Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2562

รายงานประจำปี 2562

Published by Ratchaneekorn Rynthamath, 2021-08-05 08:51:02

Description: รายงานประจำปี 2562

Search

Read the Text Version

รายงานประจาปี MO P H Mastery Originality People centered Humility เป็นนายตนเอง เร่งสรา้ งสงิ่ ใหม่ ใส่ใจประชาชน ถ่อมตนอ่อนนอ้ ม ANNUAL REPORT 2562|2019

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานขององคก์ ร Page | 2 ความเปน็ มาขององคก์ ร หน้า แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาล ทาเนียบผบู้ รหิ าร 4 อัตรากาลงั 5 โครงสร้างตามภารกจิ 22 สถานะสุขภาพ 23 25 สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนนิ งานขององคก์ ร 26 สถิตดิ า้ นการรกั ษาพยาบาล 30 งบการเงนิ 34 สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามตวั ช้ีวัด 38 สว่ นท่ี 3 ผลงานสาคญั ขององคก์ ร 43 ผลงานทางวิชาการ

Page | 3 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานขององคก์ ร

Page | 4 ท่านเจา้ คุณพระสังวรกิจโกศล เจ้าอาวาสวดั หนองโวง้ จงั หวดั สวรรคโลก คิดตง้ั โรงพยาบาลขน้ึ เน่อื งจาก “ท่านเคยป่วยมาก่อน มีความสงสารประชาชนท่ีเจ็บป่วย ไม่รู้ว่าจะไปพ่ึงใครได้ คนยากจนจะได้รับการรักษาบ้างก่อน ตายหรือรอดชีวิต โรงพยาบาลและหมอเท่านั้นเป็นท่ีพ่ึงพิงในยามเจ็บป่วยและให้กาลังใจกับพ่ีน้องคนยากจน ความ เมตตาต่อบุคคลอื่นท่ีด้อยโอกาสในสมัยน้ันได้รู้จักโรงพยาบาลเป็นท่ีพ่ึงพิงได้” ท่านเจ้าคุณพระสังวรกิจโกศลผู้ริเร่ิม จึง ร่วมกับพ่อค้าประชาชน สร้างโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยข้ึน เม่ือสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วจึงส่งมอบให้กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขรบั ไปดาเนินการใหบ้ รกิ ารประชาชน โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยเดิมเป็นโรงพยาบาลประจาจังหวัดสโุ ขทัย ตั้งแต่ พ.ศ.2491-2506 เป็นเวลา 15 ปี เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของจังหวัดสุโขทัย และเป็นโรงพยาบาลแห่งท่ี 3 ในเขตสุขภาพท่ี 2 ต่อมาจังหวัด สุโขทัยเห็นสมควรให้โรงพยาบาลประจาจังหวัดตั้งอยู่ที่อาเภอเมือง เนื่องจากเป็นศูนย์กลางของหน่วยราชการ จึงได้ สร้างโรงพยาบาลสุโขทัยข้ึน โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยได้เปิดทาการรักษาพยาบาลคร้ังแรกเม่ือวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2491 ปัจจบุ ันเปน็ โรงพยาบาลทว่ั ไป ขนาด 307 เตยี ง มีเน้ือท่ี 50 ไร่ 22.4 ตารางวา จงั หวัดสุโขทัยมโี รงพยาบาล ท่ัวไป 2 แห่ง โดยโรงพยาบาลสุโขทัยดูแล 4 อาเภอ ประชากร 274,517 คน (ร้อยละ 46) และโรงพยาบาลศรีสังวร สุโขทัยดูแล 5 อาเภอ ประชากร 325,518 คน (รอ้ ยละ 54) เป็นโรงพยาบาลหลกั ในการรับส่งต่อภายในจังหวัดสุโขทัย โดยเฉพาะศัลยกรรมและอุบัติเหตุ ปัจจุบันมีแพทย์ 49 คน มีแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา สามารถทาการรักษา ผ้ปู ว่ ยทมี่ ีความยงุ่ ยากซบั ซอ้ น เป็นแหลง่ ผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และโรงพยาบาลไม่มีวกิ ฤตกิ ารเงนิ การดาเนินกิจการของโรงพยาบาลก่อนเข้าระบบหลกั ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) มีผลประกอบการที่ ดี มีเงินบารุงคงเหลือเกินกว่า 100 ล้านบาท หลังจากเข้าระบบ UC เมื่อปีงบประมาณ 2545 เงินบารุงเริ่มลดลง ตามลาดับ จนเกิดวิกฤติทางการเงิน คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล ได้กาหนดวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ เพื่อประ โยชน์ต่อองค์กร การบริหารจัดการ และเอื้อประโยชน์ต่อบุคลากรของโรงพยาบาล ปรับเปล่ียนระบบให้มีความ คล่องตัว สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) และสามารถแก้ไขวิกฤติทางการ เงินไดต้ ้งั แตป่ ี 2558 เปน็ ต้นมา โรงพยาบาลได้ดาเนนิ การมีผลงานก้าวหน้าเปน็ ไปตามแผนยุทธศาสตร์ เป็นที่พอใจของผู้รบั บริการ และ โรงพยาบาลได้พัฒนาเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางการแพทย์ให้ทันสมัย เสาะแสวงหาแพทย์เฉพาะทางท่ีมีความสามารถ ให้ ทุนการศึกษาแก่บุคลากรทางการแพทย์ ทาเครือข่ายกับโรงพยาบาลต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมศักยภาพ พัฒนาระบบบัญชี การเงิน พัสดุ และการตรวจสอบภายใน ตัง้ PCU (Primary Care Unit) ในพ้นื ท่ี พร้อมทัง้ พัฒนาบคุ ลากรของโรงพยาบาลให้มี คุณภาพ คณุ ธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้ เพ่อื เป็นทรัพยากรบคุ คลท่ีมีคุณค่า ตอ่ ไป

Page | 5 ท่านเจา้ คณุ พระสังวรกิจโกศล เจา้ อาวาสวัดหนองโวง้ จังหวดั สวรรคโลก คดิ ตง้ั โรงพยาบาลขึน้ เนือ่ งจาก “ท่านเคยป่วยมาก่อน มีความสงสารประชาชนท่ีเจ็บป่วย ไม่รู้ว่าจะไปพ่ึงใครได้ คนยากจนจะได้รับการรักษาบ้างกอ่ น ตายหรือรอดชีวิต โรงพยาบาลและหมอเท่านั้นเป็นท่ีพึ่งพิงในยามเจ็บป่วยและให้กาลังใจกับพี่น้องคนยากจน ความ เมตตาตอ่ บุคคลอ่ืนที่ด้อยโอกาสในสมัยนนั้ ได้รจู้ ักโรงพยาบาลเปน็ ท่ีพ่ึงพิงได้” ทา่ นเจ้าคุณพระสังวรกจิ โกศลผู้ริเร่ิม จึง ร่วมกับพ่อค้าประชาชน สร้างโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยข้ึน เม่ือสร้างเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้วจงึ สง่ มอบให้กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขรับไปดาเนินการใหบ้ ริการประชาชน โรงพยาบาลศรีสงั วรสุโขทัยเปดิ ทาการรกั ษาพยาบาลครั้งแรกเม่ือวันท่ี 17 กันยายน พ.ศ. 2491 มอี าคาร รกั ษาพยาบาลคนไข้ 2 หลัง รองรบั เตยี งได้ 50 เตียง มแี พทย์ประจา 1 คน ปจั จบุ นั เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 307 เตียง สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งอยู่ท่ีตัวอาเภอศรีสาโรง จังหวัดสุโขทัย ห่างจากจังหวัดสุโขทัยไป ทางทศิ เหนือ ตามถนนจรดวิถถี อ่ ง (ทางหลวงหมายเลข 101) 20 กิโลเมตร มีเนื้อท่ี 50 ไร่ 22.4 ตารางวา การดาเนินกิจการของโรงพยาบาลก่อนเข้าระบบหลกั ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) มีผลประกอบการท่ี ดี มีเงินบารุงคงเหลือเกินกว่า 100 ล้านบาท หลังจากเข้าระบบ UC เมื่อปีงบประมาณ 2545 เงินบารุงเร่ิมลดลง ตามลาดับ จนเกิดวิกฤติทางการเงิน คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล ได้กาหนดวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ เพื่อ ประโยชน์ต่อองค์กร การบริหารจัดการ และเอื้อประโยชน์ต่อบุคลากรของโรงพยาบาล ปรับเปลี่ยนระบบให้มีความ คล่องตัว สามารถเพิ่มประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) และสามารถแก้ไขวิกฤติทางการ เงนิ ได้ตั้งแตป่ ี 2558 เป็นต้นมา สถานการณ์ การดาเนนิ กิจการของโรงพยาบาลศรีสังวรสโุ ขทัยก่อนเขา้ ระบบหลักประกันสุขภาพถว้ นหน้า (UC) มผี ล ประกอบการท่ีดี มีเงินบารุงคงเหลือเกินกว่า 100 ล้านบาท หลังจากเข้าระบบ UC เมื่อปีงบประมาณ 2545 เงินบารุง เร่ิมลดลงตามลาดับ จนเกดิ วกิ ฤตทิ างการเงนิ เนอื่ งจาก 1. เงินเหมาจ่ายรายหัวน้อยจากการมีประชากรสิทธิ UC น้อย ปี 2551 สปสช.แจ้งว่าผลงานลดลงต้อง ถูกหักเงิน โดยนามาหักในปี 2552 รวมเป็นเงิน 16,463,567.65 บาท ทาใหเ้ กดิ วกิ ฤตทิ างการเงนิ 2. การรับ Refer ผู้ป่วยนอกจากโรงพยาบาลนอก CUP ในจังหวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย ปรับวธิ ีการกรณีรบั Refer ผ้ปู ว่ ยนอกในโซนเหนอื ใหจ้ า่ ยลว่ งหน้า แล้วหกั ยอดคา่ รักษาพยาบาลดว้ ยราคาทนุ (ยาราคา ทนุ อน่ื ๆ รอ้ ยละ 80 ของราคาขาย รพ.ไดร้ ับชาระหนีต้ ามจา่ ยประมาณร้อยละ 45-50) โรงพยาบาลศรสี งั วรสโุ ขทัยยัง ต้องตัดหนี้สูญการตามจ่ายให้กับโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดสุโขทัย ช่วง 5-6 ปี ที่ผ่านมากว่า 20 ล้านบาท แต่ในปี 2557 รพ.ตอ้ งเรียกเก็บเอง 3. ค่าแรงจากการจ้างลูกจ้างช่ัวคราวสูง และมีนโยบายควบคุมอัตรากาลังและจ้างเพ่ิมเฉพาะการจ้าง ลูกจ้างชวั่ คราวนกั เรียนทุนพยาบาล เพื่อทดแทนอตั รากาลงั ของขา้ ราชการ

Page | 6 4. การจ่ายค่าตอบแทนฯ (ฉบับ 7, 9) เริ่มจ่ายต้ังแต่ปี 2552 - มี.ค. 2556 ในปี 2557 คณะกรรมการ บริหาร รพ.ได้ตดั คา่ ตอบแทนออกจากระบบบัญชรี วม 26,207,890.24 บาท แก้วิกฤตกิ ารเงนิ จากระดบั 7 เป็นระดบั 1 กระบวนการ 1. รพ.เพิ่มรายได้ ทง้ั ส้ิน 279,300.00 บาท 2. ดาเนนิ การต่อเนือ่ ง ในเร่อื ง (1) พฒั นาระบบบญั ชี (2) เพิม่ ศักยภาพการรักษาและผ่าตัด case ยุ่งยาก ซบั ซ้อน (3) Audit chart ครบถ้วน (4) ควบคมุ ตน้ ทนุ 3. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล และคณะกรรมการ CFO แก้ปัญหาดา้ นการเงนิ การคลัง สรุปแผนธุรกจิ (Business Plan) ปี งบประมาณ 2562 ตารางท่ี 1 สรุปแผนธรุ กิจ (Business Plan) ปงี บประมาณ 2562 ลาดบั แผนงาน โครงการ ผลประโยชน์ กาไร (บาท) เพิม่ รายรับ 1 โครงการตรวจวดั ความหนาแน่นมวลกระดูก 435,000.00 279,300.00 2 โครงการตรวจสุขภาพประจาปี เพ่ือคัดกรองภาวะสขุ ภาพ 332,000.00 0.00 (ทันตสขุ ภาพ) 767,000.00 279,300.00 ผลรวม 300,000.00 อย่รู ะหวา่ งดาเนนิ การ ลดรายจ่าย 1 1.1 ระบบผลติ ไฟฟ้าจากแสงอาทติ ย์บนหลังคา ขนาดไมต่ า่ กวา่ ต่อเน่อื งในปี 2563 200 กิโลวตั ต์ จานวน 1 ระบบ 300,000.00 0.00 1.2 การใชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศชดุ ใหม่แบบ VRV/VRF ทดแทนชุดเดิม ผลรวม 0.00 0.00 0.00 0.00 อุดรรู ัว่ 0.00 0.00 1 ติดตาม ควบคุมกากับ รายรับ-รายจา่ ยตาม Planfin 2 การพัฒนาระบบจดั ทาแผนงาน/โครงการ 1,067,000.00 279,300.00 ผลรวม รวมทั้งส้ิน เพมิ่ รายรับ + ลดรายจา่ ย + อุดรูรั่ว

Page | 7 ตารางที่ 2 แสดงประสทิ ธิภาพในการใหบ้ รกิ ารของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ในปีงบประมาณ 2556-2562 รายการ 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 1. OPD Visit (บาท) 664.98 717.92 744.18 684.92 694.83 724.89 739.70 2. IPD RW (บาท) 12,394.25 12,862.28 14,290.79 13,611.86 13,579.08 12,991.84 13,745.16 3. CMI (RW/ราย) 1.2893 1.3438 1.3219 1.4110 1.4367 1.4668 1.4902 ผลลพั ธ์ การบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index : FAI) โรงพยาบาลบริหาร การเงินการคลงั อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมคี ะแนนระดับความสาเร็จในการบรหิ ารจัดการการเงนิ การคลัง (มี 5 ระดับ) ประกอบด้วย 4 ข้อ ดังนี้ 1. การพัฒนาคุณภาพบญั ชี (Accounting Audit: AC) ไดผ้ ลลัพธ์ระดับ 5 2. การพฒั นาการนาข้อมูลการเงินหน่วยบรกิ ารเขา้ ระบบ GFMIS ไดผ้ ลลัพธ์ระดับ 5 3. การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารการเงนิ การคลัง (Financial Management: FM) ได้ผลลพั ธ์ระดับ 5 4. การบริหารต้นทุนอย่างมีประสทิ ธิภาพ (Unit Cost: UC) ไดผ้ ลลพั ธ์ระดบั 5 ตารางที่ 3 วเิ คราะหร์ ะดับวิกฤตทิ างการเงิน (ไม่รวมงบลงทนุ ) ตามเกณฑ์ความเสี่ยง 7 ระดับ Financial Risk 30 ก.ย.2557 30 ก.ย.2558 30 ก.ย.2559 30 ก.ย.2560 30 ก.ย.2561 30 ก.ย.2562 Surveillance score 1. สภาพคล่อง 1 1.41 1.44 1.46 1.72 2.20 2.93 1.1 CR < 1.5 1 1.27 1.31 1.37 1.61 2.07 2.54 1.2 QR < 1 1 0.83 0.96 0.98 1.01 1.61 1.73 1.3 Cash R < 0.8 1 36,071,154.53 45,459,305.15 57,495,529.09 85,441,615.63 130,265,001.76 164,798,725.18 2. ความมน่ั คง 1 21,406,273.89 6,206,784.89 13,590,574.94 23,244,649.50 6,646,802.32 17,333,815.89 2.1 NWC<0ลา้ นบาท 2.2 NI<0ล้านบาท 2 >3 >3 >3 >3 >3 >3 1 >6 >6 >6 >6 >6 >6 3. เข้าส่ปู ัญหา 120 0 0 3.1 NWC/ANI<3 ด. 1 3.2 NWC/ANI<6 ด. ระดบั วกิ ฤติ

Page | 8 โรงพยาบาลได้ดาเนนิ การมผี ลงานก้าวหน้าเปน็ ไปตามแผนยุทธศาสตร์ เป็นที่พอใจของผู้รับบริการ และ โรงพยาบาลได้พัฒนาเครื่องมือเครื่องใชท้ างการแพทย์ให้ทันสมัย เสาะแสวงหาแพทย์เฉพาะทางท่ีมีความสามารถ ให้ ทุนการศึกษาแก่บุคลากรทางการแพทย์ ทาเครือข่ายกับโรงพยาบาลต่าง ๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพ พัฒนาระบบบัญชี การเงิน พัสดุ และการตรวจสอบภายใน ตั้ง PCU (Primary Care Unit) ในพ้ืนที่ พร้อมท้ังพัฒนาบุคลากรของ โรงพยาบาลให้มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อเป็น ทรัพยากรบุคคลท่มี ีคณุ ค่าต่อไป ในปี 2561 นายอายุส ภมะราภา ผู้อานวยการโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ดาริจัดทาแผนยุทธศาสตร์ โดยแตง่ ตัง้ คณะกรรมการจดั ทาแผนยุทธศาสตรโ์ รงพยาบาล และได้ประชุมจดั ทาแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลศรีสังวร สุโขทัย ครั้งที่ 1-5/2561 เม่ือวันที่ 15, 21, 28 กุมภาพันธ์ และวันที่ 12, 21 มีนาคม 2561 และเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2561 คณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ปี 2561-2565 โดยมเี ปา้ ประสงค์ คอื 1) สง่ เสริมสขุ ภาพ ประชาชนปลอดภยั 2) บรกิ ารสุขภาพมมี าตรฐาน และผู้ป่วยปลอดภัย 3) บคุ ลากรมศี กั ยภาพ และมคี วามสุข 4) ระบบงานมีประสทิ ธภิ าพ

Page | 9 ภาพท่ี 1 แผนยุทธศาสตรโ์ รงพยาบาลศรสี งั วรสโุ ขทัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565

P a g e | 10 กลยุทธโ์ รงพยาบาลศรสี งั วรสโุ ขทยั ปี งบประมาณ 2562-2565 ตารางที่ 4 แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลศรสี งั วรสโุ ขทยั ปีงบประมาณ 2562-2565 ปีทเ่ี ร่มิ ปที ่สี าเรจ็ เรอ่ื ง ผ้รู ับผดิ ชอบ ปี 2562 2563 1 LTC-ผูพ้ ิการ ครบวงจร นพ.สนุ ทร/พญ.สภุ ัททา ปี 2562 2563 2 ศนู ยอ์ บุ ตั ิเหตุ-Surgery node-One day Surgery นพ.พรชัย ปี 2562 2562 3 ศูนยไ์ ตเทยี ม พญ.วารี ปี 2562 2562 4 3S-Safety (Sepsis-STROKE-STEMI) นพ.ธงชัย ปี 2562 2562 5 ศนู ย์ Harvest(รว่ มกับ รพ.พุทธชินราชฯ) นพ.วรวิทย์ ปี 2562 2562 6 แผนไทยต้นแบบ พญ.สภุ ัททา ปี 2562 2563 7 Smart Hospital นพ.นาชยั ปี 2562 2562 8 Green & Clean Hospital ระดบั ดีมาก คุณสุนทรี ปี 2563 2563 9 ดแู ลสุขภาพผู้ประกอบอาชพี นพ.คณิน ปี 2562 2563 10 บูรณาการ NCD เชิงรุก นพ.สนุ ทร/พญ.ศริ ิวรรณ ปี 2562 2563 11 ส่งเสรมิ เป็นแหล่งฝึกศูนยก์ ารแพทย์ นพ.สุนทร ปี 2562 2563 12 สร้างแบรนด์ M-premium ของ รพ. นพ.เกตุ ปี 2562 2563 13 พฒั นาระบบจัดซือ้ จดั จ้าง นพ.วารนิ ทร์ ปี 2562 2562 14 พฒั นาระบบจัดทาแผนงาน/โครงการ นพ.นาชัย ปี 2562 2563 15 บริหารและพฒั นาทรัพยากรบุคคล นพ.วิวัฒน/์ คุณสุนทรี ที่มา : กล่มุ งานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ

P a g e | 11 1) LTC-ผู้พกิ าร ครบวงจร อาเภอศรีสาโรงได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว จานวนผู้สูงอายุ (มากกว่า 60 ปี) ท้ังหมดในอาเภอศรีสาโรง จานวน 12,189 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 17.08 ของประชากรกลางปี (71,359 ราย) ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ท่ี 1 ผสู้ งู อายุทีพ่ งึ่ ตนเองได้ (ติดสังคม) มจี านวน 11,381 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 93.37 ผู้สูงอายกุ ลุ่มท่ี 2 ผู้สงู อายทุ ่ีดูแลตนเองไดบ้ า้ ง (ติดบา้ น) มีจานวน 659 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.41 ผูส้ งู อายุกลมุ่ ท่ี 3 ผสู้ ูงอายกุ ลมุ่ ทพ่ี ึ่งตนเองไม่ได้ (ติดเตยี ง) มีจานวน 149 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.22 จากข้อมูลผู้สูงอายุพบว่ามีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคและปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 24.32 ความเส่ียงต่อ โรคเบาหวาน ร้อยละ 37.74 ความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 33.37 ความเส่ียงโรคหัวใจและหลอดเลือด สมอง ร้อยละ 3.88 พบปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับการเคี้ยว/กลืนอาหาร ผู้สูงอายุต้องอยู่บ้านตามลาพังไม่มีคนคอยดูแล เน่อื งจากญาตติ ้องออกไปทางาน อาเภอศรีสาโรงเริ่มมีการดาเนินงาน LTC ในปีงบประมาณ 2559 โดยมีตาบลทับผึ้งเป็นพื้นท่ีนาร่อง ตาบลแรก ในปีงบประมาณ 2561 มีตาบลสมัครเข้าร่วมดาเนินการครบทุกตาบลได้แก่ตาบลคลองตาล ตาบลวังลึก ตาบลสามเรือน ตาบลบ้านนา ตาบลนาขุนไกร ตาบลวัดเกาะ ตาบลวังใหญ่ ตาบลบ้านไร่ ตาบลเกาะตาเลี้ยง ตาบล บ้านซ่าน ตาบลวังทอง และตาบลราวต้นจันทน์ รวมเป็น 13 ตาบล ได้รับการประเมินระบบ Long Term Care ผ่าน เกณฑท์ ัง้ 13 ตาบล ครบรอ้ ยละ 100 ซง่ึ ได้ดาเนนิ การส่งเจ้าหน้าท่ีอบรม CM (มี 27 คน) และจัดอบรม CG เรยี บร้อย แล้ว (มี 125 คน) และได้มีการจัดทา Care Plan ท้ังส้ิน 197 ฉบับ ในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงท่ี เขา้ เกณฑ์ LTC ทุกราย ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทาให้ ข้อเสนอแนะ การดาเนินงานไมบ่ รรลวุ ัตถุประสงค์ ความร่วมมือจากอปท.และข้อตดิ ขดั เร่อื งตคี วามระเบยี บ ความชัดเจนในเรื่องระเบยี บการเบิกจา่ ยงบประมาณ การเบกิ จ่ายงบประมาณในโครงการ LTC ทาให้ อปท. LTC ลังเลในการปฏิบตั ิตามโครงการ LTC 2) ศูนยอ์ ุ บัติเหตุ-Surgery node-One day Surgery รพ.ศรีสังวรสุโขทัย ผ่านการประเมินเพ่ือเข้าร่วมโครงการดาเนิน ได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการ ดาเนินการพัฒนาระบบบริการแล้ว มีการกาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน แบบฟอร์มต่าง ๆ ตามข้อเสนอแนะมี Case Manager และศนู ยป์ ระสานงาน ทีห่ ้องตรวจพเิ ศษ เร่ิมดาเนินการต้ังแตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2561 ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทาให้ ขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ ระบบการจา่ ยเงนิ จาก สปสช สู่สถานบริการ ไม่เปน็ ไป จ่ายเงินกรณี ODS ตามข้อตกลง ตามทต่ี กลง

P a g e | 12 3) ศนู ยไ์ ตเทียม สถิติ 3 ปีย้อนหลังมีผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง (CKD) ระยะ 3, 4, 5 มีจานวนเพิ่มมากข้ึน ผู้ป่วยกลุ่มโรคไต เรื้อรังยังไม่ไดร้ ับความรู้ที่เพียงพอเกย่ี วกับการดาเนินของโรคและวิธีปฏิบัตติ ัวท่ีถูกต้องหรือได้รับความรู้แล้วแต่ไม่ค่อย ใสใ่ จในการปฏบิ ัติตัวทถ่ี ูกต้องและมคี า่ นยิ มความเช่ือในการรบั ประทานอาหารและยาตามสงั คมในชมุ ชน ตารางที่ 5 สถิติ 3 ปยี อ้ นหลงั มีผปู้ ว่ ยโรคไตเรอ้ื รัง (CKD) ระยะ 3, 4, 5 ปี พ.ศ. 2559 - 2562 หนว่ ยงาน 2559 ระยะโรค CKD 5 2562 3 45 2560 2561 3 45 ศรสี ังวรสุโขทัย 3 453 4 สวรรคโลก ศรีสชั นาลยั 931 341 83 1,243 351 125 956 393 125 835 410 130 ศรนี คร 642 135 29 635 177 77 625 185 75 699 182 60 ทงุ่ เสลย่ี ม 1,468 217 68 1,711 238 102 1478 239 93 1,445 182 60 672 90 12 544 79 22 502 81 23 419 90 31 รวม 205 55 7 744 185 56 734 215 63 707 221 38 3,918 838 199 4,877 1,030 382 4,295 1,113 379 4,105 1,085 319 ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจยั ที่ทาให้ ข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งานไมบ่ รรลวุ ัตถุประสงค์ - กระตุ้น รพช.ในเขตโซนเหนือทาใหเ้ กิด CKD Clinic - ความรู้ความเขา้ ใจในการปฏบิ ัติตวั ทีถ่ กู ต้องในการ คณุ ภาพมากที่สดุ ป้องกนั และชะลอไตเสื่อมของผปู้ ว่ ยและครอบครัว - อบรมกระตุ้นบทบาทเครือข่ายสาธารณสุขในชมุ ชน - ค่านยิ มในการรับประทานอาหารและยา เพอ่ื ช่วยเหลือดา้ นการป้องกันและชะลอไตเส่ือม - ชมุ ชนส่วนใหญเ่ ป็นสงั คมเกษตรกรรมมีความรู้ไมส่ งู (รว่ มกับ วสค.) มากและไม่คอ่ ยใสใ่ จในการดุแลสุขภาพ -ประชุมเครือขา่ ยในการคัดกรองผู้ปว่ ย CKD และการสง่ - การลงขอ้ มลู ไม่ครบถ้วนและลงไม่ถูกต้อง ต่อการรักษาให้เปน็ แนวเดียวกัน -ประชมุ ร่วมกนั กบั ผู้ลงขอ้ มูลและผสู้ ่งขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง กับตัวช้ีวดั ชะลอไตเส่ือม เพือ่ ทาความเข้าใจให้ตรงกัน ช่วยกนั แก้ปัญหาเพ่ือให้เกดิ การลงขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง และ สง่ ข้อมลู ให้ถกู ต้องครบถว้ น

P a g e | 13 4) 3S-Safety (Sepsis-STROKE-STEMI) Sepsis เป็นสาเหตกุ ารเสียชวี ติ อันดบั 1 ใน 3 ของโรงพยาบาลศรสี งั วรสุโขทยั ทุกปี โดยในปี พ.ศ. 2559 -2562 พบอัตราตายร้อยละ 55.1, 45.71, 50.0และ 52.51 ตามลาดับ โดยผู้ป่วย Septic shock และมีโรคเร้ือรงั รว่ ม ด้วย มีอัตราตายสูงและมักเสียชีวิตภายใน 24-48 ช่ัวโมง การเข้าถึงบริการและความรวดเร็วในการให้บริการร่วมกับ การตัดสินใจเพ่ือการรักษาเป็นสิ่งสาคัญ โดยเฉพาะการ Early detection, Early treatment และ Early resuscitation ภายใน 1 ชั่วโมงและการเฝา้ ระวังติดตามอาการเปล่ยี นแปลง ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาให้ ข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งานไมบ่ รรลวุ ตั ถุประสงค์ - มีแพทยใ์ ช้ทนุ หมุนเวียนทุกปี ทาใหก้ ารดูแลไมต่ ่อเน่ือง - เพ่มิ ศกั ยภาพบุคลากรในการดแู ลผู้ป่วยติดเช้อื ใน - ขาดความมั่นใจในการ Resuscitate Fluid ให้ไดต้ าม กระแสเลือด เป้าหมาย - การปฏบิ ตั ิตาม Sepsis guideline 2018 ในการ - ผ้ปู ่วยท่วี นิ ิจฉยั ว่าติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรนุ แรง Resuscitation ตาม 6 Bundle ภายใน 1 ช.ม. ได้รบั การดูแลเบือ้ งต้นใน ICU นอ้ ย - ใหค้ า่ ตอบแทนเพิ่มในChartทว่ี นิ ิจฉยั วา่ ตดิ เชอ้ื ใน - การวนิ จิ ฉยั สรปุ chart ไมต่ รงตาม Definition ของ กระแสเลือดแบบรุนแรง และไดร้ บั การดูแลรักษาจน Severe sepsis, Septic shock ซ่ึงอาจไมใ่ ช่อตั ราตาย ปลอดภัยกลบั บ้าน ท่แี ท้จริง STROKE ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มีจานวนเพิ่มขึ้น ซ่ึงในปี 2559-2561 มีผู้ป่วยเข้ารับการรักษา 569, 615 และ 590 ราย ตามลาดับ อัตราตายร้อยละ 12.48, 13.33 และ 11.02 ตามลาดับ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองชนดิ หลอดเลือดสมองแตกมีอัตราตายมากกว่าชนิดหลอดเลือดสมองตีบอุดตัน ผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบอุด ตันเฉียบพลันการรักษาที่สาคัญได้แก่การให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดา ซ่ึงโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยได้ พัฒนาระบบ Stroke fast track และสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ตลอด 24 ช่ัวโมง อย่างไรก็ตามอัตราการได้รับ ยายังค่อนข้างน้อยเน่ืองจากมีความล่าช้าในการเข้าถึงบริการ ซึ่งสาเหตุที่พบมากท่ีสุดคือผู้ป่วยและญาติขาดความรู้ เกี่ยวกับโรคหลอดเลอื ดสมองและสญั ญาณอนั ตรายท่จี ะต้องรบี มาโรงพยาบาล STEMI ปี พ.ศ. 2562 โรงพยาบาลตั้งแต่ F2 สามารถให้ยา SK ได้จริงครบทุกโรงพยาบาล อัตราตายมี แนวโน้มลดลง น้อยกว่าร้อย10 ผู้ป่วยหลังได้ยาละลายลิ่มเลือด (SK) หลอดเลือดหัวใจไม่เปดิ ต้องส่งต่อไปทา Rescue PCI รพศ. ร้อยละ 42 ยงั พบปัญหาผปู้ ่วยมาโรงพยาบาลล่าช้า ทาให้ไม่ได้รบั ยา SK ร้อยละ 6.8 ปัญหา/อปุ สรรค/ปจั จยั ทที่ าให้การดาเนนิ งานไมบ่ รรลุวัตถุประสงค์ ไม่มีอายุรแพทย์โรคหัวใจ ทีมงานไม่สามารถดาเนินการ พัฒนางานได้อย่างเต็มที่เนื่องจากมีภาระงาน หลักที่ต้องทา รวมถึงขาดการบูรณาการเชื่อมโยงกับหน่วยปฐมภูมิ ขาดการส่งเสริมและป้องกันโรคอย่างจริงจังทาให้ ผู้ป่วยกลุ่มเสย่ี งเกิดโรคและมีอาการรุนแรงจนเกิดภาวะแทรกซ้อนและเสยี ชวี ติ

P a g e | 14 5) ศูนย์ Harvest (รว่ มกบั รพ.พุ ทธชินราชฯ) การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นทางเลือกสุดท้ายในการรักษาผู้ป่วยอวัยวะสาคัญล้มเหลวระยะสุดท้ายให้มีชีวิต รอด เช่น การปลูกถ่ายหัวใจ การปลูกถ่ายตบั เป็นต้น อัตรารอดชีวิตของผปู้ ่วยหลังการปลกู ถ่ายอวัยวะสูงขน้ึ ผู้ป่วยมี คุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ทางานหาเลี้ยงชีพได้ ลดค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลลงได้ในระยะยาว ปัญหาในปัจจุบันคือ มีผู้ บริจาคอวัยวะน้อย จากสถิติผู้บริจาคอวัยวะผู้เสียชีวิตสมองตายของประเทศไทยมีเพียง 4.5 คน/ล้านประชากร ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากภาวะสมองตายจานวนมากที่สามารถเป็นผู้บริจาคอวัยวะได้อีกมากกว่า 10 เท่า สถิติผู้ บริจาคอวัยวะสมองตายของศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย ปี 2561 มีผู้บริจาคอวัยวะสมองตายท่ีทาผ่าตัดนา อวัยวะไปใช้ประโยชน์ได้ จานวน 261 ราย สามารถนาอวัยวะไปปลกู ถ่ายใหผ้ ู้ปว่ ยจานวนทั้งสิ้น 585 ราย ในขณะที่มี จานวนผู้รออวัยวะทุกประเภทรวมท้ังหมด 6,401 ราย พบว่าปีน้ีมีผู้แสดงความจานงบริจาคอวัยวะมากที่สุดตั้งแตเ่ ริ่ม ดาเนินการมา โดยมีผู้แสดงความจานงบริจาคอวัยวะขณะมีชีวิตถึง 100,014 คน และกระทรวงสาธารณสุขได้เร่งให้ ค้นหาผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สมองตายให้เพิ่มจานวนการบริจาคอวัยวะให้มากขึ้น โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยจึงได้ตั้งศูนย์ รับบริจาคอวยั วะข้นึ และไดพ้ ยายามเจรจาขอรบั บริจาคอวยั วะ ปี 2562 (ต.ค. 61-ม.ิ ย. 62) โรงพยาบาลศรีสงั วรสโุ ขทัย มีผลงานการจดั เก็บอวยั วะและดวงตา ผ่าน KPI ดงั นี้ - อวยั วะ เกณฑ์ 0.8/100 Hospital Dead ผลงาน 0.52/100 Hospital Dead ไม่ผ่านเกณฑ์ - ดวงตา เกณฑ์ 1.3/100 Hospital Dead ผลงาน 2.07/100 Hospital Dead ผ่านเกณฑ์ ปี 2562 (ต.ค. 61-ม.ิ ย. 62) ภาพรวมจังหวัดสุโขทยั มีผลงานการจัดเกบ็ อวัยวะและดวงตา ผ่าน KPI ดงั นี้ - อวยั วะ เกณฑ์ 0.8/100 Hospital Dead ผลงาน 0.25/100 Hospital Dead ไม่ผ่านเกณฑ์ - ดวงตา เกณฑ์ 1.3/100 Hospital Dead ผลงาน 1.33/100 Hospital Dead ผา่ นเกณฑ์ ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาให้ ข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งานไม่บรรลวุ ัตถุประสงค์ 1. ไม่ได้รับการสนับสนุนในเรอ่ื งอัตรากาลงั คนกรณีมีการ 1. เพ่ิมค่าตอบแทนเป็นค่า OT นอกเวลาราชการ และ เกบ็ อวัยวะนอกเวลาราชการ จัดเพิ่มคะแนน P4P ในเวลาราชการเพ่ือเพ่ิมกาลังใจ 2. ญาติผู้เสียชีวิตจากสมองตายส่วนใหญ่ยังมีความเชื่อ ในการทางาน เร่ืองการเกิดใหม่ หากบริจาคอวัยวะกลัวชาติหน้าจะ 2. ให้กระทรวงสาธารณสุขรณรงค์ประชาสัมพันธ์เร่ือง มอี วัยวะไมค่ รบ ก า ร บ ริ จ า ค แ ล ะ ป ลู ก ถ่ า ย อ วั ย ว ะ ใ ห้ เ พ่ิ ม ม า ก ก ว่ า ปั จ จุ บั น เ พ่ื อ ใ ห้ ค น ไ ท ย มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ด้ า น วชิ าการมากขนึ้

P a g e | 15 6) แผนไทยตน้ แบบ ประเด็นสาคัญทีเ่ ป็นความเส่ียงต่อการทาให้การขับเคลอ่ื นนโยบาย 1. การเข้าถึงบริบทการแพทย์แผนไทยยังไม่ทั่วถึง นโยบายเปล่ียนแปลงตามปีงบประมาณทาให้เกิด ความล่าชา้ ในการคดิ แนวทางเพ่อื พฒั นางานให้ไดต้ ามเป้าหมายท่ีกาหนด 2. ประชาชน และสหวิชาชีพขาดความรู้ ความเข้าใจในวชิ าชีพแพทยแ์ ผนไทย 3. อตั รากาลังผูช้ ่วยแพทยแ์ ผนไทยไมเ่ พยี งพอต่อการใหบ้ รกิ ารผปู้ ่วย 4. ขาดทักษะ และประสบการณด์ า้ นการศึกษาวจิ ัยในงานการแพทย์แผนไทยยังไม่หลากหลาย 5. บุคลากรของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจในการสั่งจ่ายยาสมุนไพร 6. สหวชิ ชีพยังขาดความรู้ ความเขา้ ใจข้นั ตอนการรกั ษา และการส่งต่อการรักษาดา้ นการแพทย์แผนไทย ไมเ่ ป็นทีย่ อมรับทาให้การแพทย์แผนไทยยงั อยู่ในขอบเขตจากดั ในการรักษาผู้ป่วย 7. ราคายาสมุนไพรราคาแพง รปู แบบยังไมท่ ันสมยั 8. บรบิ ทพืน้ ท่ีแตกตา่ งกนั จึงทาใหก้ ารพฒั นาค่อนข้างลา่ ช้า ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาให้ ขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ 1. รพ.สต ไม่มบี ุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยที่ 1. จัดอบรมบคุ ลากรทางด้านสาธารณสขุ ในการสั่งรักษา เพียงพอ ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย เพิ่มตาแหน่งแพทยแ์ ผนไทย ใหม้ ากขึน้ 2. การสั่งจา่ ยยาสมนุ ไพรยังน้อยกว่าเกณฑ์ทกี่ าหนด 2. อบรมใชย้ าสมนุ ไพรเปน็ ยาสามญั ประจาบา้ นแทนการ ใช้ยาแผนปจั จุบัน 3. ยาสมนุ ไพรราคาแพง ประชาชนไมร่ ู้จัก ไม่แพร่หลาย 3. จดั รายการยาสมุนไพรใหก้ ับรพ.สต.โดยมจี านวนตาม ในประชากรสว่ นใหญใ่ นอาเภอศรีสาโรง ความเหมาะสมในพืน้ ที่ 4. การเช่อื มโยงเครือข่ายในอาเภอศรีสาโรงไม่ตอ่ เนื่อง 4. มกี ารเชือ่ มโยงเครอื ข่ายในอาเภอศรสี าโรงโดยตดิ ตาม งานนิเทศงาน ปลี ะ 4 ครงั้ เพิ่มช่องทางการติดต่อให้ มากข้ึน 5. ขาดการยอมรับทางสงั คม 5. พฒั นาสื่อประชาสัมพันธ์ทุกปแี ละร่วมกจิ กรรมกับทุก วิชาชพี เพื่อให้ทราบบริบทการทางานและการยอมรบั 6. บุคลากรในสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวข้อง ขาดความเช่ือมนั่ 6. ทบทวนการใช้ยาสมุนไพร ติดตามงาน นเิ ทศงานการ ในการพิจารณาส่งั ใช้ยาจากสมนุ ไพร และการสง่ เสริม ใชย้ าสมนุ ไพรในรพ.สต. จัดเอกสารแตล่ ะแห่ง สุขภาพดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย 7. อัตรากาลงั ไมเ่ พียงพอในการให้บรกิ ารผู้ปว่ ยอมั 7. ขออตั รากาลังเพิ่ม และจัดสรรงานบริการใหมแ่ บ่ง พฤกษ์ อมั พาตหรือผู้ป่วยในชุมชนทั้งเชงิ รุกและเชิง เจ้าหนา้ ที่บางส่วนออกเชงิ รุก รับ 8. จดั กิจกรรมสมาธิบาบัด กจิ กรรมสง่ เสริมสุขภาพดา้ น 8. ดาเนินการในกิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพในแผนกอนื่ การแพทยแ์ ผนไทย โรงพยาบาลไม่มีรหสั ที่ชดั เจน และหมนุ เวียนบคุ ลากรผ้ใู ห้ความร้อู ยา่ งต่อเนือ่ ง และงบประมาณการสนับสนุนจาก สปสช.น้อย

P a g e | 16 ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทาให้ ขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งานไมบ่ รรลุวตั ถุประสงค์ 9. ขาดอตั รากาลงั คน (แพทย์แผนไทยและผ้ชู ว่ ยแพทย์ 9. ขออตั รากาลงั เพม่ิ อตั ราส่วนแพทยแ์ ผนไทย:ผ้ชู ่วย แผนไทย) แพทย์แผนไทย ในอัตราส่วน 1:4 10. โปรแกรมแพทยแ์ ผนไทยไม่เสถยี ร บางหนว่ ยบริการ 10. แจ้งปญั หาในการลงโปรแกรมแก่ สสจ. เพ่ือหาแนว ไมไ่ ดร้ ับการสนับสนุนจาก สปสช. การบนั ทกึ ข้อมูล ทางแก้ไขปัญหาโปรแกรมแพทย์แผนไทย จงั หวัด และการลงโปรแกรมไมค่ งที่ พบปญั หาหลกั ของงาน สุโขทยั มกี ารตรวจสอบโปรแกรม และใหเ้ จ้าหนา้ ท่ี การแพทย์แผนไทย ส่วนกลางที่มคี วามชานาญในการลงโปรแกรมจาก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย หรือผูด้ ูแลขอ้ มลู ระดับประเทศมาสอนและเรยี นรใู้ นจงั หวดั ให้เกิด ความเช่ียวชาญ นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอยา่ ง - นวัตกรรมบรหิ ารนวิ้ ล็อค - นวัตกรรมดอกไม้อัญมณีมะค่าโมงบริหารสน้ เทา้ - นวัตกรรมแผ่นประคบเต้านม - นวตั กรรมพรมกะลาบริหารฝา่ เท้า - นวัตกรรมหมอนหลอด - นวตั กรรมยางยดื บริหารหัวไหล่

P a g e | 17 7) Smart Hospital โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการจัดบริการภายใน โรงพยาบาล ลดขั้นตอน การปฏบิ ัติ และเพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ ในการรับบรกิ ารท่ีมีคุณภาพดี มคี วามปลอดภัย และ ทันสมัยอยา่ งเปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ปี 2562 โรงพยาบาลไดเ้ ตรียมการดังนี้ ภาพที่ 2 Smart Hospital ปงี บประมาณ 2562

P a g e | 18 8) Green & Clean Hospital ระดบั ดมี าก ตามท่ีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ให้ความสาคัญกับการดารงสิ่งแวดล้อมให้สมดุลโดยการให้ ประชาชนมีสุขภาพที่ดีท้ังร่างกายและจิตใจ ภายใต้ภาวะส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพท่ีดี จึงได้กาหนดขั้นตอนการ ดาเนินงานด้านอาชีวอนามัยส่ิงแวดล้อม มุ่งเน้นโครงการ/กิจกรรมด้านสาธารณสุขร่วมใจรณรงค์ลดโลกร้อน (Green & Clean) น้นั ปี พ.ศ. 2560 ผลการดาเนนิ งาน Green & Clean Hospital พบวา่ โรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์การประเมิน ระดบั พน้ื ฐาน ร้อยละ 90.62 โรงพยาบาลทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ขน้ั พื้นฐานส่วนใหญ่การบริหารจัดการมูลฝอยติด เชื้อไม่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 46.58 ซึ่ง โรงพยาบาลบางแห่งไม่มีสถานท่ีพักรวมมูลฝอยติดเชื้อ หรือมีแต่ไม่ถูกต้องตาม มาตรฐานทีก่ าหนด เปน็ ตน้ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยจึงนานโยบายดังกล่าวมาพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สามารถเอื้อต่อสุขภาพ กจิ กรรมเสริมสรา้ งสุขภาพ พิทกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม อันจะส่งผลให้เกดิ ความปลอดภัย ความผาสกุ ตอ่ ผูป้ ่วย เจา้ หน้าท่ี และผู้ มาเยอื น โรงพยาบาลฯ จงึ แตง่ ตงั้ คณะทางาน Green & Clean Hospital เพ่อื ขบั เคล่ือนกระบวนการพฒั นานี้ กาหนด นโยบายท่ีชัดเจน มีการจัดทาแผนการปฏิบัติงานประจาปี พ.ศ. 2561 กาหนดมาตรการในการลดการใช้/อนุรักษ์ พลังงาน มาตรการประหยัดน้า และอื่น ๆ ภายใต้กลยุทธ์ CLEAN เน้นการสร้าง และเปล่ียนแนวคิดในการใชพ้ ลังงาน ในปจั จุบันโดยอาศยั ความรว่ มมือเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลฯ และมุง่ ผลิตนวตั กรรมท่ีเปน็ ประโยชน์ และสามารถนามาใชไ้ ดจ้ รงิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยได้รับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการตรวจ ประเมิน Green & Clean Hospital จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย และศูนย์อนามัยท่ี 2 จังหวัดพิษณุโลก ซ่ึงผลการดาเนินงานเบื้องต้นอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่ก็ยังคงมีประเด็นความเสี่ยงท่ีต้องนาไปปรับปรุง/แก้ไขต่อไป โดยคณะทางาน Green & Clean รพ. ได้มีการดาเนินงานตามคาแนะนาดังกล่าวอย่างต่อเน่ืองเพื่อรองรับการตรวจ ประเมินในครั้งตอ่ ไป ปีงบประมาณ 2561 คณะทางานฯ รพ. ได้มีการทบทวนการประเมินตนเองตามแบบประเมิน Green & Clean ปรับปรุงคณะทางานฯ และจัดทาแผนพัฒนาฯ ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กระทรวง สาธารณสขุ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรค และคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคเปน็ เลศิ (PP&P Excellence) แผนงาน ที่ 4 การบรหิ ารจดั การส่งิ แวดลอ้ มโดยอาศัยมาตรการ PIRAB ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้ปรับปรุงโครงสร้างอาคารสถานท่ีหอผู้ป่วยใน ห้องน้า-ผู้ป่วย IPD OPD และสถานท่ีอ่ืน ๆ ท่ีมีอายุการใช้งานนาน สภาพทรุดโทรม เช่น การสร้างบาบัดนาเสียใหม่ เพ่ือรองรับปริมาณน้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมการให้บริการ และสนับสนุนที่เพ่ิมข้ึน การตอบสนองตามนโยบาย โรงพยาบาลอาหารปลอดภัยกระทรวงสาธารณสุข โครงการ 1 รพ. 1 วัด โครงการเกษตรสัญจร การปลูกผักปลอด สารพิษ และการสร้างนวัตกรรมสีเขียวเชื่อมโยงสู่ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม จากการประเมินผลการดาเนินงาน Green & Clean Hospital ทผี่ ่านมา “อยใู่ นระดบั ด”ี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โรงพยาบาลศรสี งั วรสโุ ขทยั ได้เขา้ รับการประเมิน Green & Clean Hospital ในวันที่ 26 เมษายน พ.ศ.2562 ซึ่งโรงพยาบาลฯ ได้ดาเนินการตามนโยบายอาหารปลอดภัยร่วมกับเครือข่ายในพื้นท่ี และในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ได้เข้ารับการประเมินมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรม สง่ิ แวดลอ้ มเพื่อใหผ้ ่านมาตรฐานในระดับเร่ิมตน้ ข้ึนไป - ด้านการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อม พบว่าภาพรวมสามารถดาเนินการผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานขึ้นไป ร้อย ละ 90.62 ระดบั ดขี ้ึนไป ร้อยละ 38.16 และระดบั ดมี าก ร้อยละ 9.91 ตามลาดับ

P a g e | 19 - ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 โรงพยาบาลศรสี งั วรสุโขทยั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับขน้ั พน้ื ฐาน - ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โรงพยาบาลศรีสงั วรสุโขทัย ผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั ดมี าก - ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 โรงพยาบาลศรสี ังวรสโุ ขทยั คาดว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดีมาก Plus ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยที่ทาใหก้ ารดาเนินงาน ข้อเสนอแนะที่ให้ตอ่ หน่วยรับตรวจ ไม่บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 1. เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในมาตรฐานด้าน 1. ขาดการนามาตรฐานไปปฏิบัติ และการสร้าง อนามัยส่ิงแวดล้อม กระบวนการมีส่วนรว่ มยงั ไม่ชดั เจน 2. พฒั นากระบวนการสร้างการมสี ว่ นรว่ มอย่างเป็น 2. การบูรณาการงานด้านสิ่งแวดล้อมยังไม่เป็นรปู ธรรม รูปธรรม 3. สถานท่ีพักมูลฝอยติดเช้ือคับแคบ 4. การจดั บริการอาชวี อนามยั และเวชกรรมส่งิ แวดล้อม 3. อยูร่ ะหวา่ งดาเนินการปรับปรุง 4. อยู่ระหวา่ งรอผลการประเมินระดับพน้ื ฐานฐานขึ้นไป ยังไมเ่ ป็นรปู ธรรม (ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ขัน้ พื้นฐาน) 10) บูรณาการ NCD เชิงรุก ผปู้ ่วยโรคปอดอุดกน้ั เรื้อรังมักเริ่มรักษาเม่ือโรคมีความรุนแรงระดับ 3, 4 ขณะท่ี ตัวผปู้ ่วยเอง มอี ายุมาก เป็นอปุ สรรคต่อการดแู ลตนเองทาให้การการควบคุมป้องกันอาการหอบกาเรบิ ไมค่ ่อยไดผ้ ล โรงพยาบาลทุกแห่งในสุโขทัยให้บริการผู้ป่วยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังโดยจัดต้ังคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง โดยทีมสหสาขาวิชาชีพตามแนวทางและมาตรฐานตดิ ตามอย่างต่อเนื่อง ปัญหาที่พบได้แก่ ผู้ป่วยใช้ยาไม่ถูกต้อง ดูแล ตนองไม่เหมาะสมไม่เลิกบุหร่ีบางรายมีปัจจัยอื่น ๆ ท่ีทาให้มีอาการหอบกาเริบ เช่น การเจ็บป่วยอ่ืน การได้รับปัจจัย กระตุ้นที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น มีควันจากการเผาขยะ เผาถ่าน ในละแวกบ้าน การขาดผู้ดูแล เป็นต้น ผู้ป่วยไม่สามารถ การเขา้ ถึงยา LAMA ขอ้ เสนอแนะ 1. สง่ เสรมิ ให้ทกุ โรงพยาบาลให้บรกิ ารคลนิ ิกโรคปอดอดุ ก้ันเร้ือรังอย่างเต็มรูปแบบโดยบุคลากรสหสาขา วิชาชพี 2. จัดให้โรงพยาบาลทุกแห่งมีเครื่องตรวจสมรรถภาพปอด (Spirometry) ที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 1 เคร่ือง 3. สนับสนุนให้ทีมงานท่ีดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านอบรมการตรวจ สมรรถภาพปอดด้วย Spirometry 4. สนับสนุนให้ได้รับอบรมการตรวจ สมรรถภาพปอดด้วย Spirometry และได้ทาหน้าท่ีตรวจ สมรรถภาพปอดใหผ้ ปู้ ่วยตามเกณฑ์ 5. จดั ใหผ้ ปู้ ่วยโรคปอดอุดกัน้ เรอ้ื รังเปน็ กลมุ่ เป้าหมายอันดบั แรกทต่ี ้องได้วัคซีนป้องกันไข้หวดั ใหญ่

P a g e | 20 การพัฒนาระบบจดั ซือ้ จัดจา้ ง นายแพทย์วารินทร์ พฤกษิกานนท์ ได้จัดประชุมพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้าง เม่ือวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2562 ดงั น้ี

P a g e | 21 การพัฒนาระบบจดั ทาแผนงาน/โครงการ เดือนมนี าคม 2562 คณะทางานกลุ่มงานยทุ ธศาสตรแ์ ผนงานและโครงการ ได้ปรับระบบจดั ทาแผนงาน/ โครงการ ตามแผนผงั ดงั นี้ ภาพท่ี 3 Flowchart ระบบจัดทาแผนงาน/โครงการ ปงี บประมาณ 2562 / / Gantt chart 1. . 2. 3. GGaanntttt cchhaarrtt .. -- -- . ./ . 1. / 2. : 3. 4. .. .. :: // // // 5. .. .. :: ..>> 11 6. .. :: 7. .. .. 8. . .. 9. 10. 11. / 12. 13. ./ . 14. 15. . . . .

P a g e | 22 นายแพทย์สมชาย แก้วเขียว ผู้อานวยการโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทยั นายแพทยส์ ุนทร อินทพิบูลย์ นางสมพร บรรลุพนั ธุนาถ นางสนุ ทรี กจิ การ รองผอู้ านวยการฝ่ายการแพทย์ หัวหนา้ กลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล รองผอู้ านวยการฝา่ ยบริหาร นายแพทย์พรชัย สนิ คณารกั ษ์ นายแพทยส์ มชยั รองวริ ยิ ะพานิช ผู้ชว่ ยผูอ้ านวยการ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการ ดา้ นเตรียมรบั สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ด้านประสานงานผูป้ ว่ ยในและผปู้ ว่ ยนอก นายแพทย์สนุ ทร อินทพิบูลย์ นายแพทย์เกตุ ชูพันธ์ นายแพทยว์ ารินทร์ พฤกษิกานนท์ ผู้ชว่ ยผูอ้ านวยการดา้ นปฐมภูมิ ผู้ชว่ ยผู้อานวยการดา้ นการเงนิ การคลัง ผูช้ ว่ ยผ้อู านวยการดา้ นพสั ดกุ ารแพทย์ นายแพทย์นาชยั จิตรนาทรัพย์ นายแพทย์ณัฐพล เดชะปรากรม ผู้ชว่ ยผู้อานวยการ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการ ด้านพฒั นาระบบบรกิ ารและสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ ด้านรบั เรอื่ งราวรอ้ งทุกข์

P a g e | 23 ตารางท่ี 6 อตั รากาลัง ปีงบประมาณ 2562 ตาแหนง่ จานวน ขา้ ราชการ ลกู จ้างประจา พนักงาน พนกั งานกระทรวง ลกู จ้าง ราชการ สาธารณสุข ช่วั คราวฯ 1. แพทย์ 66 64 0 0 0 2 2. ทันตแพทย์ 88 0 0 0 0 3. เภสัชกร 19 19 0 0 0 0 4. พยาบาล 250 222 0 7 11 10 5. นกั เทคนคิ 13 11 0 1 1 0 การแพทย์ 6. นกั กายภาพบาบัด 4 4 0 0 0 0 7. รังสีการแพทย์ฯ 8 5 0 0 2 1 8. แพทยแ์ ผนไทย 2 1 0 0 1 0 9. นกั สังคม 33 0 0 0 0 สงเคราะห์ 10. นักเทคโนโลยี 1 1 0 0 0 0 หัวใจและทรวงอก 11. อ่นื ๆ 391 49 52 29 145 116 รวม 765 387 52 37 160 129 ที่มา : กลุม่ งานทรพั ยากรบคุ คล ณ 30 กนั ยายน 2562 ปฏบิ ัติงาน อย่รู ะหวา่ งลา นายแพทย์ รวม ศึกษา (intern) 1. นายแพทย์ 35 19 66 12 8 2. ทนั ตแพทย์ 7 1 19 0 250 3. เภสชั กร 19 0 0 4. พยาบาล 250 0 0 ทีม่ า : กลมุ่ งานทรัพยากรบคุ คล ณ 30 กนั ยายน 2562

P a g e | 24 1 ผู้อานวยการ ปฏบิ ตั งิ าน อยูร่ ะหวา่ งลา ปีท่จี บ 2 รองผู้อานวยการดา้ นการแพทย์ ศึกษา 3 (ดา้ นเวชกรรม สาขาสตู ิ-นรเี วชกรรม) 1 0 ปี 2565(1) 4 (ดา้ นเวชกรรม สาขามะเรง็ นรีเวชวิทยา) 1 0 ปี 2563(1) 5 (ด้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรม) 2 2 ปี 2563(1), ปี 2564(1), 0 1 ปี 2566(1) 3 3 ปี 2563(1), ปี 2566(1) ปี 2563(2), ปี 2565(1) 6 (ด้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรมออรโ์ ธปิดกิ ส์) 3 2 7 (ดา้ นเวชกรรม สาขาอายรุ กรรม) 4 3 ปี 2563(1), ปี 2564(1), 8 (ด้านเวชกรรม สาขาอายรุ ศาสตรโ์ รคไต) 1 0 ปี 2565(1) 9 (ด้านเวชกรรม สาขากุมารเวชกรรม) 4 0 10 (ดา้ นเวชกรรม สาขาจกั ษุวิทยา) 1 3 ปี 2563(1) 11 (ด้านเวชกรรม สาขาจิตเวชเด็กและวัยรนุ่ ) 1 0 ปี 2563(1), ปี 2565(1) 12 (ด้านเวชกรรม สาขาจิตเวชศาสตร์) 2 0 ปี 2563(1), ปี 2565(1) 13 (ดา้ นเวชกรรม สาขารงั สวี ทิ ยาวนิ จิ ฉยั ) 2 1 ปี 2563(1) 14 (ดา้ นเวชกรรม สาขาวสิ ญั ญีวิทยา) 3 0 15 (ด้านเวชกรรม สาขาเวชศาสตรค์ รอบครวั ) 1 2 16 (ด้านเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน) 0 2 17 (ด้านเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน (แขนง 0 1 อาชีวเวชศาสตร์) 1 0 18 (ดา้ นเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฟ์ น้ื ฟ)ู 2 0 19 (ด้านเวชกรรม สาขาโสต นาสิก ลารงิ ซ์วิทยา) 2 0 20 แพทย์โครงการ Inservice Training fmedD ปที ่ี 2 12 0 21 เพ่ิมพูนทักษะ 46 20 รวม ที่มา : กลุม่ งานทรัพยากรบคุ คล ณ 30 กันยายน 2562

รอง ผอ. ฝา่ ยบริหาร นพ.สนุ ทร อินทพบิ ลู ย์ นพ.นาชัย จ 1. กลุ่มงานบรหิ ารทว่ั ไป (20-24) 1. กลุ่มงานผ้ปู ่วยนอก (1-1) 1. กล่มุ งานสารสนเทศทางกา 2. กลมุ่ งานแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2. กลุ่มงานประกนั สขุ ภาพ (7 1.1 งานสารบรรณและธรุ การ 1.2 งานยานพาหนะ (3-4) 3. กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละแ 1.3 งานสนาม 3. กล่มุ งานเวชกรรมสังคม (27-30) 1.4 งานรกั ษาความสะอาด และขยะติดเช้อื 3.1 งานเวชปฏบิ ัติครอบครัวและชุมชนและศสม. 4. กลุ่มงานพฒั นาทรพั ยากร 1.5 งานรักษาความปลอดภัย 3.2 งานปอ้ งกันควบคุมและระบาดวิทยา 5. กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพบร 1.6 งานซักฟอกและตดั เยบ็ 3.3 งานพัฒนาระบบบรกิ ารปฐมภมู แิ ละ 1.7 ระบบบา้ บดั น้าเสยี สนบั สนนุ เครอื ข่าย 1.8 งานประชาสมั พันธ์ 3.4 งานส่งเสริมสุขภาพและฟน้ื ฟู 2. กลุม่ งานพัสดุ (11-14) 3.5 งานคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค 3. กลมุ่ งานโครงสร้างพ้ืนฐานและวศิ วกรรมทาง 4. กลมุ่ งานสขุ ศกึ ษา (2-2) การแพทย์ (17-21) 5. กลุม่ งานอาชวี เวชกรรม (17-17) 3.1 งานไฟฟา้ 5.1 งานคลนิ ิกอาชีวเวชกรรม 3.2 ระบบปรับอากาศภายใน 5.2 งานสง่ เสรมิ สุขภาพและฟืน้ ฟสู ภาพวัย 3.3 งานซ่อมบ้ารุงท่วั ไป ทางาน 3.4 อาคารสถานที่ 5.3 งานอาชีวปอ้ งกนั และควบคมุ โรค 3.5 งานโยธาสขุ าภบิ าล 5.4 งานพษิ วิทยาและเวชศาสตร์ส่ิงแวดล้อม 3.6 ช่างเครอ่ื งมอื แพทย์ 5.5 อนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม 4. กล่มุ งานทรัพยากรบคุ คล (5-6) 5.6 งานตรวจสุขภาพ 5. กลุ่มงานการเงิน (10-13) 6. กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน (5-5) 6. กล่มุ งานบัญชี (5-7) 6.1 งานการพยาบาลที่บา้ นและชมุ ชน 6.2 งานพยาบาลผ้จู ดั การสุขภาพชมุ ชน 6.3 งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาลชมุ ชน 6.4 งานการพยาบาลชุมชนในการบา้ บดั รกั ษายา เสพตดิ หมายเหตุ : 1. ตัวเลขในวงเล็บคอื จานวนกรอบข้นั ต่า-ขัน้ สูง 2. ปรบั ปรงุ ธ.ค. 60

P a g e | 25 จิตรนาทรพั ย์ นพ.พรชยั สนิ คณารกั ษ์ รอง ผอ.ฝา่ ยการพยาบาล ารแพทย์ (17-20) 1.. กลุม่ งานเวชศาสตร์ฉุกเฉนิ (12-15) 1. กลุม่ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยอบุ ัตเิ หตแุ ละ 7-7) 2. กลุ่มงานอายุรกรรม (7-8) แผนงานโครงการ (2-2) 3. กลมุ่ งานศลั ยกรรม (6-7) ฉกุ เฉิน (17-21) รบคุ คล (7-7) 4. กลมุ่ งานศลั ยกรรมออรโ์ ธปิดกิ ส์ (4-5) 2. กลุ่มงานการพยาบาลผู้ปว่ ยนอก (13-16) ริการและมาตรฐาน (4-4) 5. กลุ่มงานกุมารเวชกรรม (3-4) 3. กลม่ งานการพยาบาลผู้ป่วยหนกั (19-24) 6. กลมุ่ งานนติ เิ วช (0-0) 4. กลมุ่ งานการพยาบาลผูค้ ลอด (10-12) 7. กลมุ่ งานจกั ษวุ ทิ ยา (2-3) 5. กล่มุ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยห้องผา่ ตดั (14-17) 8. กลมุ่ งานโสต ศอ นาสิก (2-2) 6. กล่มุ งานการพยาบาลวิสัญญี (10-12) 9. กลุ่มงานโภชนศาสตร์ (2-3) 7. กลุม่ งานการพยาบาลผูป้ ว่ ยอายุรกรรม (35-44) 10. กลมุ่ งานพยาธวิ ทิ ยากายวิภาค (2-2) 8. กลุ่มงานการพยาบาลผ้ปู ว่ ยศัลยกรรม (18-22) 11. กล่มุ งานสตู ิ - นรเี วชกรรม (4-5) 9. กลมุ่ งานการพยาบาลผู้ปว่ ยสูติ - นรีเวช (12-15) 12. กลมุ่ งานวิสัญญีวทิ ยา (3-4) 10. กลมุ่ งานการพยาบาลจิตเวช (3-4) 13. กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพตดิ (7-9) 11. กลุ่มงานการพยาบาลผ้ปู ว่ ยกุมารเวชกรรม 14. กลุม่ งานทนั ตกรรม (9-11) 15. กลมุ่ งานรังสวี ทิ ยา (8-11) (14-18) 16. กลมุ่ งานเทคนิคการแพทย์และพยาธิวทิ ยา 12. กล่มุ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยออร์โธปดิ ิกส์ คลนี กิ (19-23) (10-13) 17. กลุ่มงานเวชกรรมฟนื้ ฟู (12-15) 13. กลมุ่ งานการพยาบาลผูป้ ว่ ยโสต ศอ นาสกิ 18. กลุ่มงานสงั คมสงเคราะห์ (2-3) 19. กลุ่มงานเภสัชกรรม (28-35) จกั ษุ (8-10) 14. กลุม่ งานการพยาบาลดา้ นการควบคุมและ ปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื (1-1) 15. กลมุ่ งานการพยาบาลตรวจรักษาพเิ ศษ (10-13) 16. กลุ่มงานวิจยั และพฒั นาการพยาบาล (2-3)

P a g e | 26 ตารางที่ 7 สาเหตกุ ารป่วยของผูป้ ว่ ยนอกตามกลุ่มโรค 10 อนั ดับแรก ปีงบประมาณ 2562 ลาดบั ชอื่ กลุ่มโรค จานวนการเขา้ รับการรักษา จานวน (ครั้ง) (ราย) 1 Essential (primary) hypertension 2 Disorder of lipoprotein 34,790 9,372 19,685 6,552 metabolism,unspecified 3 Chronic kidney disease, stage 5 19,157 480 4 NIDM Without complications 17,405 3,683 5 Spinal stenosis 5,596 6 Primary open-angle glaucoma 4,275 857 7 Benign prostatic hyperplasia 3,488 934 8 Gout, unspecified 3,468 835 9 Dyspepsia 3,414 1,022 10 Other primary gonarthrosis 3,274 2,128 1,204 ตารางท่ี 8 สาเหตกุ ารปว่ ยของผูป้ ว่ ยในตามกลมุ่ โรค 10 อันดับแรก ปงี บประมาณ 2562 ลาดบั ชื่อกลุ่มโรค จานวนการเข้ารบั การรกั ษา จานวน (คร้งั ) (ราย) 1 Other and unspecified gastroenteritis and colitis of infectious origin 459 438 2 Bronchopneumonia, unspecified 452 405 3 Acute appendicitis with localized peritonitis 443 440 4 Spontaneous vertex delivery 395 394 5 Senile nuclear cataract 314 293 6 Acute tubulo-interstitial nephritis 259 245 7 Beta thalassaemia 247 58 8 Chronic kidney disease, stage 5 229 150 9 Cerebral infarction,unspecified 222 217 10 Congestive heart failure 215 177

P a g e | 27 ตารางท่ี 9 สาเหตุการตาย 10 อนั ดบั แรก อ.ศรสี าโรง นอกและในโรงพยาบาล ปงี บประมาณ 2562 ลาดบั ช่ือกลุ่มโรค จานวนการเข้ารับการรกั ษา จานวน (ครงั้ ) (ราย) 1 Bronchopneumonia, unspecified 39 39 2 Acute subendocardial myocardial infarction 23 23 22 22 3 Intracerebral haemorrhage in hemisphere, subcortical 20 20 20 20 4 Acute tubulo-interstitial nephritis 18 18 5 Congestive heart failure 18 18 17 17 6 Other and unspecified gastroenteritis and colitis of infectious origin 14 14 14 14 7 Lobar pneumonia, unspecified 8 Bronchus or lung malignant neoplasm, unspecified 9 Chronic kidney disease, stage 5 10 Anoxic brain damage, not elsewhere classified ตารางที่ 10 DRGs 10 อันดับ ปงี บประมาณ 2562 ลาดับ DRG drgname จานวน CMI ร้อยละ 1 15540 Newborn, adm wt >2499 gm wo proc wo sig 897 0.2802 5.54 CCC 481 1.3929 2.97 2 14010 Caesarean delivery wo sig ccc 439 1.1574 2.71 3 01550 Specific cerebrovascular disorder exc TIA wo 435 0.4377 2.69 sig CCC 413 0.3273 2.55 4 14500 Vaginal delivery wo sig CCC 372 1.2127 2.3 359 0.266 2.22 5 16530 Red blood cell disorders w blood transfusion 284 0.5661 1.75 wo sig CCC 6 06070 Appendectomy wo sig ccc 7 06580 Gastroenteritis age <10,no CC 8 04520 Respiratory infection/inflammation, no CC 9 02060 Major lens procedures wo sig CCC 281 1.2952 1.74 279 2.3328 1.72 10 06691 Digest malignancy w chemotherapy w min CCC

P a g e | 28 ตารางท่ี 11 ผา่ ตดั 10 อนั ดบั ปีงบประมาณ 2562 ลาดบั ชื่อกลุ่มโรค จานวนการเข้ารบั การรกั ษา จานวน (ครั้ง) (ราย) 1 Low cervical cesarean section 39 39 2 Other appendectomy 23 23 22 22 3 Other incid appendectomy 20 20 4 Removal of both ovaries and tubes at same 20 20 operative episode 18 18 5 Repair of indirect inguinal hernia 6 Repair of indirect inguinal hernia with graft 18 18 or prosthesis 17 17 7 Open reduction of fracture with internal 14 14 fixation (radius and ulna) 8 Open reduction of fracture with internal 14 14 fixation (humerus) 9 Closed reduction of fracture without internal fixation (radius and ulna) 10 Total knee replacement

P a g e | 29 สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนินงานขององคก์ ร

P a g e | 30 สถติ ดิ า้ นการรกั ษาพยาบาล ตารางที่ 12 ผลการดาเนนิ งานดา้ นการรกั ษาพยาบาล ปีงบประมาณ 2559 - 2562 ประเภทผ้ปู ่วย หน่วยวดั 2559 2560 2561 2562 1. ผู้ป่วยนอก 1.1 ผูม้ ารบั บรกิ ารทุกประเภท คร้ัง 262,470 279,748 282,667 298,169 ผู้ป่วยใหม่ ราย 49,261 52,940 56477 55,201 ผปู้ ่วยเก่า ราย 52,070 51,999 50499 55,274 จานวนเฉล่ียต่อวนั ราย/วนั 988 1,042 918 969 1.2 ผ้ปู ว่ ยนอก คร้งั 242,681 268,851 277,087 ผปู้ ่วยใหม่ ราย 43,399 261,105 50,063 50,527 ผปู้ ่วยเกา่ ราย 45,228 50,662 45,667 53,388 จานวนเฉลี่ยต่อวนั ราย/วนั 49,448 850 940 967 1.3 จานวนผู้ป่วยตาย ราย 85 910 0.35 103 142 อตั ราตาย : ผปู้ ่วยนอกพันราย 16:1 79 0.38 0.51 0.30 15:1 18:1 1.4 อตั ราการรับไวเ้ ป็นผูป้ ่วยใน 15,365 16:1 (ผู้ป่วยนอก : ผู้ปว่ ยใน) 220 2. ผู้ป่วยใน 16,477 2.1 จานวนผู้ป่วยในท้ังหมด ราย 45 16,616 16,852 15,513 (ไม่รวมทารกแรกคลอด) ราย/วนั 5.25 80,209 220 231 205 2.2 จานวนเฉล่ียต่อวัน 71.58 17,293 17588 16,189 769 2.3 จานวนผปู้ ว่ ยในทั้งหมด ราย 5.00 47 48 44 90.89 5.14 4.81 4.88 2.4 จานวนผู้ป่วยจาหน่าย ราย/วัน 83,851 80,299 79,034 1.41 74.83 71.66 70.53 2.5 จานวนวันนอนเฉล่ีย วนั /ราย 706 579 603 2.6 อัตราการครองเตียง 4.24 3.43 3.72 วันนอน 2.7 จานวนผ้ปู ว่ ยตาย อตั ราครองเตยี ง 87.21 87.55 90.08 ราย 1.436 1.4668 1.4902 2.8 อตั ราตาย ร้อยละ 3. ความสมบรู ณเ์ วชระเบียน (MRA) ร้อยละ 4. ค่านา้ หนักสัมพัทธ์ CMI

P a g e | 31 ภาพที่ 4 จานวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอกท่มี ารบั บรกิ ารทุกประเภท (ครง้ั ) ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2557 – 2562 298,169 279,748 282,667 262,470 2559 2560 2561 2562 ภาพที่ 5 จานวนผปู้ ่วยในทัง้ หมด (ไมร่ วมทารกแรกคลอด) (ราย) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2557 – 2562 16,616 16,852 15,365 15,513 2559 2560 2561 2562

ตารางที่ 13 สถติ ผิ ปู้ ่วยนอกแยกประเภทตามกลุ่มงาน ปีงบประมาณ 2559 – 2562 P a g e | 32 ประเภท 2559 2560 2561 2562 108,923 อายรุ กรรม 83,958 96,611 107,669 23,512 ศลั ยกรรม 17,528 19,795 19,783 19,095 ออร์โธปดิ ิกส์ 22,567 22,331 18,721 17,422 กุมารเวชกรรม 15,105 15,493 16,210 สูติ-นรเี วชกรรม 5,387 5,191 4,746 4,629 ตา 12,599 14,897 15,818 14,572 หู คอ จมกู 10,096 10,983 10,603 7,689 ทันตกรรม 11,387 10,319 10,658 12,264 จิตเวช 6,955 7,330 7,354 9,734 อ่ืน 57,099 58,155 56,735 59,244 262,470 261,105 268,851 277,087 รวม ตารางที่ 14 สถติ ิผูป้ ่วยในแยกประเภทตามกลุ่มงาน ปีงบประมาณ 2559 – 2562 (ไม่รวม newborn) ประเภท 2559 2560 2561 2562 อายรุ กรรม 5,641 6,395 6,648 6,205 ศัลยกรรม ออรโ์ ธปิดกิ ส์ 2,963 3,392 3,794 3,359 กมุ ารเวชกรรม สูติ-นรเี วชกรรม 1,157 1,145 1,054 1,010 ตา หู คอ จมูก 2,247 2,388 2,335 2,215 ทนั ตกรรม จติ เวช 2,194 2,025 1,985 1,899 รวม 947 1,010 678 522 215 259 285 263 - -01 1 2 26 39 15,365 16,616 16852 15,513

P a g e | 33 ตารางที่ 15 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ปว่ ยนอก 10 อันดบั กลุ่มโรค ประจาปงี บประมาณ 2559 - 2562 ลาดบั สาเหตุ 2559 2560 2561 2562 1 โรคระบบเวยี นเลอื ด 51,594 (1) 50,266 (1) 53,225 51,595 46,801 46,024 2 โรคระบบต่อมไร้ท่อ 45,815 (2) 43,415 (2) 35,851 36,063 30,841 32,280 3 โรคระบบสบื พันธ์รว่ มปัสสาวะ 32,583 (3) 36,594 (3) 23,632 23,721 20,749 18,464 4 โรคระบบกลา้ มเน้ือ 29,846 (4) 30,130 (4) 13,082 11,824 8,056 11,645 5 โรคระบบทางเดินอาหาร 24,709 (5) 24,130 (5) 8,703 8,407 6 โรคระบบหายใจ 17,863 (6) 20,150 (6) 6,945 6,333 7 โรคตาและส่วนประกอบของตา 9,919 (7) 11,903 (7) 8 โรคติดเชือ้ และปรสติ 7,916 (8) 7,726 (8) 9 โรคภาวะแปรปรวนทางจิตและ 6.964 (9) 6,884 (9) พฤติกรรม 10 โรคสาเหตุจากภายนอก 5,553 (10) 6,311 (10) หมายเหตุ : ขอ้ มูลเรียงลาดบั จากมากไปหาน้อยโดยใช้ปีงบประมาณ 2562 เปน็ หลัก ( ) เลขภายในวงเล็บ หมายถึง ลาดับทข่ี องโรค

P a g e | 34 งบแสดงผลการดาเนนิ งาน ปี งบประมาณ 2558-2562 ตารางท่ี 16 งบแสดงผลการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2558-2562 รหัส รายการ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 4000 รายได้ 489,726,064.85 501,240,137.94 570,212,871.26 564,550,397.07 602,875,577.27 5000 คา่ ใชจ้ า่ ย 483,519,279.96 512,148,889.75 546,968,221.76 557,903,594.75 585,541,761.38 6,206,784.89 (10,908,751.81) 23,244,649.50 6,646,802.32 17,333,815.89 รายได้สูง (ตา่ ) กวา่ ค่าใชจ้ ่ายสทุ ธิ รายละเอยี ดรายได้ 198,064,886.29 207,633,113.26 235,662,493.40 226,168,307.06 224,520,155.57 260,202,314.00 290,394,546.03 189,327,635.51 180,760,718.68 177,695,494.37 4100 รายไดจ้ ากเงิน 142,268,938.99 150,064,944.75 168,669,161.22 168,568,490.88 163,103,788.79 งบประมาณ 4200 รายไดค้ ่ารักษาพยาบาล สทิ ธิ UC 4300 รายได้คา่ รกั ษาพยาบาล สิทธิอื่นๆ 4400 รายได้จากองทุน UC 40,441,171.89 35,507,149.28 36,388,338.46 36,724,871.57 45,754,463.62 4500 รายไดค้ ่าธรรมเนยี ม 1,357,780.00 1,306,870.00 1,270,890.00 1,326,360.00 978,630.00 UC 3,911,702.13 4,750,288.17 5,675,995.97 5,389,003.25 10,140,069.96 13,517,410.72 17,211,451.88 8,081,341.10 26,303,624.53 53,703,921.13 4600 รายไดจ้ ากกองทนุ -176,560,257.95 (214,504,427.35) (101,460,119.58) (109,256,577.56) (92,907,790.34) ประกนั สงั คม 6,493,633.78 8,823,649.40 25,477,120.37 27,762,235.55 19,791,680.34 4700 รายไดจ้ ากการ ดาเนนิ งานอืน่ ๆ 4800 สว่ นตา่ งคา่ รักษาฯทีส่ ูง กว่าเงินเหมาจา่ ย/ ข้อตกลงฯ (ขาดทนุ ) 4900 สว่ นต่างคา่ รักษาฯทต่ี า่ กว่าเงนิ เหมาจ่าย/ ขอ้ ตกลงฯ (กาไร) 4910 รายได้แผ่นดนิ 28,485.00 52,552.52 1,120,014.81 803,363.11 95,163.83 รวมรายได้ 489,726,064.85 501,240,137.94 570,212,871.26 564,550,397.07 602,875,577.27 รายละเอยี ดค่าใช้จา่ ย 5100 เงนิ เดือน 132,500,050.19 143,787,673.89 148,300,372.78 150,728,576.38 156,529,730.94

P a g e | 35 รหัส รายการ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 5110 คา่ จา้ งประจา 18,737,020.00 18,372,956.95 17,984,388.00 16,211,192.98 16,056,758.00 5120 คา่ จ้างชว่ั คราว, พกส. 29,225,206.08 32,651,386.38 34,654,047.07 36,406,528.22 38,432,897.77 3,773,550.00 0.00 0.00 0.00 0.00 5130 คา่ จา้ งเหมาบคุ ลากร (สนับสนนุ ) 40,723,915.80 41,774,130.42 44,306,774.91 44,109,097.08 45,836,698.93 5140 ค่าใช้จ่ายด้านบคุ คล 3,515,000.00 3,575,000.00 3,795,000.00 3,540,000.00 3,830,000.00 อน่ื ๆ 5150 ไมท่ าเวชปฏิบตั ิ 5160 ค่าตอบแทนอน่ื 56,752,939.00 60,164,422.00 66,824,105.08 63,934,569.40 64,064,404.35 5200 คา่ ใชจ้ า่ ยในการ 4,120,451.82 3,103,641.10 2,923,738.03 2,596,658.00 2,917,506.45 ฝึกอบรมสมั มนา 22,466,030.16 20,494,111.68 24,373,595.02 24,844,432.26 35,505,071.47 5300 ค่าใช้สอยอน่ื 5400 คา่ ยา 63,361,216.35 66,917,735.42 71,838,266.43 75,049,989.23 74,457,678.50 5410 คา่ เวชภัณฑม์ ใิ ชย่ า 38,152,586.23 46,231,572.30 47,366,298.54 37,015,006.71 37,936,218.52 5420 ค่าวัสดุทัว่ ไป 12,506,236.24 12,975,358.64 13,949,994.01 11,448,090.51 13,262,436.18 5500 คา่ สาธารณปู โภค 14,449,908.47 14,290,047.90 13,083,106.97 12,240,827.83 13,351,176.27 696,561.60 441,263.70 624,143.80 941,299.95 1,029,751.00 5600 คา่ ครุภณั ฑม์ ลู คา่ ตา่ กวา่ เกณฑ์ 2,170,649.50 2,917,487.99 1,795,638.50 2,985,608.41 3,270,727.95 5700 ค่าใช้จา่ ยค่า 7,243,068.00 6,606,900.00 6,634,222.00 6,083,821.00 5,230,526.00 รักษาพยาบาลตามจา่ ย 5800 คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสังคม สงเคราะห์/คา่ สวัสดกิ ารสงั คมอ่นื 5810 คา่ เสือ่ มราคา 30,994,502.27 35,763,573.12 43,028,763.04 49,711,884.50 45,499,384.61 5820 คา่ ตัดจาหน่าย 26,201.28 2,086.20 0.00 0.00 0.00 5830 หนี้สงสยั จะสญู 368,322.19 539,091.20 2,442,748.03 130,742.20 185,325.54 1,707,379.78 1,487,898.34 1,906,027.51 4,813,604.19 845,896.94 5900 ค่าใช้จ่ายจากการ ดาเนินงานประเภท 28,485.00 52,552.52 1,136,992.04 15,111,665.90 27,299,571.96 อื่นๆ 483,519,279.96 512,148,889.75 546,968,221.76 557,903,594.75 585,541,761.38 5910 รายได้แผ่นดินนาสง่ คลงั 95,270,958.72 115,133,032.32 130,463,696.15 138,342,803.72 194,482,205.79 รวมคา่ ใช้จ่าย สถานการณก์ ารเงนิ เงินสดและรายการ เทียบเทา่ เงนิ สด ณ ต้นปี

P a g e | 36 รหัส รายการ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 เงนิ สดรบั 599,698,481.60 599,647,282.55 671,858,173.90 692,834,703.91 696,717,279.94 579,836,408.00 584,316,618.72 663,979,066.33 636,695,301.84 712,236,109.40 เงนิ สดใชไ้ ป 115,133,032.32 130,463,696.15 138,342,803.72 194,482,205.79 178,963,376.33 เงินสดและรายการ 19,862,073.60 15,330,663.83 7,879,107.57 56,139,402.07 (15,518,829.46) เทียบเทา่ เงินสด ณ ปลายปี เงนิ สดและรายการ เทยี บเท่าเงนิ สดเพ่ิมข้นึ (ลดลง) สุทธิ สินทรพั ย์ / หน้ีสิน และส่วนของทนุ สนิ ทรัพย์ 1100 - สินทรพั ย์หมุนเวียน 164,640,236.68 194,281,035.91 222,269,430.74 258,788,113.61 281,108,482.01 1200 - สินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียน 152,526,865.74 149,441,796.42 153,062,185.91 139,490,562.41 115,088,215.93 รวมสนิ ทรพั ย์ 317,167,102.42 343,722,832.33 375,331,616.65 398,278,676.02 396,196,697.94 หนสี้ นิ 2100 - หนส้ี นิ หมุนเวียน 102,959,922.15 125,327,010.94 118,384,135.60 108,327,648.53 85,521,825.68 2200 - หน้ีสนิ ไมห่ มุนเวียน 11,508,790.58 12,143,173.33 17,393,486.22 22,658,154.71 29,885,680.21 รวมหน้สี นิ 114,468,712.73 137,470,184.27 135,777,621.82 130,985,803.24 115,407,505.89 รวมสว่ นทนุ 202,698,389.69 206,252,648.06 239,553,994.83 267,292,872.78 280,789,192.05 รวมหนส้ี นิ และทุน 317,167,102.42 343,722,832.33 375,331,616.65 398,278,676.02 396,196,697.94 รายละเอยี ดส่วนทนุ 3100 ทนุ 399,225,059.30 399,225,059.30 399,225,059.30 399,225,059.30 399,225,059.30 -196,438,433.68 (196,526,669.61) (192,972,411.24) (159,671,064.47) (131,932,186.52) 3200 รายไดส้ ูง(ต่า)กว่า คา่ ใช้จ่ายสะสม 6,206,784.89 (10,908,751.81) 23,244,649.50 6,646,802.32 17,333,815.89 3300 รายไดส้ ูง(ตา่ )กว่า - 1,534,489.69 12,941,645.15 7,943,154.27 18,811,591.70 (10,163,874.54) ค่าใช้จา่ ยสุทธิ - 4,760,531.13 1,521,365.03 2,113,543.00 2,280,483.93 6,326,377.92 3400 ผลสะสมจากการแก้ไข ขอ้ ผดิ พลาด 3500 กาไร/ขาดทุนสะสมฯ รายได้ UC ปีก่อน รวมสว่ นทนุ 202,698,389.69 206,252,648.06 239,553,994.83 267,292,872.78 280,789,192.05 รายละเอียดสนิ ทรพั ย์ 1110 เงนิ งบประมาณ 0.00 0.00 1,531,777.00 0.00 0.00 1120 เงนิ นอกงบประมาณ 115,133,032.32 130,463,696.15 136,811,026.72 194,482,205.79 178,963,376.33

P a g e | 37 รหัส รายการ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1130 ลูกหนค้ี า่ รักษาพยาบาล 36,338,640.00 53,343,924.31 72,737,513.03 49,640,021.96 69,121,543.91 1140 ลูกหนี้อ่นื ๆ 452,044.00 428,220.00 77,920.00 182,980.00 208,100.00 1150 คา่ เผ่อื หนส้ี งสัยจะสญู - 431,703.66 (710,101.73) (2,507,408.60) (194,354.40) (259,066.64) 1160 ยาคงเหลอื 9,804,159.22 7,467,820.35 9,326,576.21 10,582,819.98 9,756,484.15 1170 เวชภณั ฑ์มิใชย่ า 2,432,238.05 2,648,375.88 3,550,616.34 2,697,090.45 4,090,290.21 คงเหลอื 911,826.75 639,100.95 741,410.04 1,365,387.83 865,993.49 1180 วสั ดุคงเหลอื 1190 ค่าใช้จา่ ยจ่ายลว่ งหนา้ 0.00 0.00 0.00 31,962.00 18,361,760.56 1191 รายได้ค้างรบั 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวมสินทรพั ย์ 164,640,236.68 194,281,035.91 222,269,430.74 258,788,113.61 281,108,482.01 หมุนเวียน 29,052,371.67 34,360,497.26 17,954,140.64 22,570,442.19 9,900,451.46 รายละเอยี ดหน้สี นิ 2110 คา่ ยา 2120 ค่าเวชภณั ฑม์ ใิ ชย่ า 17,659,730.83 26,218,370.38 16,983,427.27 14,587,896.39 6,942,178.97 2130 ค่าวสั ดุ 1,844,380.91 871,512.65 1,751,428.40 2,316,690.31 1,017,461.80 2140 ค่าใช้สอย 3,324,562.29 3,465,732.11 501,698.13 1,024,489.79 3,103,761.79 2150 คา่ ครุภณั ฑ์ 4,598,570.00 3,635,030.00 1,775,560.00 10,825,301.00 4,918,850.00 2160 ค่าสาธารณปู โภคคา้ ง 1,310,438.18 1,071,328.12 2,303,725.58 1,152,929.38 1,220,029.50 จ่าย 26,383,870.50 28,120,802.25 51,662,464.92 28,625,617.07 13,304,359.31 2170 ค่าใชจ้ า่ ยคา้ งจ่าย 2180 อนื่ ๆ 18,785,997.77 27,583,738.17 25,451,690.66 27,224,282.40 45,114,732.85 รวมหนีส้ นิ หมนุ เวยี น 102,959,922.15 125,327,010.94 118,384,135.60 108,327,648.53 85,521,825.68

ตารางที่ 17 สรุปผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ 2562 ตัวช้ีวัด คณะที่ 1 การสง่ เสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกันโรค และการจัดการสขุ ภาพ 1 อัตราสว่ นการตายมารดาไทย (เปา้ หมาย : ไม่เกนิ 17 ตอ่ การเกดิ มีชพี แสนราย) 2 ระดบั ความสาเรจ็ ของการพฒั นาการเดก็ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2.1) ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0 - 5 ปี ไดร้ ับการคัดกรองพัฒนาการ 2.2) รอ้ ยละ 20 ของเดก็ อายุ 0 - 5 ปี ไดร้ ับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัยลา่ ชา้ 2.3) รอ้ ยละ 90 ของเดก็ อายุ 0 - 5 ปี ทมี่ ีพัฒนาการสงสัยลา่ ชา้ ไดร้ บั การตดิ ตาม/สง่ ตอ่ 2.4) รอ้ ยละ 60 ของเดก็ พัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ บั การกระตนุ้ พัฒนาการด้วย TEDA4I 3 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ Green & Clean Hos (โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมากข้ึนไปร้อยละ 40 และโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก อยา่ งน้อยจังหวัดละ 1 แหง่ ) 4 ร้อยละตาบลทีม่ รี ะบบ Long Term Care ผา่ นเกณฑ์ 5 อตั ราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลมุ่ เสี่ยงเบาหวาน และ อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหติ ท่ีบ้าน 6 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์ (SA สามารถปฏบิ ตั ิงานได้จริง

P a g e | 38 เป้าหมาย ประจาปงี บประมาณ 2562 ผ่าน/ไมผ่ า่ น (1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62) ผลงาน อตั รา/ร้อยละ <17.00 0 / 256 0.00  /การเกดิ มชี พี แสนราย  72.77 spital ≥90.00 1,291 / 1,774 30.75  ก Plus ≥20.00 397 / 1,291 82.62 ≥90.00 328 / 397 100.00  AT) ท่ี ≥60.00 100.00  4 แหง่ 13 / 13  (ดีมาก Plus) 100.00 - รพ.ศรสี งั วรสุโขทัย 1.08 ≥60.00 คาดว่าจะไดร้ ะดับ 42.86 <2.05 ≥30.00 ดีมาก Plus - - 13 / 13 62 / 5,737 816 / 1,904 -

ตวั ชว้ี ดั 7 อัตราการคลอดมีชพี ในหญิงอายุ 15 - 19 ปี 8 โครงการ “3 ลา้ น 3 ปี เลิกบหุ รท่ี ่ัวไทย เทิดไท้องค์ราชัน” 9 รอ้ ยละผปู้ ่วยเบาหวานและ ความดนั โลหิตสูงทค่ี วบคมุ ได้ คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 10 รอ้ ยละ 60 ของอาเภอมีการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดบั อาเภอ (พชอ.) ทีม่ คี ณุ ภาพ 11 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดาเนินการในพื้นท่ี (Primary Care Cluster) (เป้าห กาหนดให้ PCC ที่เปิดดาเนินการในพื้นทยี่ อดสะสม รอ้ ยละ 36 (1,170 ทมี ) (จดั ตั้งทีมใหม่ 364 ท 12 ร้อยละของ รพ.สต. ท่ีผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว (เป้าหมาย รพ.สต.ผ่านเ ระดับ 3 ดาว 100% และระดับ 5 ดาวสะสม 60%) 13 อตั ราความสาเรจ็ ของการรักษาผปู้ ว่ ยวณั โรคปอดรายใหม่ (เปา้ หมาย >รอ้ ยละ 85) 14 ร้อยละโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) (เป้าหมาย : RDU ขั้น 1 ≥95%, RDU ≥20%) และ ร้อยละโรงพยาบาลที่มรี ะบบ AMR เป้าหมาย AMR ระดบั Intermediate ≥20% 15 อตั ราตายของผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (เปา้ หมาย <7) 15.1) อัตราตายของผ้ปู ่วยโรคหลอดเลือดสมองตบี /อุดตัน 15.2) อัตราตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก <25 15.3) ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ทีม่ ีอาการไม่เกนิ 72 ชม. ไดร้ บั การรักษาใน Stroke Un ≥40

P a g e | 39 ประจาปีงบประมาณ 2562 (1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62) เป้าหมาย ผลงาน อตั รา/รอ้ ยละ ผ่าน/ไมผ่ า่ น <38.00 39 / 1,389 28.08  /พนั ราย /พนั ราย - - - - 29.27  ≥40.00 39.05 ≥50.00 1,449 / 4,950 4,814 / 12,329 ≥60.00 1/1 100.00  หมาย ≥36.00 3/7 42.86  ทมี )) 84.21  เกณฑ์ ≥60.00 16 / 19 13.64   >85.00 6 / 44 10.19 ข้ัน 2 RDUขน้ั 1 ≥95.00 ผ่านเกณฑ์ RDU 3.64  25.34 RDUขั้น 2 ≥20.00 ขน้ั ท่ี 2 85.65 ≥20.00 ผา่ นระดบั 3 การดาเนินการ <7.00 ปานกลาง <5.00 49 / 481 <25.00 12 / 330 nit ≥40.00 37 / 146 412 / 481

ตวั ช้ีวัด 15.4) รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองตีบ/อดุ ตนั ระยะเฉยี บพลนั ทีม่ ีอาการไมเ่ กิน 4.5 ชม ไดร้ ับการรกั ษาดว้ ยยาละลายลม่ิ เลือดทางหลอดเลอื ดดาภายใน 60 นาที (Door to needl time) ≥50 15.5) รอ้ ยละของผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตกไดร้ ับการผา่ ตดั สมองภายใน 90 นาที ≥60 16 อตั ราตายผปู้ ว่ ยตดิ เชือ้ ในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด Community-acquired sepsis <30% 17 อัตราการเสยี ชีวติ ของผู้เจบ็ ปว่ ยวกิ ฤตฉกุ เฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชว่ั โมง ในโรงพยาบาล A, S, M1 เกณฑ์น้อยกว่ารอ้ ยละ 12 18 ร้อยละ 20 ของผู้ติดยาเสพติดที่บาบัดครบตามเกณฑ์ที่กาหนดของแต่ละระบบ และได้รับการต ต่อเนื่อง 1 ปี (Retention rate) 19 อตั ราการฆ่าตวั ตายสาเร็จ 20 รอ้ ยละของผปู้ ่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR <4 ml/min/1.73m2/y (66%) 21 รอ้ ยละของผปู้ ่วยทีเ่ ขา้ รับการผา่ ตดั แบบ One Day Surgery 22 อตั ราสว่ นจานวนผู้ยนิ ยอมบรจิ าคอวยั วะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจานวนผปู้ ่วยเสยี ชวี ิตในโรงพยาบ 23 อตั ราสว่ นของจานวนผูย้ ินยอมบรจิ าคดวงตาต่อจานวนผปู้ ่วยเสยี ชีวติ ในโรงพยาบาล 24 ร้อยละของผู้ป่วยนอกท้ังหมดท่ีได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟ้ืนฟูสภาพด้วยศ การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 25 STEMI 25.1) อตั ราตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 26/แสนประชากร

P a g e | 40 ประจาปีงบประมาณ 2562 (1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62) เป้าหมาย ผลงาน อัตรา/ร้อยละ ผา่ น/ไม่ผา่ น ม. ≥50.00 15 / 18 83.33 le 0/0 0.00  ≥60.00 29 / 56 51.79  <30.00 146 / 1,116 13.08 ลระดบั <12.00  7 / 13 53.85 ติดตาม ≥20.00 8 / 71,234 11.23 <6.3 ต่อแสนปชก. /แสนปชก. 55.23 ≥66.00 78 / 78 100.00 ≥20.00 3 / 579 0.52 บาล ≥0.80 Hospital Dead 12 / 579 2.07 ≥1.30 64,993 / 216,293 30.05 Hospital Dead ศาสตร์ ≥18.50 3 / 44 6.82 9 / 71,234 12.63 ≤10.00 /แสน ปชก. ≤26.00 /แสน ปชก.

ตัวชี้วดั คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การเพ่ือสนับสนนุ การจัดบรกิ 26 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกาลังคนท่ีมีประสิทธิภาพ (มีข้อมูล แผนการบ ตาแหน่ง การดาเนนิ การตามแผน และมีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ≥รอ้ ยละ 71) 27 จานวนหนว่ ยงานท่ีเป็นองค์กรแห่งความสุข (อยา่ งนอ้ ยจงั หวัดละ 1 แห่ง) 28 เขตสขุ ภาพดาเนินการ Digital transformation อยา่ งนอ้ ยเขตละ 1 จังหวัด 29 มกี ารใช้ Application สาหรบั PCC ใน PCC ทกุ แห่ง 30 ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารทป่ี ระสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 ≤ร้อยละ 4 31 ร้อยละของ รพ.สงั กัด กสธ. มคี ุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ข้ัน 3 (เปา้ หมาย รพศ./รพท กรม 100% , รพช.90%) 32 ร้อยละความสาเรจ็ ของส่วนราชการในสงั กดั สป. ท่ีดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภ ผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด (ร้อยละ 70 ของกองใน สป., รอ้ ยละ 70 ของ สสจ., ร้อยละ 40 ของ สสอ.) 33 ร้อยละของเขตสขุ ภาพทม่ี ีนวัตกรรมการบริหารจัดการ รอ้ ยละ 100 34 รอ้ ยละของหน่วยงานในสงั กดั สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ITA 35 ระดับความสาเร็จของหน่วยงานสังกัด สป. มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน แล บริหารความเสยี่ งระดบั จงั หวดั

P a g e | 41 เป้าหมาย ประจาปีงบประมาณ 2562 ผ่าน/ไมผ่ ่าน (1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62) ผลงาน อัตรา/ร้อยละ การสขุ ภาพ - - - - - ริหาร - - - - 0.00 - - 0/3 100.00  - วิกฤตทางการเงิน  ≥50.00 ระดบั 0 - ≤4.00 รอการประเมนิ -  เดือน ก.ย. 62 100.00 ท./รพ. 100.00 - - 100.00 ภาครัฐ - - - 100.00  - 1  ไตรมาสท่ี 3 (EB1- EB26) 85.00 ละการ 1

P a g e | 42 สว่ นท่ี 3 ผลงานสาคัญขององคก์ ร

P a g e | 43 ตารางที่ 18 ผลงานวิชาการ ประจาปงี บประมาณ 2562 ลาดบั ชอ่ื ผลงาน เจา้ ของผลงาน หน่วยงาน ประเภท วิจัย 1 การพฒั นารูปแบบการดแู ลผปู้ ว่ ยโรค นางสาวอภนั ตรี หอผู้ปว่ ยหลอดเลอื ดสมอง วจิ ยั วจิ ัย หลอดเลอื ดสมอง โรงพยาบาลศรสี ังวร กองทอง รพ.ศรสี งั วรสุโขทัย วจิ ัย สโุ ขทัย วจิ ัย 2 ผลการใช้แนวทางการหยอดยาใน นางสาววนดิ า จักษคุ ลนิ กิ วจิ ัย ผูป้ ว่ ยต้อหินปฐมภูมิคลินกิ จักษุ ศรีมว่ ง รพ.ศรสี ังวรสโุ ขทยั วิจัย วจิ ัย โรงพยาบาลศรีสังวรสโุ ขทัย 3 ผลของการใช้แนวปฏิบตั ิการ นางมนัสนนั ท์ หอผู้ป่วยหนัก พยาบาลเพื่อป้องกนั อบุ ตั ิการณ์ทอ่ แดงพัฒน์ รพ.ศรสี งั วรสโุ ขทัย ชว่ ยหายใจหลดุ ในหอผูป้ ว่ ยหนัก โรงพยาบาลศรสี ังวรสโุ ขทยั 4 การใชร้ ูปแบบการเตรยี มความพร้อม นางสาวกลั ยา หอผูป้ ว่ ยทารกวกิ ฤติ ในระยะเปลี่ยนผา่ นมารดาทารก ศทุ ธกจิ ไพบูลย์ รพ.ศรีสังวรสโุ ขทัย วิกฤตต่อความพึงพอใจของมารดา 5 การพัฒนาระบบการป้องกนั และ นางสาวบุญญรตั น์ หอผูป้ ่วยพเิ ศษเฉลมิ พระ ควบคมุ การแพร่กระจายเชื้อด้ือยา รตั นประภา เกียรติ ช้ัน 1 - 2 ควบคมุ พิเศษ โรงพยาบาลศรีสงั วร รพ.ศรสี งั วรสุโขทยั สุโขทยั 6 ผลของการวางแผนดแู ลลว่ งหนา้ ต่อ นางอรณุ งานดแู ลผู้ปว่ ย การตายดขี องผู้ป่วยมะเรง็ ระยะ โพธงิ าม ประคบั ประคอง ลกุ ลามแบบประคับประคอง รพ.ศรสี งั วรสโุ ขทัย 7 การเปรียบเทยี บผลของระบบบรกิ าร นางสาวสุภทั ทา กลมุ่ งานเวชกรรมฟน้ื ฟู ฟ้ืนฟใู นผปู้ ว่ ยหลอดเลอื ดสมองระยะ พุฒฤทธิ์ รพ.ศรสี งั วรสุโขทยั กง่ึ เฉยี บพลัน 8 การเปรียบเทยี บผลของการรักษา นางเบญจวรรณ กลมุ่ งานเวชกรรมฟ้นื ฟู ดว้ ยทา่ บริหารมณเี วชและเทคนคิ ใจบญุ รพ.ศรสี งั วรสโุ ขทัย Mobiization ในผ้ปู ว่ ย Frozen shoulder

P a g e | 44 ลาดบั ช่อื ผลงาน เจ้าของผลงาน หน่วยงาน ประเภท นายสพุ ล วจิ ยั 9 เปรยี บเทียบระยะเวลาการสบื คน้ อิทธิมา กลุ่มงานรงั สีวทิ ยา ขอ้ มูล การใชโ้ ปรแกรมประยุกตข์ อง รพ.ศรีสังวรสุโขทัย ข้อมูลรังสวี ทิ ยาและแบบฟอร์มการ นางภทั ราวดี ขอข้อมูล โตอ่นุ เพช็ ร ฝ่ายบรหิ าร วิจยั รพ.ศรีสังวรสโุ ขทยั 10 พัฒนาแนวทางป้องกันการตดิ เชื้อ นางอรณุ ของบุคลากรงานซักฟอกใน โพธงิ าม งานดูแลผปู้ ว่ ย สง่ิ ประดิษฐ์/ โรงพยาบาล ประคบั ประคอง นวัตกรรม นายภูตะวนั รพ.ศรสี ังวรสโุ ขทยั 11 ประหยัด และสะดวก ดว้ ยไส้กรอง คทวณชิ สงิ่ ประดิษฐ์/ อากาศจากผา้ ใยสังเคราะห์ กลุ่มงานเวชกรรมฟน้ื ฟู นวตั กรรม นางสาวสุภาภรณ์ รพ.ศรีสังวรสโุ ขทยั 12 แอพพลเิ คชน่ั e-Barthel Index พุ่มศโิ ร เพื่อประเมินผู้ป่วยกลมุ่ โรค Stroke หอผูป้ ่วยหลอดเลือดสมอง สิ่งประดษิ ฐ/์ ของกลมุ่ งานเวชกรรมฟืน้ ฟู นายธรี ยุทธ รพ.ศรีสังวรสุโขทยั นวัตกรรม เฉิดฉาย 13 รูเ้ ขา รู้เรา Discharge Planning งานวิสญั ญีพยาบาล CQI Control Board รพ.ศรสี งั วรสโุ ขทัย 14 โครงการพัฒนา :พบกันเม่ือวันกอ่ น (ผา่ ตัด)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook