวา่ ผิวสมั ผัสทีข่ รขุ ระ การทดลองเรื่องแรง ต้านทานการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ ประเภทของแรงเสยี ดทาน แรงเสยี ดทานแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. แรงเสยี ดทานสถิต (fs) เปน็ แรงเสยี ดทานทีเ่ กิดขน้ึ ในขณะท่วี ตั ถอุ ย่นู ง่ิ จนถงึ เริม่ ต้นเคลอื่ นที่ 2. แรงเสียดทานจลน์ (fk) เปน็ แรงเสยี ดทานขณะวัตถุกาลงั เคลอื่ นทดี่ ้วยความเร็วคงตวั ซงึ่ จะมีคา่ น้อยกว่าแรงเสยี ดทานสถติ ประโยชน์และโทษของแรงเสียดทาน มนุษยเ์ รามคี วามรู้เกี่ยวกบั แรงเสยี ดทานมาใชป้ ระโยชน์ เพ่อื อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวนั ดงั นี้ 1. ช่วยใหร้ ถเคลื่อนทีไ่ ปข้างหน้าได้ ยางรถจงึ มีร่องยางชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพการยดึ เกาะถนนท่ี เรยี กว่า ดอกยาง 2. ช่วยให้รถถอยหลงั ได้ ยางรถยนตจ์ ึงมลี วดลายดอกยางเพื่อชว่ ยในการยดึ เกาะถนน 3. การเดนิ บนพืน้ ตอ้ งอาศยั แรงเสยี ดทาน จึงควรใช้รองเทา้ ท่ีมพี นื้ เป็นยางและมลี วดลายขรขุ ระ ไม่ ควรใชร้ องเท้าแบบพน้ื เรียบ แรงเสียดทานนอ้ ยจะทาให้ล่ืน 3. นกั วงิ่ เร็วท่ใี ชร้ องเทา้ พื้นตะปู เพือ่ เพ่ิมแรงเสยี ดทาน ทาให้มแี รงยดึ เกาะกบั พน้ื ผิวล่วู ่ิงช่วยใหว้ งิ่ ได้ เรว็ ข้ึน 2. การเคลือ่ นทใ่ี นหน่ึงมิติ 2.1 การเคลอื่ นที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. การเคลอื่ นท่ใี นแนวเส้นตรงท่ไี ปทิศทางเดยี วกนั ตลอด เช่น โยนวตั ถุขน้ึ ไปตรงๆรถยนต์กาลัง เคล่ือนท่ไี ปข้างหนา้ ในแนวเสน้ ตรง 2. การเคล่อื นที่ในแนวเส้นเส้นตรง แตม่ ีการเคล่ือนท่ีกลับทิศดว้ ย เช่น รถแล่นไปขา้ งหนา้ ในแนว เส้นตรง เมือ่ รถมีการเล้ยี วกลับทิศทาง ทาใหท้ ิศทางในการเคลอื่ นทตี่ รงข้ามกนั 2.2 อัตราเร็ว ความเร่ง และความหน่วงในการเคลอ่ื นท่ขี องวัตถุ 1. อัตราเร็วในการเคลือ่ นท่ขี องวตั ถุ คือระยะทางทว่ี ัตถเุ คลือ่ นทใ่ี น 1 หนว่ ยเวลา

2. ความเร่งในการเคล่ือนที่ หมายถงึ ความเร็วท่เี พิม่ ขึ้นใน 1 หนว่ ยเวลา เช่น วตั ถุตกลงมาจากท่ี สงู ในแนวดง่ิ 3. ความหนว่ งในการเคล่อื นทขี่ องวัตถุ หมายถึง ความเร็วท่ลี ดลงใน 1 หน่วยเวลา เช่น โยนวัตถขุ ึน้ ตรงๆ ไปในท้องฟา้ 3. การเคลื่อนที่แบบต่างๆในชวี ิตประจาวัน 3.1 การเคลือ่ นทแี่ บบวงกลม หมายถงึ การเคลือ่ นทข่ี องวตั ถุเป็นวงกลมรอบศนู ยก์ ลาง เกิดขน้ึ เนอ่ื งจากวตั ถุท่กี าลังเคลื่อนท่จี ะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะน้นั มแี รงดงึ วัตถเุ ขา้ สู่ศูนย์กลางของวงกลม เรยี กว่า แรงเข้าสู่ศนู ยก์ ลางการเคล่อื นท่ี จงึ ทาให้วตั ถุเคล่ือนท่ีเป็นวงกลมรอบศูนยก์ ลาง เช่น การโคจรของ ดวงจนั ทร์รอบโลก 3.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ เป็นการเคล่อื นที่ของวัตถุขนานกับพ้นื โลก เชน่ รถยนตท์ ่กี าลัง แล่นอย่บู นถนน 3.3 การเคล่ือนทแ่ี นววิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนทีผ่ สมระหวา่ งการเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิ่งและในแนวราบ 1. 4. สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ แรงและการเคล่อื นที่, พลงั งานลม คณิตศาสตร์ การวดั , การคานวณเพอ่ื ใหร้ ถแขง่ วง่ิ ไปได้ไกลและเร็ว , การคานวณตน้ ทุนในการสรา้ งรถแข่ง เทคโนโลยี - การเลือกใช้วัสดุ และส่ิงของต่างๆให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน การสร้างช้ินงานควร พิจารณาจากสมบัติของวัสดุน้ัน - การค้นหาขอ้ มลู 5. กรอบแนวคิด S : วทิ ยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี - แรงและเคลอ่ื นที่ - การสบื คน้ ขอ้ มูลผ่านอินเตอร์เน็ต - พลงั งานลม - การเลือกใชว้ ัสดุในการสรา้ งรถแข่ง รถแข่งพลังลกู โปง่ E : วิศวกรรมศาสตร์ M : คณติ ศาสตร์ - การวดั - กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (การสร้างรถแขง่ ทีว่ ิง่ ไดไ้ กลและเร็ว) - การคานวณเพอ่ื ให้รถแข่งวง่ิ ไปได้ ไกล

6. มุมนักคิด สาหรับรถลูกโป่ง เมอื่ เปา่ ลกู โป่งแล้วปลอ่ ยมอื ที่จบั ลูกโป่งออก รถลกู โปง่ จะพุง่ ไปในดา้ นท่ีตรงข้ามกบั ปากลูกโป่ง เนื่องจากแรงดันของอากาศที่ออกมาจากปากลูกโป่งจะผลักดันให้รถลูกโป่งเคลื่อนท่ีไปด้านหน้า เปน็ หลกั การเดียวกบั ทใ่ี ชใ้ นการปลอ่ ยจรวดออกนอกโลก แตจ่ รวดขบั เคล่ือนโดยการใช้เชอื้ เพลงิ

ใบความร้สู าหรบั ผ้รู บั บริการ เร่ือง รถแขง่ พลังลกู โป่ง 1. แรงเสยี ดทาน แรงเสียดทาน (friction) หมายถึง แรงที่ตอ่ ตา้ นการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุ แรงเสียดทานเกิดขน้ึ ระหว่าง ผิวสัมผัสของวัตถกุ ับผวิ ของพ้ืน เชน่ เมื่อเราเขน็ รถเข็นเด็ก ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ แรงเสียดทาน คือ 1. น้าหนักของวตั ถุ วตั ถุทม่ี นี า้ หนกั กดทับลงบนพนื้ ผวิ มากจะมแี รงเสียดทานมากกว่าวัตถุท่ีมนี า้ หนกั กดทับลงบนพื้นผวิ น้อย 2. พ้ืนผิวสัมผสั ผวิ สมั ผสั ที่เรียบจะเกิดแรงเสียดทานนอ้ ยกว่าผิวสัมผัสที่ขรขุ ระ การทดลองเร่อื งแรง ตา้ นทานการเคลอ่ื นที่ของวัตถุ ประเภทของแรงเสียดทาน แรงเสยี ดทานแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. แรงเสยี ดทานสถิต (fs) เปน็ แรงเสยี ดทานทีเ่ กิดข้นึ ในขณะทีว่ ัตถอุ ย่นู ง่ิ จนถงึ เร่ิมต้นเคลอื่ นท่ี 2. แรงเสยี ดทานจลน์ (fk) เปน็ แรงเสียดทานขณะวตั ถกุ าลังเคลือ่ นทดี่ ว้ ยความเร็วคงตวั ซ่งึ จะมคี า่ น้อยกว่าแรงเสียดทานสถิต ประโยชนแ์ ละโทษของแรงเสยี ดทาน มนษุ ย์เรามคี วามรู้เกยี่ วกับแรงเสียดทานมาใชป้ ระโยชน์ เพ่อื อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวนั ดังน้ี 1. ชว่ ยให้รถเคลื่อนทไี่ ปขา้ งหนา้ ได้ ยางรถจึงมีร่องยางชว่ ยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการยดึ เกาะถนนท่ี เรยี กว่า ดอกยาง 2. ช่วยให้รถถอยหลงั ได้ ยางรถยนต์จงึ มีลวดลายดอกยางเพื่อช่วยในการยึดเกาะถนน 3. การเดินบนพ้ืนตอ้ งอาศยั แรงเสียดทาน จงึ ควรใชร้ องเท้าทีม่ ีพื้นเป็นยางและมลี วดลายขรุขระ ไม่ ควรใชร้ องเท้าแบบพ้นื เรียบ แรงเสยี ดทานนอ้ ยจะทาให้ลื่น 3. นกั วงิ่ เรว็ ท่ใี ช้รองเท้าพน้ื ตะปู เพือ่ เพ่มิ แรงเสยี ดทาน ทาให้มแี รงยดึ เกาะกบั พ้นื ผิวล่วู ่ิงชว่ ยใหว้ งิ่ ได้ เร็วขึ้น 2. การเคล่ือนที่ในหนึง่ มิติ 2.1 การเคลื่อนท่ีในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คอื 1. การเคลื่อนท่ีในแนวเส้นตรงท่ไี ปทิศทางเดยี วกนั ตลอด เช่น โยนวัตถขุ ้ึนไปตรงๆรถยนต์กาลัง เคล่อื นทีไ่ ปข้างหน้าในแนวเส้นตรง 2. การเคลื่อนที่ในแนวเสน้ เส้นตรง แตม่ กี ารเคลอ่ื นทีก่ ลบั ทิศด้วย เช่น รถแลน่ ไปขา้ งหน้าในแนว เส้นตรง เมือ่ รถมีการเล้ยี วกลับทิศทาง ทาใหท้ ิศทางในการเคล่ือนท่ตี รงข้ามกัน 2.2 อัตราเร็ว ความเร่ง และความหนว่ งในการเคลอ่ื นท่ขี องวัตถุ 1. อตั ราเรว็ ในการเคลอื่ นทีข่ องวตั ถุ คือระยะทางท่ีวัตถุเคล่อื นที่ใน 1 หนว่ ยเวลา

2. ความเร่งในการเคล่ือนที่ หมายถงึ ความเร็วท่เี พ่มิ ขึ้นใน 1 หนว่ ยเวลา เช่น วัตถุตกลงมาจากท่ี สงู ในแนวดง่ิ 3. ความหนว่ งในการเคล่อื นทขี่ องวตั ถุ หมายถึง ความเร็วท่ลี ดลงใน 1 หน่วยเวลา เช่น โยนวัตถขุ ึน้ ตรงๆ ไปในท้องฟา้ 3. การเคลื่อนที่แบบต่างๆในชวี ิตประจาวัน 3.1 การเคลือ่ นทแี่ บบวงกลม หมายถงึ การเคลือ่ นท่ขี องวตั ถุเป็นวงกลมรอบศนู ย์กลาง เกิดข้นึ เนอ่ื งจากวตั ถุท่กี าลังเคลื่อนท่จี ะเดินทางเปน็ เส้นตรงเสมอ แต่ขณะน้นั มแี รงดงึ วัตถเุ ขา้ สศู่ นู ย์กลางของวงกลม เรยี กว่า แรงเข้าสู่ศนู ยก์ ลางการเคล่อื นที่ จงึ ทาให้วัตถุเคล่ือนที่เป็นวงกลมรอบศูนยก์ ลาง เชน่ การโคจรของ ดวงจนั ทร์รอบโลก 3.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ เปน็ การเคล่อื นที่ของวัตถุขนานกบั พ้นื โลก เชน่ รถยนตท์ ่กี าลัง แล่นอย่บู นถนน 3.3 การเคล่ือนทแ่ี นววิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนทีผ่ สมระหวา่ งการเคลือ่ นทีใ่ นแนวด่งิ และในแนวราบ 1. 4. สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ แรงและการเคล่อื นที่, พลงั งานลม คณิตศาสตร์ การวดั , การคานวณเพ่อื ใหร้ ถแขง่ วง่ิ ไปได้ไกลและเร็ว , การคานวณต้นทุนในการสรา้ งรถแข่ง เทคโนโลยี - การเลือกใช้วัสดุ และส่ิงของต่างๆให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน การสร้างช้ินงานควร พิจารณาจากสมบัติของวัสดุน้ัน - การค้นหาขอ้ มลู 5. กรอบแนวคิด S : วทิ ยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี - แรงและเคลอ่ื นที่ - การสบื คน้ ขอ้ มูลผ่านอินเตอรเ์ น็ต - พลงั งานลม - การเลือกใชว้ สั ดุในการสร้างรถแข่ง รถแข่งพลังลกู โปง่ E : วิศวกรรมศาสตร์ M : คณติ ศาสตร์ - การวดั - กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (การสร้างรถแขง่ ทีว่ ิง่ ไดไ้ กลและเร็ว) - การคานวณเพอ่ื ให้รถแข่งว่งิ ไปได้ ไกล

6. มุมนักคิด สาหรับรถลูกโป่ง เมอื่ เปา่ ลกู โป่งแล้วปลอ่ ยมอื ที่จบั ลูกโป่งออก รถลกู โปง่ จะพุง่ ไปในดา้ นท่ีตรงข้ามกบั ปากลูกโป่ง เนื่องจากแรงดันของอากาศที่ออกมาจากปากลูกโป่งจะผลักดันให้รถลูกโป่งเคลื่อนท่ีไปด้านหน้า เปน็ หลกั การเดียวกบั ทใ่ี ชใ้ นการปลอ่ ยจรวดออกนอกโลก แตจ่ รวดขบั เคล่ือนโดยการใช้เชอื้ เพลงิ

ใบกจิ กรรม เร่ือง รถแขง่ พลงั ลูกโปง่ วตั ถุประสงค์ ออกแบบและสร้างรถแข่งพลังลูกโปง่ จากวสั ดุทีก่ าหนดให้ได้อยา่ งเหมาะสม เนือ้ หา 1. การเคลอ่ื นท่ีในแนวเส้นตรง 2. แรงเสยี ดทาน คาชีแ้ จง 1. วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. ขวดนา้ พลาสตกิ จานวน 2 ขวด 2. ฝาขวดนา้ พลาสตกิ จานวน 4 ฝา 3. ไม้เสยี บลกู ชิ้น จานวน 4 แท่ง 4. หลอดยาว จานวน 2 อัน 5. ลูกโปง่ จานวน 2 ลูก 6. กรรไกร จานวน 1 อนั 7. คตั เตอร์ จานวน 1 อัน 2. สถานที่ : จดั เตรียมสนามทดสอบและสนามแข่งรถพลังลูกโปง่ โดยมี 2 ล่วู ่ิง 3. เงือ่ นไขในการสรา้ งรถแขง่ พลงั ลกู โป่ง - จัดทารถแข่งทวี่ ง่ิ ไดไ้ กลท่ีสดุ - ใช้วัสดทุ มี่ อี ย่อู ย่างจากัด ไม่มีการขอวัสดเุ พ่มิ เตมิ จากท่จี ัดให้ 4. ตารางบนั ทึกผลการทดสอบรถแขง่ พลงั ลูกโป่ง กลมุ่ ที่ ระยะทางท่ีรถวิ่งได้ (เมตร) ผลการแขง่ ขัน (ลาดบั ท่ีได้) ครง้ั ท่ี 1 ครงั้ ท่ี 2 1 2 3 4 5