Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การช่วยเหลือดูแลเด็กที่มีปัญหาทางศัลยกรรมผู้ช่วย

การช่วยเหลือดูแลเด็กที่มีปัญหาทางศัลยกรรมผู้ช่วย

Published by sara_r43, 2020-06-03 22:35:35

Description: การช่วยเหลือดูแลเด็กที่มีปัญหาทางศัลยกรรมผู้ช่วย

Search

Read the Text Version

การช่วยเหลือดแู ลเดก็ ท่ีมีปัญหาทางศลั ยกรรม และการดแู ลผปู้ ่ วยเดก็ ท่ีได้รบั การผา่ ตดั อ ศราวธุ เรอื ง สวสั ด์ิ

Digestive_System

หวั ข้อประเดน็ ... การช่วยเหลือดแู ลผปู้ ่ วยเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่ ลาไส้ใหญ่โป่ งพอง  สาไส้ตีบตนั  ลาไส้กลืนกนั ทวารหนักไม่มีช่องเปิ ด การช่วยเหลือดแู ลก่อนและหลงั การผา่ ตดั

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  ปากแหว่ง หมายถึง เพดานส่วนหน้าแยกจากกนั (cleft of primary palate)  เพดานโหว่ หมายถงึ เพดานส่วนหลงั แยกจากกนั (cleft of secondary palate)

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  พบได้ทุกเชื้อชาติในทารกแรกเกิดพบได้ประมาณ 0.5 คนใน 100 คน ปากแหว่งและเพดานโหว่ท่ีพบบอ่ ยท่ีสดุ คือข้างซ้ายข้างเดียว พบในเดก็ ผชู้ ายเป็นส่วนใหญ่ และมกั มีประวตั ิในครอบครวั ส่วนเพดานโหว่อย่าง เดียวมกั พบในเดก็ ผหู้ ญิง มีประวตั ิในครอบครวั น้อย

สาเหตุ ยงั ไมท่ ราบแน่นอน แต่ส่วนใหญ่ 1. กรรมพนั ธ์ุ มีโอการเป็นถึงร้อยละ 60 2. ความผิดปกติขณะตงั้ ครรภ์ การติดเชื้อหดั เยอรมนั ในไตรมาส แรก 3. การได้รบั ยาขณะตงั้ ครรภ์ ขาดวิตามิน สารโฟเลท การสบู บหุ รี่ ด่ืมสรุ า การได้รบั ยากนั ชกั

อาการและอาการแสดง 1.ทารกที่มีปากแหว่งข้างเดียว จะไม่สามารถอมหวั นมหรือจกุ นมได้สนิท มีลมรวั่ เข้าไปขณะดดู นม ทาให้ท้องอืด 2.ทารกท่ีมีเพดานโหว่ มกั สาลกั นมขึน้ จมกู และเข้าช่องหชู นั้ กลางหรอื สาลกั นมเข้าสปู อดได้ 3.การได้ยินผิดปกติ 4.การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น 5.วยั หดั พดู จะพดู เสียงขึน้ จมกู 6.การขึน้ ของฟันจะผิดปกติ

การรกั ษา  รกั ษาโดยการทาผา่ ตดั ตกแต่ง ◦ปากแหว่ง repair of cleft lip ◦ เพดานโหว่ Palatoplasty การรักษาปากแหว่ง • การรักษาใช้กฎเกนิ 10 (Rule of Over Ten) อายุ 10 สัปดาห์ขนึ้ ไป (1 เดอื นขนึ้ ไป) นา้ หนัก 10 ปอนด์ขนึ้ ไป Hb 10 mg% ขึน้ ไป

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  \"กฎเกิน 10\" คือจะทาผา่ ตดั เมอื่ เดก็ อายุ 10 สปั ดาหข์ ึน้ ไป น้าหนักตวั 10 ปอนด์ ฮีโมโกลบิน 10 กรมั เปอรเ์ ซน็ ตข์ ึน้ ไป เพดานโหว่มกั นิยมทาผา่ ตดั แก้ไขความพิการก่อนเดก็ เร่ิม หดั พดู คืออายปุ ระมาณ 12 - 18 เดือน สภาพร่างกายแขง็ แรง ไม่มีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจอย่างเฉียบพลนั ฮีโมโกลบิน 10 กรมั เปอรเ์ ซน็ ตข์ ึน้ ไปในรายที่ฟันผมุ ากควรแก้ไขเร่อื ง ฟันผกุ ่อน เพราะทาให้แผลแยกได้หลงั ผา่ ตดั

การรกั ษาเพดานโหว่  หากรกั ษาทงั้ ปากแหว่งและเพดานโหว่ร่วมกนั มีหลาย ขั้นต อน เพ ดานโหว่ ต้ องท าการใส่ เ พดานเ ที ย ม (obturator) เป็นอปุ กรณ์แทนเพดานทาให้สามารถดดู นม ได้โดยไมส่ าลกั ก่อนทาการผา่ ตดั เพดานเทียมเปล่ียนทุก 1 เดือน

การรกั ษา  เม่ือทาการผ่าตดั ริมฝี ปากสมบูรณ์แล้ว จะทาการผ่าตดั เพดาน (repair of cleft palate) ให้ช่องปากและจมูกแยกกนั ตามปกติ มี การเจริญเติบโตของใบหน้ าและฟันอย่างสมบูรณ์ การออก เสียงพูดชัดเจน ระยะเวลาท่ีเหมาะสมคืออายุระหว่าง 6-18 เดือน หรือ 24 เดือน เพราะกายวิภาคของปากจะโตเต็มท่ี การ ผ่าตดั ที่ช้าไปเดก็ จะมีปัญหาเรื่องการพดู ถ้าเรว็ ไปมีผลต่อการ เจริญเติบโตของกระดกู ใบหน้า

การรกั ษา  การรกั ษาขนั้ ต่อไปทาเม่ืออายุประมาณ 3 ปี จะทาการ ผ่าตดั แก้ไข ตามด้วยการฝึ กพูด และปรึกษาทนั ตแพทย์ เพื่อจดั ฟันเม่ืออายุประมาณ 5 ปี ในขนั้ แรกของการ ผา่ ตดั อาจต้องใส่หวั นมชนิ ดพิเศษมีลกั ษณะนิ่ มและยาว และใส่ได้ลีกโดยไม่ต้องดดู กลืนไม่ควรยาวเกินไปเพราะ ทาให้อาเจียนได้



ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดหลงั ผา่ ตดั 1. การอดุ ตนั ทางเดินหายใจ อาจหายใจไม่ออกเนื่องจากเสมหะ เลือดออก กล่องเสียง หลอดคอบวม ดดู เสมหะให้บอ่ ยๆ ระวงั ลิ้นตกไปข้างหลงั ในรายท่ี เดก็ ยงั ไม่รสู้ ึกตวั 2. เลือดออก ต้องสงั เกตอย่างใกล้ชิดเพราะในรายที่ตดั เส้นเลือด greater palatene ถ้าผกู ไม่ดีทาให้มีเลือดออกได้มาก การจีด้ ้วยไฟฟ้ า หรอื ให้ยา epinephrine ทาให้โลหิตออกน้อยลง 3. แผลแยก แผลอาจแยกบางส่วนหรอื ตลอดแนวที่เยบ็ สาเหตอุ าจเนื่องจาก แผลตึงเกินไปหรอื จากการติดเชื้อ

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate) การพยาบาลก่อนผา่ ตดั ◦ อธิบายให้เข้าใจถึงแนวทางการแก้ไขความพิการ ตลอดจนการเลีย้ งดู ◦ การให้อาหาร เดก็ ปากแหว่งที่เป็นไม่มากนัก อาจไมม่ ีปัญหา ในการดดู นม โดยใช้หวั นม อ่อนนุ่ม แต่ในรายท่ีเป็นมากอาจ ลาบากอาจต้องหยอดให้

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate) การพยาบาลก่อนผา่ ตดั ◦ เพดานโหว่ ควรให้นมเข้าปากลึกๆ เดก็ จะได้ไมต่ ้องดดู หวั นมควรใช้แบบนิ่มมากๆ เจาะรใู ห้โต ◦ ขณะให้นมควรอ้มุ ศีรษะสงู 45-60 องศา เพ่ือให้นมไหลเข้า ปากลึกๆ สาลกั เข้าจมูกได้น้อยขณะ

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  การพยาบาลหลงั ผา่ ตดั 1. การป้ องกนั การสาลกั 2. การผกู มดั แขนและข้อศอก (elbow restraint) 3. การทาแผล สาหรบั แผลตบแต่งของ cleft palate ไม่ต้องทาแผลให้ ด่ืมน้าหลงั ให้นมและอาหารกพ็ อ ไม่ควรให้เดก็ ไอ หรอื จามจะทา ให้แผลแยกได้

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  การพยาบาลหลงั ผา่ ตดั 4. การให้นม cleft lip ต้องเตรียม (asepto syringe sterile) ต่อด้วยสายยางยาวขนาด 1 นิ้ว อ้มุ เดก็ ในท่าศีรษะสงู (upright position) เทนมใส่ syringe เอา สายยางสอดเข้าปากเดก็ ข้างๆ ให้ห่างจากแผล นมค่อยๆ หยดเอง ไม่ต้องบีบดนั หรือใช้หลอดหยดยา (medicine dropper) หยดให้กิน ประมาณ 30 นาที ให้นอนตะแคงขวาป้ องกนั การสาลกั หรือให้นอน หงายศีรษะสงู

ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lip and Cleft palate)  การพยาบาลหลงั ผา่ ตดั 4. การให้นม ผปู้ ่ วยทา repair cleft palate อาหารที่ให้หลงั ผา่ ตดั ถา้ ไม่ อาเจียนให้อาหารเหลวได้ (clear liquid) เช่น น้าผลไม้ น้า ซุบ ควรให้ด่ืมจากแก้ว ถา้ ใช้ช้อนป้ อนอาจถกู แผล ไมค่ วร ให้ดดู กบั หลอด ให้ได้ 3-5 วนั หลงั จากให้อาหารเหลวข้น (full liquid) ประมาณ 10 วนั หลงั จากนัน้ ให้อาหารคร่งึ แขง็ ครงึ่ เหลว (semi liquid) เช่น ไอศกรีม

สรปุ ปากแหว่ง เพดานโหว่ (Cleft Lip and Cleft Palate) การพยาบาล - ปากแหว่ง ผา่ ตดั โดยใช้เกณฑ์ rule of over ten (นน. 10 ปอนด,์ อายุ 10 สปั ดาห,์ Hb 10 gm/dl) - ก่อนผา่ ตดั (ป้ องกนั การสาลกั ) ทารกสามารถ ดดู นมได้เอง ใช้จกุ นมนิ่ม รโู ต สอดลึก หรอื สอดข้าง ที่ปากไม่แหว่งให้จดั ศีรษะสงู อ้มุ เรอบอ่ ย ๆ - หลงั ผา่ ตดั (ระวงั แผลแยก&ติดเชื้อ) - หลงั ผา่ ตดั 24 ชม. ให้ยาแก้ปวด และอ้มุ ปลอบไม่ให้ เดก็ รอ้ ง ป้ อนนมด้วยช้อนหรือหลอดหยด ให้งดดดู นมนาน 3-4 สปั ดาห์ - เชด็ แผลด้วย NSS ป้ ายแผลด้วย terramycin

ปากแหว่ง เพดานโหว่ (Cleft Lip and Cleft Palate) เพดานโหว่  แนะนาการผา่ ตดั อายุ 12 – 18 เดือน เพราะ รโู หว่จะแคบลง และเดก็ เริ่มฝึ กพดู  ก่อนผา่ ตดั ให้ใส่เพดานเทียม (Obtulator) ไว้ให้ดดู นมได้ ถอดล้างทกุ วนั และเปลี่ยนทกุ 3 เดือน  หลงั ผา่ ตดั ระวงั แผลแยก งดการแปรงฟัน 1-2 สปั ดาห์ ให้ทานอาหารเหลว /อ่อน http://kkucleft.kku.ac.th/cleftonline/#

Congenital Megacolon, CongenitalAganglionicMegacolon, Hirschsprung s Disease

ภาพแสดง Hirschsprung’s disease (ลาไส้ใหญ่โป่ งพองแต่กาเนิด)

ลำไส้โป่ งพอง ในทารกแรกเกิด Hirschprung’s disease  ไม่ถ่ายข้ ีเทา อาเจยี นมีน้าดปี น  ทอ้ งอืดตงึ ทอ้ งผกู  มีประวตั ถิ ่ายลาบากมาต้งั แตแ่ รกเกิด ทอ้ งผกู เร้ ือรงั ทอ้ งอืดโตข้ ึนเร่ือยๆ อจุ จาระเป็ นแถบแบนๆ มีกลิ่นเหม็น มาก หรือสีดาโคลน  ในเด็กโตหลงั จากสวนอจุ จาระอาการดี ข้ ึน  ขาดอาหาร ลาไสด้ ดู ซึมไดน้ อ้ ย  มีโอกาสเกิดการตดิ เช้ ือที่ลาไส้ enterocolitis ได้  รกั ษาโดยการผา่ ตดั

การรกั ษา การพยาบาล  การรกั ษาแบบประคบั ประคอง  ก่อนผา่ ตดั - สวนลา้ งลาไสว้ นั ละ 1-3 คร้งั - ใหน้ ม/อาหารทีละนอ้ ยแตบ่ ่อยคร้งั หรอื 2-3 วนั ตอ่ คร้งั เม่ือน้าหนกั ดี - เมื่อทอ้ งผกู สวนอุจจาระดว้ ย NSS ประมาณ 8 สปั ดาห์ จงึ ผา่ ตดั - หลกี เล่ียงการวดั ปรอททางทวารหนกั  การผ่าตดั แกไ้ ขความผิดปกติ 1. การตดั ลาไสส้ ่วนท่ีไม่ทางานออก - ใหน้ อนศีรษะสูง  หลงั ผ่าตดั และ ทา Colostomy - สอนบิดามารดาดแู ล colostomy ท่ีบา้ น 2. 9-12 เดือน ตอ่ ลาไสด้ ว้ ยวิธี Abdominal pull-through 3. 3 เดอื นตอ่ มาปิ ด Colostomy

ภำวะแทรกซ้อนท่สี ำคัญของกำรสวนระบำยอุจจำระ กำรแตกทะลุ ของลำไส้ โดยเฉพำะอย่ำงย่งิ ในส่วนท่ขี ำดเซลล์ปม ประสำทซ่งึ มีผนังบำง และwater intoxication ซ่งึ เกดิ ขึน้ ได้เม่ือสวนล้ำง ด้วยนำ้ ธรรมดำปริมำณมำก วิธีกำรสวน ในทำรกแรกเกดิ ให้ค่อยๆ ปล่อย normal saline ครัง้ ละ 15 – 20 มล. เข้ำสู่ rectum ผ่ำน rectal catheter ขนำด 16 Fr ส่วนเดก็ โต ให้ใช้ catheter ขนำด 20 – 28 Fr และใช้ปริมำตรนำ้ เกลือ 50 – 100 มล. ในแต่ละครัง้ โดยรวมไม่เกนิ 50 มล./ กก. ควรใช้นำ้ เกลืออุ่น โดยเฉพำะ อย่ำงย่งิ ในทำรกท่สี ูญเสียควำมร้อนง่ำย ในระยะแรกกำรสวนล้ำงมักจะ ต้องทำหลำยครัง้ ในแต่ละวันจนกว่ำจะลดกำรค่งั ค้ำงได้ ต่อมำให้สวน ล้ำง วันละครัง้



ลาไส้อดุ ตนั ( Gut obstruction)  ลาไส้อดุ ตนั มกั เกิดในระยะขวบปี แรก หรอื ตงั้ แต่คลอด ออกมาใหมๆ่ สาเหตุ มีการอดุ ตนั ช่องทางเดินของลาไส้ซ่ึงเป็นทางผา่ นของแกส๊ ของเหลวและอจุ จาระ

อาการและอาการแสดง  อาเจียน ลกั ษณะอาเจียนจะแตกต่างกนั ออกไป เช่น ถ้าเป็นการตีบตนั ของ หลอดอาหาร จะมีลกั ษณะเป็นแหวะออกมา โดยไมม่ ีการขยอ้ นหรืออาเจียน ถา้ อดุ ตนั แถวๆ pylorus หรอื duodenum ตอนต้น อาเจียนมกั พ่งุ และไม่มีสี น้าดี ถา้ อาเจียนเป็นสีน้าดีมกั มีการอดุ ตนั ของลาไส้เป็นส่วนใหญ่  ท้องอืด มากน้อยขึน้ อยกู่ บั ตาแหน่งที่อดุ ตนั การอดุ ตนั ลาไส้ตอนปลายๆลง ไปนัน้ จะอืดมากเมือ่ เลย 24 ชม.หลงั คลอด  ไม่ถา่ ยอจุ จาระ ปกติขีเ้ ทาจะออกมาภายใน 8 -12 ชม.หลงั คลอด ถา้ ไม่ถ่ายขี้ เทาเลยแสดงว่ามีพยาธิสภาพแน่นอน แต่ถา้ น้อย กม็ ีพยาธิสภาพเช่นกนั

ตาแหน่งการอดุ ตนั  ถ้ามีการอดุ ตนั ท่ีส่วนบน ของลาไส้เลก็ ผปู้ ่ วย จะ แสดงอาการอาเจียนเป็นสาคญั โดยเฉพาะหลงั จาก รบั ประทานอาหาร อาการท้องอืดอาจจะไม่มี แต่ถ้า มีการอดุ ตนั ที่ส่วนล่างของลาไส้เลก็ จะมีอาการ ท้องอืดเป็นสาคญั การอาเจียนจะมีในระยะต่อมา

ผลท่ีเกิดขึน้ เม่อื ลาไส้อดุ ตนั  การขาดน้าและขาดสมดลุ electrolyte  การเปล่ียนแปลงของลาไส้ โดยลาไส้เหนือส่วนท่ีอดุ ตนั จะโป่ ง พองขึน้ ผนังยืดตวั การย่อยอาหารผิดปกติ ไม่ถ่ายอจุ จาระและ ผายลม ในท่ีสดุ จะมีการแตกทะลุ  การเปล่ียนแปลงทางระบบหายใจ ท้องอืดมาก อาจทาให้ หายใจลาบาก  การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนโลหิต พลาสมาสญู เสียไป ปริมาตรเลือดลดลง แรงดนั เลือด

แนวทางการรกั ษา  งดน้า และนมทางปาก  ให้สารน้า และเกลือแรท่ ดแทน โดยการประเมินภาวการณ์ขาด น้าจากการตรวจรา่ งกาย และตรวจจะเลือดตรวจระดบั เกลือแร่  ใส่สายสวนกระเพาะอาหารทางปากเพื่อช่วยระบายลมและน้า ในทางเดินอาหาร  X-ray abdomen หรือ chest include abdomen สามารถช่วย วินิจฉัยระดบั การอดุ ตนั  rectal irrigation ด้วย warm normal saline ในกรณีที่ผปู้ ่ วยไม่ ถา่ ยขีเ้ ทาใน 24 ชวั่ โมงหลงั คลอด จะช่วยลดอาการท้องอืดได้

แนวทางการรกั ษา  barium enema ช่วยวินิจฉัย Hirschsprung’s disease และ small left colon syndrome  ultrasonography และ water-soluble upper Gl study ช่วยวินิจฉัย hypertrophic stenosis และ duodenal obstruction  สิ่งท่ีสาคญั ป้ องกนั การสญู เสียน้าและเกลือแร่  ส่งต่อมายงั กมุ ารศลั ยแพทย์ เพ่ือรบั การรกั ษาผา่ ตดั ต่อไป

ลาไสก้ ลืนกนั (Intussusception)  เด็กมีอายุ 6 – 12 เดือน สุขภาพ สมบูรณ์ แข็งแรงดี ช่วงเริ่มใหอ้ าหาร เสรมิ  ปวดทอ้ งแบบ colicky pain อาเจยี น อจุ จาระเป็ นมูกปนเลือด คลา้ ยแยม ผลไม้ คลาทอ้ งไดก้ อ้ นคลา้ ยไสก้ รอกอยู่ ดา้ นขวา  การรกั ษา ข้นั แรก ทา hydrostatic reduction โดยใช้ Barium สวน ถา้ ลาไส้ ไม่คลายตวั ใหท้ าผา่ ตดั ลาไส้

Imperforate Anus  การรกั ษา กำรพยำบำล - กล่มุ High type จะมี fistula และมี feces ออกมา ใหท้ า Colostomy ไว้  ก่อนผ่าตดั - NPO, IV, NG tube ก่อน - กล่มุ Low type ทาตกแตง่  การผ่าตดั มี 2 แบบ 1. High type ใหท้ า Colostomy รูทวาร (Anoplasty)ไดเ้ ลย 2. Low type ทา Anoplasty - ใหจ้ ดั ทา่ นอนควา่ /ตะแคง เปิ ดกน้ - งดวดั ปรอททางทวารหนกั - ทาแผลทวารหนกั ดว้ ย povidine - ขยายทวารหนกั จะทาหลงั ผา่ ตดั ประมาณ 10-14 วนั

การพยาบาล

ขนึ้ อยู่กบั ว่าเป็ นโรคอะไร จะผ่าตดั อะไร ใช้ยาสลบแบบไหน ต้องศึกษาข้อมูลพนื้ ฐานก่อน

เตรียมความสะอาดรา่ งกายและบริเวณท่ีจะผา่ ตดั สวนล้างในกรณีผา่ ตดั ลาไส้ งดน้างดอาหาร Lab X-Ray เลือด เซน็ ตใ์ บยินยอม สญั ญาณชีพ Pre-medication การ Care เฉพาะโรค Void ก่อนไป

วตั ถปุ ระสงคก์ ารดแู ล • ป้ องกนั โรคแทรกหรือภาวะแทรกซ้อน • เพอื่ ความสบายปลอดภยั • ลดความวิตกกงั วลของครอบครวั • ป้ องกนั การติดเชื้อ

• ดรู ะดบั ความรสู้ ึกตวั •V/S ประเมินทุก 15 นาที 4 คร้ัง, 30 นาที 2 คร้ังและ ทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะปกติ • ภาวะเลือดออก • Drainage • IVF • NPO ? Chart

• Observe Dehydration • Record Drain, I/O • IVF Care • Observe Bleeding • Deep Breathing exercise ,Early Ambulation • Pain Management , ความสขุ สบาย • ดแู ลให้ Rest

• NPO ? ต่อ • เร่ิมอาหาร อาหารแบบ? ควรครบห้าหมู่ • IVF? • Medication • Dressing? Hygine care • เดก็ เลก็ พลิกตวั บอ่ ยๆป้ องกนั Hypostatic Pneumonia • ดแู ลตามโรค

แนวทางการให้การดแู ล : บิดามารดามีความวิตกกงั วลเก่ียวกบั การรกั ษา ผลการรกั ษา สภาพของบตุ รหลงั การผา่ ตดั ตลอดจนการดแู ลต่อเน่ืองที่บา้ น 1) ประเมินความวิตกกงั วลของบิดามารดาของผปู้ ่ วยเพ่ือหาแนว ทางแก้ไขหรอื การให้ข้อมลู ได้ถกู ต้อง 2) เปิ ดโอกาสให้บิดามารดาได้ซกั ถามถึงอาการเจบ็ ป่ วย อาการและ อาการแสดงของเดก็ และได้ระบายถงึ ความวิตกกงั วลของตนเอง เพ่ือหาแนวทางแก้ไขความวิตกกงั วลและตอบคาถามและข้อสงสยั ของบิดามารดาได้ตรงประเดน็

3) ให้ข้อมลู คาแนะนา อธิบาย เก่ียวกบั อาการและอาการแสดงของ ผปู้ ่ วย และการรกั ษาวิธีการต่างๆเพ่ือเป็นข้อมลู ให้กบั บิดามารดา และติดต่อให้พบแพทยป์ ระจาที่ทาการรกั ษาผปู้ ่ วยเพ่ือซกั ถามข้อ สงสยั ต่างๆ 4) ปลอบโยนให้กาลงั ใจ ให้คาแนะนา และกระต้นุ ให้บิดามารดา คอยดแู ลบตุ รอย่างใกล้ชิด เพื่อลดความเครียดและความวิตกกงั วล ของบิดามารดา

เดก็ มีโอกาสได้รบั อนั ตรายจากการท่ีลาไส้แตกทะลหุ รือเย่ือบชุ ่องท้อง อกั เสบ 1) ประเมินอาการและอาการแสดงท่ีบ่งถึงอนั ตรายอย่างต่อเน่ือง คือการ เปลี่ยนแปลงของสญั ญาณชีพ เช่นมีไข้ ความดนั โลหิตตา่ หวั ใจเต้นเรว็ มีอาการ ปวดท้อง อาการท้องอืด หน้าท้องแขง็ ตึง เสียงลาไส้เคล่ือนไหวลดลง ซึม อ่อนเพลีย ผลการตรวจนับเมด็ เลือดขาวสงู ขึน้ ถ้าพบอาการเหล่านี้ควรรายงาน แพทยเ์ พื่อการรกั ษาที่เหมาะสม 2) ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและระบายส่ิงคดั หลงั่ จากกระเพาะอาหารตาม แผนการรกั ษา เพ่ือลดความดนั ในช่องท้อง ซึ่งอาจมีผลให้ลาไส้ส่วนต้นขาด เลือดมาเลี้ยง 3) ดแู ลให้ได้รบั ยาปฏิชีวนะตามแผนการรกั ษา

เดก็ มีโอกาสลาไสแ้ ตกทะลุ คลายตวั ไม่หมด ขาดเลือดมาเล้ียง หรือกลบั มาเป็น ซ้าหลงั จากการใชแ้ รงดนั เพือ่ คลายการกลืนกนั ของลาไส้ 1) ประเมินและติดตามภาวะลาไส้แตกทะลุ ติดตามสญั ญาณชีพ เม่ือพบ ผดิ ปกติควรรีบรายงานแพทย์ เพอื่ การรักษาท่ีเหมาะสม 2) ใหผ้ ปู้ ่ วยงดน้าและอาหาร อยา่ งนอ้ ย 12-18 ชว่ั โมงหลงั การรักษา หรือ ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพ่อื เฝ้ าระวงั ความผดิ ปกติของลาไส้ภายหลงั การ รักษา 3) สงั เกตและบนั ทึกจานวนและลกั ษณะของของเหลวท่ีออกมาจากสายสวน กระเพาะอาหาร ลกั ษณะและสีของอุจจาระ และฟังเสียงการเคลื่อนไหวของ ลาไส้ เพ่อื ประเมินการทางานของลาไส้

4) ดูแลใหไ้ ดร้ ับสารน้าและ Electrolyte หรือเลือดตามแผนการรักษา 5) วดั และบนั ทึกปริมาณน้าที่ร่างกายไดร้ ับ และปริมาณน้าท่ีออกจากร่างกาย อยา่ งถกู ตอ้ ง 6) สงั เกตอาการและอาการแสดงของลาไสก้ ลืนกนั ท่ีอาจเกิดข้ึนไดใ้ นเดก็ หลงั ไดร้ ับการรักษาขณะท่ียงั อยใู่ นโรงพยาบาล

เดก็ มีภาวะท้องอืดหรอื ท้องผกู จากการอดุ ตนั ของลาไส้ 1) ประเมินภาวะท้องอืดหรอื ท้องผกู ของผปู้ ่ วย 2) สวนล้างลาไส้ใหญ่ด้วย 0.9% NSS ที่มีอณุ หภมู ิอ่นุ พอเหมาะ ทาโดยใส่สาย สวนเข้าไปในทวารหนักลึกประมาณ 8-10 เซนติเมตร (4-5 เซนติเมตรในทารก แรกเกิด) ปริมาณ NSS ท่ีใช้ครงั้ ละ 50 มิลลิลิตร/กิโลกรมั โดยไม่ใช้ปริมาณมาก ในการสวนครงั้ เดียวเพราะจะเป็นการเพิ่มความดนั ในลาไส้ใหญ่ท่ีกาลงั โป่ งพอง มากๆ ควรใช้ครงั้ ละ 15-20 มิลลิลิตร ลกั ษณะการสวนจะค่อยๆฉีดน้าเบาผา่ น สายเข้าในบริเวณท่ีมีอจุ จาระ แล้วค่อยๆดดู กลบั และวดั ปริมาณน้าท่ีใส่เข้าไป และดดู ออกมาต้องใกล้เคียงกนั

เดก็ มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผา่ ตดั หรือระคายเคืองหรือมีการอกั เสบของ ผิวหนังรอบรเู ปิ ดของลาไส้ใหญ่ เนื่องจากการปนเปื้ อนของน้าย่อยหรอื อจุ จาระ 1) ประเมินลกั ษณะผิวหนังบริเวณท่ีทาผ่าตดั เปิ ดลาไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง 2) ดแู ลความสะอาดของแผลผา่ ตดั และระวงั ไม่ให้เกิดการปนเปื้ อนอจุ จาระหรือ น้าย่อยจากรเู ปิ ดของลาไส้ใหญ่ และดแู ลความสะอาดของผิวหนังรอบรเู ปิ ดของ ลาไส้ใหญ่ทกุ ครงั้ ที่มีน้าย่อยหรืออจุ จาระออกมาปนเปื้ อน 3) ทาผิวหนังรอบรเู ปิ ดลาไส้ใหญ่ด้วยซิงคอ์ อกไซด์ เพ่ือป้ องกนั การระคายเคือง ของผิวหนัง จากการปนเปื้ อนของอจุ จาระหรอื น้าย่อย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook