Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

คู่มือการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

Description: คู่มือการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

Search

Read the Text Version

คู่มอื การบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการอพาฒัชีวนอานระาบมบยั กแาลระบสรภหิ าาพรแแลวดะกลา้อรมจใัดนกกาารรดทา้ �ำนงคานวามปลอดภัย ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน แนวทางการพฒั นาระบบการบรหิ ารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ด�ำเนนิ การโดย จป. ในพน้ื ท่ี ด�ำเนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะท�ำงาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครัง้ ที่ 1 (2) ตรวจครัง้ ที่ 2 (3) ถกู ต้อง ถกู ต้อง ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ ม/ี ใช่ ไมม่ ี/ไมใ่ ช่ ครบถว้ น ครบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ น ไม่ครบถ้วน (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 1 นายจ้างหรือผู้ท่ีรับผิดชอบมีการทบทวนมาตรฐานกฎหมาย £ £ £ £ £ £ £ £ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานท่ีเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานอยา่ งครบถว้ น อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เช่น การจัดประชุมพิจารณาร่วมกัน ระหวา่ งผ้บู รหิ ารกับคณะทำ� งาน 2 มีนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ £ £ £ £ £ £ £ £ แวดล้อมในการท�ำงานลงนามโดยนายจา้ ง 3 ลกู จา้ งทกุ ระดบั รบั ทราบนโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั £ £ £ £ £ £ £ £ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน โดยมีวิธีต่าง ๆ เช่น การจดั บอรด์ นโยบาย การจัดทำ� ค่มู อื การอบรม ฯลฯ 4 มีการจัดท�ำแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ £ £ £ £ £ £ £ £ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ประจ�ำปี อย่างครบถ้วนและ ลงนามโดยนายจา้ ง 5 มีการประเมินผลแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย £ £ £ £ £ £ £ £ และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ประจำ� ปขี องรอบปที ผ่ี า่ นมา รวมทงั้ สรปุ ปญั หาและอปุ สรรคและเสนอแนะแนวทางในการ ปรบั ปรุงแกไ้ ขอยา่ งครบถ้วน 6 มกี ารจดั ทำ� ขอ้ บงั คบั และคมู่ อื ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั £ £ £ £ £ £ £ £ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในสถานประกอบกิจการ ทค่ี รอบคลุมทุกงาน และครอบคลุมถงึ ผู้รับเหมา (ถา้ มี) 7 ลูกจ้างทุกระดับได้รับการอบรมข้อบังคับและคู่มือด้าน £ £ £ £ £ £ £ £ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำ� งาน รวมท้ังลูกจ้างผรู้ ับเหมา (ถา้ ม)ี 8 มหี นว่ ยงาน/แผนก/ฝา่ ย/หรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบงานความปลอดภยั £ £ £ £ £ £ £ £ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในสถาน ประกอบกจิ การ/หน่วยงาน อย่างชดั เจน 9 ลกู จา้ งระดบั บรหิ ารทกุ คนไดร้ บั การอบรมหลกั สตู ร “เจา้ หนา้ ที่ £ £ £ £ £ £ £ £ ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับบริหาร” และได้รับการ แต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับ บรหิ าร และขน้ึ ทะเบยี นกบั ส�ำนักงานสวัสดิการและค้มุ ครอง 192 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ อื การบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบริหารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ดำ� เนนิ การโดย จป. ในพน้ื ท่ี ด�ำเนินการโดยคณะกรรมการความปลอดภัยฯ/คณะทำ� งาน ที่ รายละเอียด Pre Audit (1) ตรวจครั้งท่ี 1 (2) ตรวจครัง้ ที่ 2 (3) ถูกตอ้ ง ถกู ตอ้ ง มี/ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ มี/ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ มี/ใช่ ไมม่ ี/ไมใ่ ช่ ครบถ้วน ครบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น ครบถว้ น ไม่ครบถว้ น (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน แรงงานจงั หวดั หรอื สำ� นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน กรุงเทพมหานครพนื้ ทีอ่ ย่างครบถ้วน 10 ลกู จา้ งระดบั หวั หนา้ ทกุ คนไดร้ บั การอบรมหลกั สตู ร “เจา้ หนา้ ที่ £ £ £ £ £ £ £ £ ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับหัวหน้างาน” และได้รับ การแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับ หัวหน้างาน และขึ้นทะเบียนกับส�ำนักงานสวัสดิการและ คมุ้ ครองแรงงานจงั หวดั หรอื สำ� นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครอง แรงงานกรงุ เทพมหานครพ้นื ทีอ่ ย่างครบถ้วน 11 มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงานระดับ £ £ £ £ £ £ £ £ วิชาชีพหรือระดับเทคนิคขั้นสูงที่มีคุณสมบัติตามท่ีกฎหมาย ก�ำหนด และขนึ้ ทะเบียนกับส�ำนักงานสวัสดิการและคุม้ ครอง แรงงานจงั หวดั หรอื สำ� นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน กรุงเทพมหานครพื้นท่ี (กรณีสถานประกอบกิจการเข้าข่าย ต้องมี) 12 มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ £ £ £ £ £ £ £ £ แวดล้อมในการท�ำงานมีคุณสมบัติตามท่ีกฎหมายก�ำหนด และแจ้งรายช่ือเพ่ือข้ึนทะเบียนกับส�ำนักงานสวัสดิการและ คมุ้ ครองแรงงานจงั หวดั หรอื สำ� นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครอง แรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ (กรณีสถานประกอบกิจการ เข้าข่ายต้องมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน) 13 มีเจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั ในการท�ำงาน บคุ ลากร หนว่ ยงาน £ £ £ £ £ £ £ £ หรือคณะบุคคลเพ่ือด�ำเนินการด้านความปลอดภัยในสถาน ประกอบกิจการตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขทก่ี ำ� หนด ในกฎกระทรวง เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงานและ บุคลากรตามวรรคหน่ึงจะต้องข้ึนทะเบียนต่อกรมสวัสดิการ และคมุ้ ครองแรงงาน 14 กรณที น่ี ายจา้ งใหล้ กู จา้ งทำ� งานในสภาพการทำ� งานหรอื สภาพ £ £ £ £ £ £ £ £ แวดลอ้ มในการทำ� งานทอี่ าจทำ� ใหล้ กู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายตอ่ ชวี ติ รา่ งกาย จิตใจ หรือสขุ ภาพอนามยั มีระเบยี บหรือข้อกำ� หนด ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบถึงอันตรายท่ีอาจจะเกิดขึ้น จากการท�ำงานและแจกคู่มือปฏิบัติงานให้ลูกจ้างทุกคนก่อน ทีล่ ูกจา้ งจะเข้าท�ำงาน เปล่ยี นงาน หรือเปลี่ยนสถานทีท่ ำ� งาน 15 ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคนได้ £ £ £ £ £ £ £ £ รับการฝึกอบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 193

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพัฒนาระบบการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ด�ำเนินการโดย จป. ในพนื้ ที่ ดำ� เนินการโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะทำ� งาน ที่ รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครั้งที่ 1 (2) ตรวจคร้ังที่ 2 (3) ถกู ต้อง ถกู ตอ้ ง ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไม่ใช่ มี/ใช่ ไม่ม/ี ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ น ไม่ครบถว้ น ครบถว้ น ไม่ครบถว้ น (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน แวดลอ้ มในการท�ำงาน เพอ่ื ให้บริหารจัดการ และด�ำเนนิ การ ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการ ทำ� งานได้อยา่ งปลอดภัย 16 ใหน้ ายจา้ งตดิ ประกาศสญั ลกั ษณเ์ ตอื นอนั ตรายและเครอ่ื งหมาย £ £ £ £ £ £ £ £ เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน รวมทั้งข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ของ นายจ้างและลูกจ้างตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนดในท่ีท่ี เหน็ ได้ง่าย ณ สถานประกอบกิจการ 17 มีการก�ำหนดหน้าที่ให้ผู้บริหารหรือหัวหน้างานมีหน้าที่ £ £ £ £ £ £ £ £ สนบั สนุนและร่วมมือกับนายจ้างและบคุ ลากรอ่นื เพ่อื ปฏิบตั ิ การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน รวมท้ัง แจง้ เวียนให้ลูกจ้างท่ีเกีย่ วขอ้ งทราบอย่างครบถ้วน 18 มีแนวปฏิบัติให้ลูกจ้างแจ้งต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการ £ £ £ £ £ £ £ £ ท�ำงาน หัวหน้างาน หรือผูบ้ ริหาร กรณที ่ีลกู จ้างทราบถงึ ข้อ บกพร่องหรือการช�ำรุดเสียหาย และไม่สามารถแก้ไขได้ด้วย ตนเอง แจง้ เป็นหนังสือต่อนายจ้างโดยไมช่ กั ชา้ 19 มีแนวปฏิบัติในกรณีที่หัวหน้างานทราบถึงข้อบกพร่องหรือ £ £ £ £ £ £ £ £ การช�ำรุดเสียหายซ่ึงอาจท�ำให้ลูกจ้างได้รับอันตราย ต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ต้องด�ำเนินการป้องกัน อนั ตรายนน้ั ภายในขอบเขตทรี่ บั ผดิ ชอบหรอื ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ทันทีที่ทราบ กรณีไม่อาจด�ำเนินการได้ ให้แจ้งผู้บริหารหรือ นายจ้างดำ� เนนิ การแก้ไขโดยไม่ชกั ช้า 20 มีการจัดให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย £ £ £ £ £ £ £ £ ส่วนบุคคลที่ได้มาตรฐานตามอธิบดีประกาศก�ำหนดตลอด เวลาการทำ� งาน 21 มีแนวทางการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย £ £ £ £ £ £ £ £ สว่ นบุคคลตามชนดิ และอปุ กรณอ์ ย่างครบถ้วน และท่จี ัดเก็บ อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลอยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะ และสามารถนำ� มาใช้งานไดอ้ ย่างปลอดภัย 22 กรณีพบว่าลูกจ้างที่ท�ำงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือโรค £ £ £ £ £ £ £ £ จากการทำ� งาน หรอื ลกั ษณะงานทอี่ าจกอ่ ให้เกดิ อุบัติเหตกุ ับ ลูกจ้าง ไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยดังกล่าว มีแนวทางหรือมาตรการส่ังให้ลูกจ้างหยุดการท�ำงานนั้น จนกว่าลกู จ้างจะสวมใสอ่ ุปกรณ์ดงั กล่าว 194 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

คมู่ อื การบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบริหารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ดำ� เนนิ การโดย จป. ในพน้ื ที่ ดำ� เนินการโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะท�ำงาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจคร้งั ท่ี 1 (2) ตรวจครั้งท่ี 2 (3) ถูกต้อง ถกู ตอ้ ง ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ มี/ใช่ ไม่มี/ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไมม่ ี/ไมใ่ ช่ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 23 สถานประกอบกจิ การมกี ารประเมนิ อนั ตรายสภาพการทำ� งาน £ £ £ £ £ £ £ £ และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน และมมี าตรการควบคมุ แกไ้ ข 24 มีการศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่มี £ £ £ £ £ £ £ £ ผลต่อลกู จ้าง 25 มกี ารจดั ทำ� แผนการดำ� เนนิ งานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั £ £ £ £ £ £ £ £ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานและจัดท�ำแผนการควบคุม ดแู ลลกู จา้ งและสถานประกอบกจิ การ 26 มีการสรุปและประเมินผลแผนการด�ำเนินงานด้านความ £ £ £ £ £ £ £ £ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน อยา่ งน้อยปีละ 1 ครง้ั 27 สถานประกอบกิจการประเภทการผลิตนํ้าตาลและท�ำให้ £ £ £ £ £ £ £ £ บริสุทธ์ิ การปั่นทอที่มีการฟอกหรือย้อมสี การผลิตเยื่อ กระดาษหรือกระดาษการผลิตยางรถยนต์หรือหล่อดอกยาง การผลิตกระจก เครื่องแก้วหรือหลอดไฟ การผลิตซีเมนต์ หรือปูนขาว การถลุง หล่อหลอมหรือรีดโลหะ หรือกิจการ ทมี่ แี หลง่ กำ� เนดิ ความรอ้ นหรอื มกี ารทำ� งานทอ่ี าจทำ� ใหล้ กู จา้ ง ไดร้ บั อนั ตรายเนอื่ งจากความรอ้ น มกี ารตรวจวดั และวเิ คราะห์ สภาวะการท�ำงานเกี่ยวกับระดับความร้อนตามหลักเกณฑ์ ทอ่ี ธบิ ดกี ำ� หนดอย่างนอ้ ยปลี ะหนงึ่ ครัง้ 28 สถานประกอบกจิ การจดั ใหม้ คี วามเขม้ ของแสงสวา่ งไมต่ า่ํ กวา่ £ £ £ £ £ £ £ £ มาตรฐานท่ีอธิบดีประกาศก�ำหนดอย่างครบถ้วน และมีการ ตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานเก่ียวกับแสงสว่าง อยา่ งน้อยปลี ะหน่ึงครง้ั 29 สถานประกอบกิจการประเภทการระเบิด ย่อย โม่หรือ £ £ £ £ £ £ £ £ บดหิน การผลิตนํ้าตาลหรือท�ำให้บริสุทธ์ิ การผลิตน้ําแข็ง การปั่นทอ โดยใช้เคร่ืองจักร การผลิตเครื่องเรือน เครื่องใช้ จากไม้ การผลิตเยอ่ื กระดาษหรือกระดาษ กจิ การทม่ี ีการป๊ัม หรือเจียรโลหะ กิจการท่ีมีแหล่งก�ำเนิดเสียง หรือสภาพ การท�ำงานที่อาจท�ำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายเน่ืองจากเสียง มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานเกี่ยวกับเสียง ตามหลักเกณฑ์ท่อี ธบิ ดีก�ำหนดอย่างนอ้ ยปีละหนง่ึ ครัง้ 30 สถานประกอบกิจการมีการส่งรายงานผลการตรวจวัดและ £ £ £ £ £ £ £ £ วิเคราะห์สภาวะการท�ำงานความร้อน แสงสว่าง และเสียง ต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายภายในสามสิบวัน นับแต่ วันทเี่ สร็จสนิ้ การตรวจวัด กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 195

คู่มือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบริหารและการจดั การด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ดำ� เนินการโดย จป. ในพน้ื ท่ี ดำ� เนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะท�ำงาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครง้ั ท่ี 1 (2) ตรวจครั้งท่ี 2 (3) ถูกต้อง ถกู ต้อง ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไม่ใช่ ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไมใ่ ช่ ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไม่ใช่ ครบถ้วน ครบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ น ไม่ครบถ้วน (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 31 สถานประกอบกิจการจัดให้ลูกจ้างที่ท�ำงานในสภาวะการ £ £ £ £ £ £ £ £ ท�ำงานที่อาจได้รับอันตรายจากความร้อน แสงสว่าง หรือ เสียง ตรวจสุขภาพประจ�ำปีหรือเป็นระยะตามปัจจัยเสี่ยง อย่างครบถว้ น 32 สถานประกอบกิจการมีการรายงานผลการตรวจสุขภาพของ £ £ £ £ £ £ £ £ ลูกจา้ งใหห้ นว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องภายใน 30 วันนับจากท่ที ราบ ผลการตรวจสขุ ภาพลูกจ้าง 33 สถานประกอบกิจการมีการแก้ไข ปรับปรุงสภาพแวดล้อม £ £ £ £ £ £ £ £ ที่มีปัจจัยเส่ียงต่อสุขภาพของลูกจ้างอย่างต่อเน่ือง ตาม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. 2554 34 มีการจัดท�ำบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตรายในครอบครอง £ £ £ £ £ £ £ £ และแจ้งรายละเอียดต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมาย ภายในเจด็ วันนบั แตว่ ันที่มีสารเคมอี ันตรายอยู่ในครอบครอง 35 มีการแจ้งบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตราย และรายละเอียด £ £ £ £ £ £ £ £ ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตรายในครอบครองต่อ อธบิ ดี หรอื ผซู้ ง่ึ อธบิ ดมี อบหมายภายในเดอื นมกราคมของทกุ ปี 36 ลูกจ้างท่ีท�ำงานในสภาวะการท�ำงานท่ีอาจได้รับอันตรายจาก £ £ £ £ £ £ £ £ สารเคมีได้รับการตรวจสุขภาพประจ�ำปี หรือเป็นระยะตาม ปัจจยั เส่ยี งอย่างครบถว้ น และรายงานผล รวมทง้ั ดำ� เนนิ การ ท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสุขภาพ ของลูกจ้างตามพระราช บัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน พ.ศ. 2554 37 สถานประกอบกิจการที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครอง £ £ £ £ £ £ £ £ มีการจัดท�ำบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย และรายละเอียด ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตรายตามแบบที่อธิบดี ประกาศก�ำหนดพร้อมท้ังแจ้งต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบ หมายภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ใน ครอบครอง 38 สถานประกอบกิจการมีการแจ้งบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตราย £ £ £ £ £ £ £ £ และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย ที่ตนมีอยู่ในครอบครองต่ออธิบดี หรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมาย ภายในเดือนมกราคมของทกุ ปี 196 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คมู่ อื การบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ด�ำเนนิ การโดย จป. ในพ้นื ที่ ด�ำเนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภัยฯ/คณะท�ำงาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจคร้ังท่ี 1 (2) ตรวจครงั้ ที่ 2 (3) ถกู ตอ้ ง ถูกต้อง มี/ใช่ ไมม่ /ี ไม่ใช่ มี/ใช่ ไม่ม/ี ไมใ่ ช่ ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 39 สถานประกอบกจิ การมกี ารจดั ทำ� คมู่ อื แนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั £ £ £ £ £ £ £ £ สารเคมอี ันตราย และมกี ารแจง้ หรืออบรมให้ลกู จา้ งทที่ �ำงาน เกี่ยวกับสารเคมีอันตรายทราบถึงคุณลักษณะของสารเคมี ความปลอดภัย และการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น ฯลฯ 40 สถานประกอบกิจการมีการจัดให้มีป้ายห้าม ป้ายให้ปฏิบัติ £ £ £ £ £ £ £ £ หรือป้ายเตือน ในการท�ำงานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายไว้ใน ท่ีเปิดเผยเห็นได้ชัดเจน ณ สถานท่ีทำ� งานของลกู จ้าง 41 สถานประกอบกิจการมีการปิดประกาศหรือจัดท�ำป้ายแจ้ง £ £ £ £ £ £ £ £ ข้อความ “ห้ามสูบบุหรี่ รับประทานอาหาร หรือเครื่องด่ืม ประกอบอาหาร หรือเก็บอาหาร” ด้วยตัวอักษรขนาดที่เห็น ไดช้ ดั เจนไว้ ณ บรเิ วณสถานทที่ ำ� งานเกยี่ วกบั สารเคมอี นั ตราย สถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือในยานพาหนะขนส่ง สารเคมีอันตราย และจะต้องควบคุมดูแลมิให้มีการฝ่าฝืน ขอ้ หา้ มดังกลา่ ว 42 สถานประกอบกิจการมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการ £ £ £ £ £ £ £ £ ท�ำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายท่ีถูกสุขลักษณะ สะอาด และเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ดังน้ี 1. พน้ื ทีป่ ฏบิ ัตงิ านตอ้ งเรียบ สมา่ํ เสมอ ไมล่ ื่น และไมม่ วี ัสดุ เกะกะกดี ขวางทางเดิน 2. มีระบบระบายอากาศแบบทั่วไป หรือแบบท่ีท�ำให้สาร เคมีอันตรายเจือจาง หรือแบบที่มีเคร่ืองดูดอากาศเฉพาะที่ ท่ีเหมาะสมกับประเภทของสารเคมีอันตราย โดยให้มี ออกซิเจนในบรรยากาศไม่ตํ่ากว่าร้อยละสิบเก้าจุดห้า โดยปริมาตร 3. มีระบบป้องกันและก�ำจัดอากาศเสียโดยใช้ระบบระบาย อากาศเฉพาะท่ี ระบบเปียก การปิดคลุม หรือระบบอื่น เพอื่ มใิ หม้ สี ารเคมอี นั ตรายในบรรยากาศเกนิ ปรมิ าณทก่ี ำ� หนด และป้องมิใหอ้ ากาศทรี่ ะบายออกไปเป็นอนั ตรายตอ่ ผู้อนื่ 43 สถานประกอบกิจการมีการจัดสถานที่และอุปกรณ์ £ £ £ £ £ £ £ £ เพ่ือคุ้มครองความปลอดภัยลูกจ้างบริเวณท่ีลูกจ้างท�ำงาน เก่ยี วกับสารเคมอี นั ตรายตามรายการ ดงั น้ี 1. ที่ช�ำระล้างสารเคมีอันตรายที่ลูกจ้างสามารถใช้ได้ทันที ในกรณีฉุกเฉิน อย่างน้อยต้องมีที่ล้างตาและฝักบัวช�ำระล้าง รา่ งกายจากสารเคมีอันตราย 2. ที่ลา้ งมอื และลา้ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่าหนึ่งทีต่ ่อลูกจา้ งสบิ หา้ คนและให้เพ่ิมจ�ำนวนข้ึนตามสัดส่วนของลูกจ้าง ส่วนที่เกิน เจด็ คนให้ถือเปน็ สบิ หา้ คน กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 197

คูม่ อื การบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชวี อนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ด�ำเนินการโดย จป. ในพ้ืนท่ี ดำ� เนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะทำ� งาน ท่ี รายละเอียด Pre Audit (1) ตรวจครง้ั ท่ี 1 (2) ตรวจคร้ังท่ี 2 (3) ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง มี/ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ มี/ใช่ ไมม่ ี/ไมใ่ ช่ ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ ครบถ้วน ครบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ครบถว้ น ไมค่ รบถว้ น ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 3. ห้องอาบน้ําเพื่อใช้ช�ำระล้างร่างกายไม่น้อยกว่าหนึ่งห้อง ต่อลูกจ้างสิบห้าคนและให้เพ่ิมข้ึนตามสัดส่วนของลูกจ้าง ส่วนท่ีเกินเจ็ดคนให้ถือเป็นสิบห้าคน ท้ังนี้ จะต้องจัดของใช้ ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับช�ำระล้างสารเคมีอันตรายออกจากร่างกาย ใหเ้ พียงพอและใชไ้ ด้ตลอดเวลา 4. อุปกรณ์และเวชภัณฑ์ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการปฐมพยาบาล ลกู จ้างที่ได้รับอนั ตรายจากสารเคมีอนั ตราย 5. อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสมกับสารเคมีอันตรายแต่ละ ชนิด และเพยี งพอสำ� หรบั การผจญเพลงิ เบ้ืองตน้ 6. ชดุ ทำ� งานเฉพาะสำ� หรบั ลกู จา้ งซงึ่ ทำ� งานเกย่ี วกบั สารเคมี อันตราย และท่ีเก็บชุดท�ำงานท่ีใช้แล้วดังกล่าวให้เหมาะกับ สารเคมอี ันตรายประเภทน้นั 44 สถานประกอบกจิ การมกี ารจดั อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั £ £ £ £ £ £ £ £ สว่ นบคุ คลตามลกั ษณะอนั ตรายและความรนุ แรงของสารเคมี อันตรายหรือลักษณะของงาน ให้ลูกจ้างใช้หรือสวมใส่เพ่ือ ป้องกันอันตรายท่ีอาจจะเกิดแก่ชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพ อนามยั ของลูกจ้าง 45 สถานประกอบกิจการมีแผนฉุกเฉินหรือมาตรการป้องกัน £ £ £ £ £ £ £ £ อนั ตรายทอี่ าจเกดิ จากสารเคมอี นั ตรายในบรเิ วณ สถานทเี่ กบ็ รกั ษาสารเคมีอันตราย รวมทง้ั มาตรการเบ้ืองตน้ ในการแก้ไข เยียวยาอนั ตรายท่เี กดิ ขึน้ 46 สถานประกอบกิจการมีระบบป้องกันและควบคุม เพ่ือมิให้ £ £ £ £ £ £ £ £ มีระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ ของสถานที่ท�ำงาน และสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย เกินขีดจ�ำกัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายตามท่ีอธิบดี ประกาศก�ำหนด 47 สถานประกอบกจิ การมกี ารตรวจวดั และวเิ คราะหร์ ะดบั ความ £ £ £ £ £ £ £ £ เข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ท�ำงาน และสถานทเี่ กบ็ รกั ษาสารเคมอี นั ตราย และสง่ รายงานผลการ ตรวจวดั ใหแ้ กอ่ ธบิ ดหี รอื ผซู้ ง่ึ อธบิ ดมี อบหมายภายในสบิ หา้ วนั นบั แต่วันที่ทราบผลการตรวจวัด 48 สถานประกอบกจิ การมกี ารประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพของ £ £ £ £ £ £ £ £ ลูกจ้างในกรณีท่ีมีการใช้สารเคมีอันตรายตามหลักเกณฑ์และ วธิ กี ารทอี่ ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด และจดั ทำ� รายงานการประเมนิ น้ันส่งให้แก่อธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสิบห้าวัน นับแต่วันท่ีทราบผลการประเมิน ในกรณีที่ผลการประเมิน 198 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

คูม่ อื การบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ด�ำเนินการโดย จป. ในพน้ื ที่ ดำ� เนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะทำ� งาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจคร้ังที่ 1 (2) ตรวจคร้ังท่ี 2 (3) ถูกต้อง ถูกตอ้ ง มี/ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไมม่ /ี ไม่ใช่ มี/ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ ครบถว้ น ครบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ความเส่ียงต่อสุขภาพของลูกจ้างอยู่ในระดับท่ีอาจก่อให้เกิด อันตรายให้นายจ้างด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภยั และใหน้ ายจา้ งนำ� ผลการประเมนิ ไปใชป้ ระกอบการ วางแผนการตรวจสุขภาพของลูกจ้างท่ีท�ำงานเก่ียวกับปัจจัย เส่ียงและการเฝา้ ระวังสขุ ภาพอนามัยของลูกจา้ ง 49 สถานประกอบกิจการที่มีสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครอง £ £ £ £ £ £ £ £ ตามรายชื่อและปริมาณท่ีอธิบดีประกาศก�ำหนด จัดให้มีการ ประเมนิ ความเสย่ี งในการกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายและจดั ทำ� รายงาน การประเมนิ ความเส่ียงน้ันอย่างน้อยห้าปตี ่อหนึง่ คร้งั 50 สถานประกอบกจิ การมกี ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ รณมี เี หตฉุ กุ เฉนิ £ £ £ £ £ £ £ £ ของสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดี ประกาศกำ� หนด และเก็บแผนดงั กลา่ วไว้ ณ สถานประกอบ กิจการจนปรับปรุงแผนให้ทันสมัยและฝึกซ้อมตามแผน อย่างน้อยปีละหนง่ึ ครั้ง 51 สถานประกอบกิจการจัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้างที่มีหน้าที่ £ £ £ £ £ £ £ £ ควบคุมและระงับเหตุอันตรายตามหลักสูตรท่ีอธิบดีประกาศ ก�ำหนด และท�ำการฝึกอบรมทบทวนอย่างน้อยปีละหน่ึงครั้ง และเก็บหลักฐานการฝึกอบรมพร้อมที่จะให้พนักงานตรวจ ความปลอดภยั ตรวจสอบได้ 52 สถานประกอบกิจการมีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยใน £ £ £ £ £ £ £ £ สถานประกอบกิจการ ตามกฎกระทรวงน้ี และมีการดูแล ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและปลอดภยั 53 สถานประกอบกิจการมีการจัดท�ำป้ายข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ £ £ £ £ £ £ £ £ การดับเพลิงและการอพยพหนีไฟ และปิดประกาศให้เห็น ได้อย่างชดั เจน 54 สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่สิบคนขึ้นไป จัดให้มี £ £ £ £ £ £ £ £ แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงคป์ อ้ งกนั อคั คภี ยั การดบั เพลงิ การอพยพ หนีไฟ และการบรรเทาทกุ ข์ (กรณีมีลูกจ้างรวมต้ังแต่ 10 คนข้ึนไป กรณีลูกจ้างไม่ถึง 10 คน สถานประกอบกิจการมีวธิ ีอน่ื ทีเ่ หมาะสม) 55 สถานประกอบกิจการมีการทบทวนแผนป้องกันและระงับ £ £ £ £ £ £ £ £ อคั คีภยั อย่างน้อยปลี ะหน่งึ ครง้ั หรือตามความเหมาะสม กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน 199

คู่มือการบริหารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพัฒนาระบบการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ดำ� เนินการโดย จป. ในพ้นื ที่ ดำ� เนินการโดยคณะกรรมการความปลอดภัยฯ/คณะทำ� งาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครัง้ ที่ 1 (2) ตรวจครัง้ ที่ 2 (3) ถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง มี/ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ มี/ใช่ ไม่มี/ไม่ใช่ มี/ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ ครบถว้ น ครบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น ครบถว้ น ไม่ครบถว้ น (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 56 สถานประกอบกจิ การใหล้ กู จา้ งไดร้ บั การฝกึ อบรมดบั เพลงิ ขนั้ £ £ £ £ £ £ £ £ ตน้ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 40 ของแตล่ ะพนื้ ท่ี จากหนว่ ยงานทก่ี รม สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานรบั รอง 57 สถานประกอบกิจการมีการจัดท�ำแผนฉุกเฉินด้านความ £ £ £ £ £ £ £ £ ปลอดภัยครอบคลุมปัจจัยเส่ียงในสถานประกอบกิจการ อยา่ งเหมาะสม และมกี ารฝึกซ้อมเปน็ ระยะ (ไม่นับรวมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบ กิจการ) 58 สถานประกอบกิจการมีการจัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกซ้อม £ £ £ £ £ £ £ £ ดบั เพลงิ และฝกึ ซอ้ มหนไี ฟครบถว้ นอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ จาก หน่วยงานท่ีกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานรบั รอง (กรณีสถานประกอบกิจการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อม หนีไฟเองต้องมีหนังสือเห็นชอบจากอธิบดีกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานมอบหมาย) 59 สถานประกอบกิจการมีการรายงานผลการฝึกซ้อมดังกล่าว £ £ £ £ £ £ £ £ ตามแบบที่อธิบดีก�ำหนด และย่ืนต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดี มอบหมายภายในสามสิบวนั นบั แต่วนั ทีเ่ สร็จสิน้ การฝึกซ้อม 60 สถานประกอบกิจการมีการแยกเก็บวัตถุซ่ึงเม่ือรวมกันแล้ว £ £ £ £ £ £ £ £ จะเกิดการลุกไหม้หรืออาจก่อให้เกิดการลุกไหม้ ให้แยกเก็บ โดยมิให้ปะปนกัน และมีป้ายห้ามเตือนที่สามารถมองเห็น ไดอ้ ยา่ งชดั เจน 61 สถานประกอบกิจการมีเส้นทางหนีไฟทุกชั้นของอาคาร £ £ £ £ £ £ £ £ อยา่ งนอ้ ยชนั้ ละสองเสน้ ทางซง่ึ สามารถอพยพลกู จา้ งทท่ี ำ� งาน ในเวลาเดยี วกนั ทง้ั หมดสจู่ ดุ ทปี่ ลอดภยั ไดโ้ ดยปลอดภยั ภายใน เวลาไม่เกนิ หา้ นาที 62 เส้นทางหนีไฟจากจุดที่ลูกจ้างท�ำงานไปสู่จุดที่ปลอดภัย £ £ £ £ £ £ £ £ ปราศจากส่งิ กดี ขวาง 63 เส้นทางหนีไฟต้องมีป้ายบอกทางหนีไฟท่ีมีแสงสว่างในตัว £ £ £ £ £ £ £ £ เองหรือใช้ไฟส่องให้เห็นได้อย่างชัดเจนตลอดเวลาตลอด เส้นทางหนไี ฟ 64 ประตูที่ใช้ในเส้นทางหนีไฟท�ำด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณีประตู £ £ £ £ £ £ £ £ หรอื ขอบกน้ั และเปน็ ชนดิ ทบ่ี านประตเู ปดิ ออกไปตามทศิ ทาง ของการหนีไฟกับต้องติดอุปกรณ์ท่ีบังคับให้บานประตูปิด ไดเ้ อง หา้ มใชป้ ระตเู ลอ่ื น ประตมู ว้ น หรอื ประตหู มนุ และหา้ ม 200 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

ค่มู อื การบริหารงานความปลอดภยั และอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบรหิ ารและการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ด�ำเนนิ การโดย จป. ในพ้นื ท่ี ด�ำเนินการโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะทำ� งาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจคร้ังที่ 1 (2) ตรวจครง้ั ท่ี 2 (3) ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ม/ี ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ ม/ี ใช่ ไม่มี/ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถว้ น ไมค่ รบถว้ น ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น ครบถว้ น ไม่ครบถ้วน (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ปิดตาย ใสก่ ลอน กุญแจ ผูก ลา่ มโซ่ หรือทำ� ให้เปิดออกไม่ได้ ในขณะทม่ี ลี กู จ้างทำ� งาน 65 สถานประกอบกิจการท่ีมีอาคารตั้งแต่สองช้ันข้ึนไป หรือ £ £ £ £ £ £ £ £ มีพื้นท่ีประกอบกิจการตั้งแต่สามร้อยตารางเมตรข้ึนไป ให้นายจ้างจัดให้มีระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ใน สถานประกอบกจิ การทกุ ชั้น 66 สถานประกอบกิจการมีระบบน้ําดับเพลิงและอุปกรณ์ £ £ £ £ £ £ £ £ ประกอบเพื่อใช้ในการดับเพลิงท่ีสามารถดับเพลิงขั้นต้นได้ อยา่ งเพยี งพอในทกุ สว่ นของอาคาร 67 มีการก�ำหนดจุดรวมพลและติดตั้งสัญลักษณ์ท่ีได้มาตรฐาน £ £ £ £ £ £ £ £ ท่ีลูกจ้างสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนในระยะไม่น้อยกว่า 20 เมตร และตดิ ต้ังในบริเวณทเ่ี หมาะสมและปลอดภัย 68 มีการติดต้ังสัญลักษณ์เกี่ยวกับระบบการป้องกันและระงับ £ £ £ £ £ £ £ £ อัคคีภัยในสถานประกอบกิจการตามที่กฎหมายก�ำหนด อย่างครบถ้วน และครอบคลุมพ้ืนท่ีตามปัจจัยเส่ียงต่อการ เกดิ อคั คีภยั 69 มีเครื่องดับเพลิงแบบเคล่ือนย้ายตามประเภทของเพลิงอย่าง £ £ £ £ £ £ £ £ ครบถ้วน และเหมาะสมกับพ้ืนท่ีซ่ึงมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิด อัคคีภัยตามท่ีก�ำหนด และลูกจ้างสามารถเข้าถึงโดยไม่มี สง่ิ กีดขวาง และติดตั้งป้ายแสดงจุดติดตั้ง ทสี่ ามารถมองเห็น ไดอ้ ย่างชดั เจน 70 สถานประกอบกิจการมีการดูแลรักษาและตรวจสอบเคร่ือง £ £ £ £ £ £ £ £ ดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี โดยการตรวจสอบต้อง ไม่น้อยกว่าหกเดือนต่อหนึ่งคร้ัง พร้อมกับติดป้ายแสดงผล การตรวจสอบและวันที่ท�ำการตรวจสอบคร้ังสุดท้ายไว้ท่ี อปุ กรณด์ งั กลา่ ว และเกบ็ ผลการตรวจสอบไวใ้ หพ้ นกั งานตรวจ ความปลอดภยั ตรวจไดต้ ลอดเวลา รวมทงั้ ตอ้ งมกี ารซอ่ มบำ� รงุ และเปล่ียนถ่ายสารดับเพลิงตามข้อกำ� หนดของผู้ผลติ ด้วย 71 สถานประกอบกิจการมกี ารดแู ลรกั ษาและตรวจสอบอุปกรณ์ £ £ £ £ £ £ £ £ ดบั เพลงิ ใหอ้ ยใู่ นสภาพทใี่ ชง้ านไดด้ ี ไมน่ อ้ ยกวา่ เดอื นละหนงึ่ ครง้ั หรือตามระยะเวลาที่ผู้ผลิตก�ำหนด พร้อมกับติดป้าย แสดงผลการตรวจสอบและวันที่ทำ� การตรวจสอบครงั้ สุดท้าย ไวท้ อ่ี ปุ กรณด์ งั กลา่ ว เวน้ แตเ่ ครอื่ งดบั เพลงิ แบบเคลอ่ื นยา้ ยได้ ให้ตรวจสอบระยะเวลาทก่ี ำ� หนดไว้ในข้อ กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 201

คู่มือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชีวอนามยั (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพฒั นาระบบการบริหารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ด�ำเนนิ การโดย จป. ในพ้ืนท่ี ด�ำเนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภัยฯ/คณะท�ำงาน ที่ รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครัง้ ที่ 1 (2) ตรวจครัง้ ที่ 2 (3) ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ มี/ใช่ ไม่มี/ไม่ใช่ ครบถ้วน ครบถว้ น ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ น ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบถว้ น (4) (4) นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 72 สถานประกอบกจิ การมมี าตรการปอ้ งกนั อคั คภี ยั จากแหลง่ กอ่ £ £ £ £ £ £ £ £ เกดิ การกระจายตัวของความร้อน เช่น กระแสไฟฟ้าลดั วงจร เครือ่ งยนต์ หรือปล่องไฟ การแผร่ งั สี การเสียดสี การสะสม ของไฟฟ้าสถิต การเช่ือมหรือตัดโลหะ และการสะสม ความรอ้ นของปลอ่ งระบายควนั ฯลฯ 73 มีการจัดเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดเป็นไปตามกฎหมาย £ £ £ £ £ £ £ £ อย่างปลอดภัย 74 สถานประกอบกจิ การมกี ารจดั ทำ� ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ิ £ £ £ £ £ £ £ £ งานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานเก่ียวกับไฟฟ้า โดยให้มีมาตรฐานไม่ตํ่ากว่า ท่ีก�ำหนดไว้ในกฎกระทรวงเพอื่ ให้ลูกจา้ งปฏบิ ัตติ าม 75 สถานประกอบกิจการมีการจัดท�ำแผนผังวงจรไฟฟ้าท่ีติดต้ัง £ £ £ £ £ £ £ £ ภายในสถานประกอบกิจการท้ังหมดซึ่งได้รับการรับรอง จากวิศวกรหรือการไฟฟ้าประจ�ำท้องถิ่น และจัดเก็บไว้ให้ พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ หากมีการแก้ไข เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมต้องด�ำเนินการแก้ไข แผนผงั น้ันใหถ้ ูกตอ้ ง 76 สถานประกอบกิจการมีการตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาระบบ £ £ £ £ £ £ £ £ ไฟฟ้าและบริภณั ฑไ์ ฟฟ้า เพื่อให้ใช้งานไดอ้ ย่างปลอดภัย และ ให้บุคคลท่ีข้ึนทะเบียนตามมาตรา 9 หรือนิติบุคคลที่ได้รับ ใบอนญุ าตตามมาตรา 11 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2554 แลว้ แตก่ รณี เปน็ ผจู้ ดั ทำ� บนั ทกึ ผลการตรวจสอบและรบั รองไว้ เพ่ือให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ ทั้งน้ี ตาม หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขทีอ่ ธิบดีประกาศก�ำหนด 77 ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าได้รับการอบรมหลักสูตร £ £ £ £ £ £ £ £ ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทอ่ี ธบิ ดีประกาศก�ำหนด 78 สถานประกอบกิจการมีการจัดท�ำแผ่นป้ายท่ีมีตัวอักษร £ £ £ £ £ £ £ £ หรือสัญลักษณ์เตือนให้ระวังอันตรายจากไฟฟ้าที่มองเห็น ได้ชัดเจนติดตั้งไว้โดยเปิดเผยในบริเวณท่ีอาจเกิดอันตราย จากกระแสไฟฟ้า ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามแบบที่ก�ำหนดไว้ใน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือมาตรฐานอื่นตามท่ี อธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด 79 สถานประกอบกิจการมีการจัดท�ำแผ่นภาพพร้อมค�ำบรรยาย £ £ £ £ £ £ £ £ วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอื่ ประสบอนั ตรายจากไฟฟา้ และการปฐมพยาบาล 202 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

คมู่ อื การบริหารงานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ดำ� เนนิ การโดย จป. ในพน้ื ที่ ด�ำเนนิ การโดยคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ/คณะท�ำงาน ท่ี รายละเอยี ด Pre Audit (1) ตรวจครงั้ ที่ 1 (2) ตรวจครัง้ ที่ 2 (3) ถกู ต้อง ถูกต้อง ม/ี ใช่ ไมม่ ี/ไม่ใช่ ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไม่ใช่ ม/ี ใช่ ไม่ม/ี ไมใ่ ช่ ครบถว้ น ครบถ้วน ครบถว้ น ไมค่ รบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน ไมค่ รบถ้วน (4) (4) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยการผายปอดด้วยวิธีปาก เป่าอากาศเข้าทางปากหรือจมูกของผู้ประสบอันตราย และ วิธีการนวดหัวใจจากภายนอก ติดไว้ในบริเวณที่ท�ำงาน ท่ีลูกจา้ งสามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจน 80 สถานประกอบกจิ การมอี ปุ กรณด์ บั เพลงิ ทใี่ ชด้ บั เพลงิ ทเ่ี กดิ จาก £ £ £ £ £ £ £ £ ไฟฟ้าและนํา้ มนั ในห้องเครอ่ื งได้อย่างครบถ้วน 81 สถานประกอบกจิ การมกี ารจดั อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั £ £ £ £ £ £ £ £ สว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสมกบั ลกั ษณะงาน เชน่ ถงุ มอื หนงั ถงุ มอื ยาง แขนเสอื้ ยาง หมวกนริ ภัย รองเท้าพื้นยางห้มุ ข้อชนิดมีสน้ หรอื รองเทา้ พ้ืนยางห้มุ สน้ ให้ลูกจา้ งปฏบิ ตั งิ านเกีย่ วกบั ไฟฟ้าสวม ใสต่ ลอดเวลาทปี่ ฏบิ ตั งิ านและจดั ใหม้ อี ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย จากไฟฟ้าที่เหมาะสมกับลักษณะงาน เช่น แผ่นฉนวนไฟฟ้า ฉนวนหุ้มสาย ฉนวนครอบลูกถ้วย กรงฟาราเดย์ (Faraday Cage) ชุดตวั นำ� ไฟฟ้า (Conductive Suit) รวม (ขอ้ ) ร้อยละ ข้ันตอนการด�ำเนินการตรวจตามแบบตรวจมาตรการเชิงป้องกันด้าน ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะท�ำงาน หรือมอบหมายให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน เป็นผู้ดำ� เนนิ การ 2. ก�ำหนดแนวทางและระยะเวลาในการด�ำเนินงานทชี่ ัดเจน 3. จดั ประชมุ ชแ้ี จงผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งเพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานเปน็ ไปตามทศิ ทาง เดียวกัน 4. แต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการด�ำเนินงานแต่ละพ้ืนที่ และมอบหมายให้ ดำ� เนนิ การพฒั นาระบบการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานในพนื้ ที่รว่ มกนั กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 203

คมู่ อื การบริหารงานความปลอดภัยและอาชวี อนามัย (Safe work Safe life for SMEs) 5. คณะท�ำงาน หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ด�ำเนินการตรวจประเมินตามระยะเวลา ทกี่ ำ� หนด พรอ้ มท้งั สรปุ และประเมนิ ผลการด�ำเนินงาน ขั้นตอนการตรวจพิจารณา มีแนวทางการดำ� เนนิ งาน ดังนี้ 1. การตรวจเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น หรือ Pre Audit (1) โดยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทำ� งานที่ได้รบั มอบหมาย หรือทเ่ี กี่ยวข้อง 1.1 โดยสถานประกอบกจิ การมอบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทำ� งานในพนื้ ที่ หรอื ทไี่ ดร้ บั มอบหมายดำ� เนนิ การการตรวจการบรหิ ารจดั การ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในพื้นท่ีของตนเองเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น (Pre Audit) ตามข้อก�ำหนด 1.2 กรณีพบว่าข้อใดที่ปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ให้ใส่ เครอ่ื งหมาย Pลงในชอ่ ง £ มี กรณพี บวา่ ขอ้ ใดไมม่ หี รอื มแี ตย่ งั ปฏบิ ตั ไิ มค่ รบถว้ น ใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย O ลงในช่อง £ ไม่มี 1.3 เมื่อด�ำเนินการตรวจเพ่ือประเมินตนเองเบื้องต้น (Pre Audit) ตามข้อก�ำหนดแล้ว ให้น�ำเสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณา และลงนามร่วมกัน ผ้บู งั คบั บญั ชากับเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 2. การตรวจครัง้ ท่ี 1 (2) การตรวจครั้งที่ 1 เป็นการตรวจสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ในสถานประกอบกิจการตามแบบตรวจที่สถานประกอบกิจการได้ประเมินตนเอง (Pre Audit) โดยคณะท�ำงานทไี่ ด้รบั การแตง่ ตง้ั ภายในสถานประกอบกจิ การ หรือ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รว่ มกับเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการท�ำงานในพน้ื ที่ท่รี ับผิดชอบ 2.1 กรณพี บวา่ พน้ื ทใ่ี ดปฏบิ ตั คิ รบถว้ นในขอ้ ใด ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย P ลงในช่อง £ มี และหากพบว่าข้อใดไม่มีหรือมีแต่ยังปฏิบัติไม่ครบถ้วน ให้ใส่ เครื่องหมาย O ลงในช่อง £ ไม่มี และเสนอแนะให้แก้ไขปรับปรุง และบันทึก 204 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน

คูม่ อื การบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) ขอ้ เสนอแนะนน้ั ลงในชอ่ งทกี่ ำ� หนดของแตล่ ะขอ้ ทงั้ นโี้ ดยพจิ ารณาความสอดคลอ้ ง ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทำ� งาน 1) การตรวจคร้ังท่ี 1 (2) กรณีพบว่าพ้ืนที่ปฏบิ ัติครบถ้วนทกุ ขอ้ ให้สรปุ ผลการตรวจและใส่เครือ่ งหมาย P ลงในช่อง £ ถูกตอ้ ง/ครบถ้วน (4) 2) กรณีพบว่าพ้นื ท่ยี ังปฏิบตั ไิ ดไ้ ม่ถกู ตอ้ ง หรือไมม่ เี จ้าหนา้ ที่ใส่ ขอ้ เสนอแนะลงในชอ่ งเสนอแนะ และนดั เขา้ ตรวจครงั้ ท่ี 2 (3) เพอ่ื เปน็ การตดิ ตามผล การด�ำเนินการปรับปรงุ แกไ้ ขตามเงอ่ื นไขเวลาทกี่ ำ� หนด 2.2 ลงนามรับทราบร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยใน การท�ำงานที่รับผิดชอบและคณะท�ำงาน หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และส�ำเนาข้อเสนอแนะให้พ้ืนท่ี เก็บไว้ 1 ฉบับ เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการปรับปรุงแกไ้ ข 3. การตรวจครั้งที่ 2 (3) การตรวจครั้งที่ 2 เป็นการตรวจสภาพแวดล้อมในการท�ำงานใน สถานประกอบกิจการเพ่ือติดตามผลการแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะจากการ ตรวจคร้ังท่ี 1 โดยคณะท�ำงาน หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงาน ท่ีรับผดิ ชอบ 3.1 กรณีพบว่าสถานประกอบกิจการปฏิบัติการครบถ้วนในข้อใด ใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย P ลงในช่อง £ มี และหากพบวา่ ขอ้ ใดไมม่ หี รอื มีแตย่ ังปฏิบตั ิ ไม่ครบถว้ น ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย O ลงในชอ่ ง £ ไม่มี 1) การตรวจครง้ั ที่ 2 (3) กรณพี บวา่ สถานประกอบกจิ การปฏบิ ตั ิ ครบถ้วนทุกข้อใหส้ รุปผลการตรวจและใส่เครื่องหมาย P ลงในช่อง £ ถูกตอ้ ง/ ครบถว้ น (4) 2) กรณพี บวา่ สถานประกอบกจิ การยงั ปฏบิ ตั ไิ ดไ้ มถ่ กู ตอ้ ง หรอื ไม่มีเจ้าหน้าที่ใส่ข้อเสนอแนะลงในช่องเสนอแนะ และสรุปผลการตรวจครบถ้วน กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 205

คมู่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามัย (Safe work Safe life for SMEs) และใส่เคร่ืองหมาย O ลงในช่อง £ ไมถ่ ูกต้อง/ไมค่ รบถ้วน (5) 3.2 สรุปผลการตรวจและลงนามร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการท�ำงานท่ีรับผิดชอบและคณะท�ำงาน หรือคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 4. การสรปุ ผลการตรวจ (4) - (5) 4.1 เม่ือด�ำเนินการตามข้อ 1 - 3 ครบถ้วน ให้คณะท�ำงาน หรือ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน สรุปผลการตรวจหากพบว่าข้อใดพ้ืนที่ปฏิบัติถูกต้อง ให้ใส่เครื่องหมาย P ลงใน ช่อง £ ผ่าน (4) และหากพบว่าข้อใดไม่มีหรือมีแต่ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ให้ใส่ เครอ่ื งหมาย O ลงในช่อง £ ไมผ่ ่าน (5) 4.2 ลงนามรับทราบร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การท�ำงานที่รับผิดชอบกับคณะท�ำงาน หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 5. การประเมนิ ผล สถานประกอบกิจการอาจมีการประกาศยกย่องพื้นที่ท่ีสามารถ ด�ำเนินการปรับปรุง และพัฒนาได้ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด โดยมอบประกาศ เกียรติคุณยกย่องให้ได้รับการประกาศเกียรติคุณระดับต่าง ๆ โดยข้อก�ำหนด 1 ขอ้ เท่ากบั 1 คะแนน และมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้ 1) สถานประกอบกจิ การปฏิบตั ไิ ดต้ ามหลักเกณฑท์ ี่กำ� หนด ร้อยละ 90.00 - 100.00 (ระบุร้อยละทไ่ี ด้............) 2) สถานประกอบกจิ การปฏบิ ตั ิไดต้ ามหลกั เกณฑ์ทกี่ ำ� หนด ร้อยละ 80.00 - 89.99 (ระบุร้อยละทไี่ ด.้ ...........) 3) สถานประกอบกจิ การปฏบิ ตั ิไดต้ ามหลักเกณฑท์ ี่ก�ำหนด ร้อยละ 70.00 - 79.99 (ระบุร้อยละท่ีได้............) 4) สถานประกอบกิจการปฏบิ ตั ิได้ตามหลกั เกณฑ์ทีก่ �ำหนด รอ้ ยละ < 70.00 (ระบุร้อยละท่ไี ด.้ ...........) 206 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน

คู่มอื การบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บรรณานุกรม 1. กรมแรงงาน. สถาบันความปลอดภัยในการท�ำงาน. 2531. การ์ดป้องกัน อนั ตรายจากเครอ่ื งจกั ร. กรงุ เทพฯ: หจก. เหรยี ญบญุ การพมิ พ์ (1988). 2. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. กองควบคุมวัตถุอันตราย. 2538. แนวทางในการ เกบ็ รกั ษาอยา่ งปลอดภยั สำ� หรบั วตั ถอุ นั ตราย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . 3. กรมควบคุมโรค. ส�ำนักงานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 3 จงั หวดั ชลบุรี. 2552. คู่มือ ส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในการดูแลผู้สัมผัสสารเคมีอันตราย. พิมพ์ ครัง้ ท่ี 2 (ฉบับปรับปรงุ ). ชลบรุ :ี โรงพิมพ์ ชลบุรกี ารพมิ พ์ จ.ชลบุร.ี 4. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม. กรมควบคมุ มลพิษ. 2554. อุปกรณ์ปอ้ งกันสว่ นบุคคลในการท�ำงานกบั สารเคมี. กรุงเทพฯ: กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ ม. 5. สำ� นกั งานประกนั สงั คม. สำ� นกั งานกองทนุ เงนิ ทดแทน. 2559. รายงานประจำ� ปี 2559 กองทนุ เงนิ ทดแทน. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งานกองทนุ เงนิ ทดแทน สำ� นกั งาน ประกันสังคม. 6. กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. กองความปลอดภัยแรงงาน. 2561. กฎหมายความปลอดภยั ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2554 (ปรับปรุงล่าสุด มิถุนายน 2561). กรุงเทพฯ: กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน.   กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 207

คู่มือการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั (Safe work Safe life for SMEs) ทป่ี รึกษา นายอนนั ต์ชัย อทุ ัยพฒั นาชพี อธบิ ดกี รมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน นายทศพล กฤตวงศ์วมิ าน รองอธบิ ดกี รมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน นายวรรณรัตน์ ศรีสุขใส ผูอ้ ำ� นวยการกองความปลอดภัยแรงงาน นางสาวปรียานันท์ ลขิ ิตศานตร ์ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นความปลอดภยั แรงงาน คณะผูจ้ ัดท�ำ นายทวสี ิทธิ์ บุญธรรม ผู้อ�ำนวยการกล่มุ งานยทุ ธศาสตร์ ความปลอดภยั ในการท�ำงาน นายอารียวรรธน์ นามศรีชาติ นกั วิชาการแรงงานชำ� นาญการพเิ ศษ นางดวงหทัย สงั ขแ์ ปน้ นักวิชาการแรงงานชำ� นาญการ นางป่นิ ผกา นวลอ่อน นกั วชิ าการแรงงานช�ำนาญการ นางสาวนพมาศ กุลรัตน ์ นักวิชาการแรงงาน นางสาวทพิ วลั ย์ พิบลู ศิลป ์ นักวชิ าการแรงงาน   208 กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 209

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 210 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 211

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 212 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 213

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 214 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 215

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 216 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 217

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 218 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 219

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 220 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 221

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 222 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 223

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 224 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 225

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 226 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 227

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 228 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 229

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 230 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

คูม่ ือการบรหิ ารงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 231

ค่มู ือการบรหิ ารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safe work Safe life for SMEs) บนั ทกึ 232 กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน