Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book AR Test

e-book AR Test

Published by sarawut Rakpirom, 2020-03-07 22:01:31

Description: e-book

Search

Read the Text Version

ประวตั บิ า้ นแหลมนาว สพจ.ภูเก็ตCommunity Development Office Phuket Road Narison District Talatyai District Muang Province Phuket โทรศพั ท์ 0-7621-1584 โทรสาร อเี มล [email protected]

รายงานการพฒั นาหมบู่ า้ น (VDR) บา้ นแหลมนาว หมูท่ ี่ ๖ ตาบลนาคา อาเภอสขุ สาราญ จงั หวดั ระนอง **************** สว่ นที่ 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของหมบู่ า้ น ประวตั หิ มบู่ า้ น เม่ือประมาณปี พ.ศ.๒๔๐๐ มีราษฎรอพยพมาจากถ่ินฐานตา่ งๆ ประมาณ ๑๐๐ ครวั เรือน มาต้งั ถ่ินฐาน ณ หมู่บา้ นแห่งน้ีท่ีอุดมดว้ ยทรัพยใ์ นดิน สินในน้า ณ เวลาน้ันหมู่บา้ นแห่งน้ีทมี่ ีราษฎรอาศยั อยจู่ านวน มากและยงั ไม่ชื่อเรียกหมู่บา้ นแห่งน้ี จนมาถึงช่วงระยะเวลาหน่ึงชาวบา้ นไดต้ ้งั ช่ือหมู่บา้ นแห่งน้ีข้นึ เนื่องมาจาก ที่ต้งั หมู่บา้ นเป็ นแหลมยื่นมาจากบา้ นทะเลนอก ต.กาพวน อ.สุขสาราญ จ.ระนอง โดยระหว่างทางที่จะมา หมู่บา้ นน้ีมีการปลูกมะนาวกนั ทกุ ครวั เรือนจึงใหช้ ่ือหมูบา้ นน้ีวา่ “บา้ นแหลมนาว” โดยในขณะน้นั บา้ นแหลมนาวเป็ นหมู่ ๑ ของตาบลนาคา อ.สุขสาราญ จ.ระนอง โดยมีผนู้ าคือ นายเหตุ เวชศาสตร์ต่อมาได้แยกยา้ ยไปสู่สถานที่ต่างๆ เช่น ต.กาพวน อ.สุขสาราญ ต.บางหิน อ.กะเปอร์ จ.ระนอง ต่อมาเม่ือปี พ.ศ.๒๕๓๕ ไดม้ ีการประกาศใหบ้ า้ นแหลมนาวเป็น หมู่ที่ ๖ บา้ นแหลมนาว ต.นาคา อ.สุขสาราญ จ.ระนอง ปัจจุบนั มี ๓๐ ครัวเรือนทอ่ี าศยั อยู่ ณ หมู่บา้ นแห่งน้ี โดยหมู่บ้านแหลมนาวแห่งน้ีไม่มีเส้นทางเดินรถ กล่าวคือ “ไม่มีถนน ไม่มีไฟฟ้าจากการ ไฟฟ้า” การเดินทางโดยใช้เรือเป็ นเสน้ ทางหลกั ส่วนเส้นทางรองคือการเดินเทา้ ถือว่าเป็ นเส้นทางที่ทา้ ทาย สาหรับนกั เดินทางผแู้ สวงหาวถิ ีชีวติ ที่ใกลช้ ิดกบั ชุมชนอยา่ งแทจ้ ริง อาณาเขต ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั หมู่ที่ ๔ ตาบลม่วงกลาง อาเภอกะเปอร์ จงั หวดั ระนอง ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั หมู่ที่ ๑ ตาบลบางหิน อาเภอกะเปอร์ จ.ระนอง ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั หมู่ที่ 1 ตาบลกาพวน และหมู่ท่ี 2 ตาบลนาคา อาเภอสุขสาราญ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั ทะเลอนั ดามนั พ้นื ที่ บา้ นแหลมนาว มีพน้ื ทท่ี ้งั หมด ประมาณ ๑๑,๙๗๓ ไร่ หรือประมาณ ๑๖.๑ ตารางกิโลเมตร

ลกั ษณะภมู ิประเทศ บา้ นแหลมนาวมลี กั ษณะภมู ิประเทศเป็นแหลมที่ยนื่ ออกไปในทะเลอนั ดามนั และมีหมู่เกาะ สภาพ พ้นื ท่ีเป็นทีร่ าบเชิงเขา และมีชายหาดสองแบบขนาบขา้ งคือ ดา้ นตะวนั ออกเป็ นหาดเลน ส่วนดา้ นตะวนั ตกเป็น หาดทรายที่มีความสวยงาม และมีพน้ื ท่ปี ่ าชายเลนและป่ าบกทมี่ ีสภาพระบบนิเวศที่ยงั คงความอุดมสมบรู ณ์ ลกั ษณะท่ตี ้งั ของหมู่บา้ น มีการสรา้ งบา้ นเรือนท่ีมีลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะ คือมีโครงสร้างบา้ นเรือน และชุมชนส่วนใหญอ่ ยใู่ นทะเลเพราะหมู่บา้ นแหลมนาวเป็นหมู่บา้ นชาวประมงพ้นื ถ่ินที่ตอ้ งมีการเขา้ ออกทะเล บอ่ ยคร้ังชาวบา้ นจงึ มีการสร้างบา้ นในพน้ื ท่ชี ายฝั่งทะเลเพอ่ื ใหส้ ะดวกในการเดินทางเขา้ ออกทะเลเพอ่ื ประกอบ อาชีพประมง ภมู ิอากาศ อากาศโดยทวั่ ไป เยน็ สบาย ไม่ร้อนจดั ไม่หนาวจดั มีฝนตกชุกตลอดท้งั ปี เนื่องจากไดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงใต้ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ฤดูกาล ๓ สภาพอากาศ คอื สภาพอากาศรอ้ น ระหวา่ งเดือนกุมภาพนั ธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม ของทุกปี เป็ นช่วงฤดูรอ้ น สภาพอากาศฝนตกชุก ระหวา่ งเดือนมิถุนายน ถงึ เดือนตุลาคม ของทกุ ปี เป็ นช่วงฤดูฝนสภาพอากาศหนาวเยน็ ระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม เป็นช่วงฤดูฝน ๑.๒ การคมนาคม/การโทรคมนาคมและระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม ออกจากระนอง ใชเ้ สน้ ทางถนนทางหลวงหมายเลข 4 ถนนเพชรเกษม (ระนอง-พงั งา) ระยะทาง 90 กม. จากจงั หวดั ระนอง แยกขวาเขา้ เสน้ ทางซอยนาพรุ-ทะเลนอก ระยะทางจากปากซอยถึงบา้ นทะเลนอก 5 กม. หน่วยบริการสาธารณะทางสงั คม/การศกึ ษา/สาธารณสุข ทีม่ ีในหมู่บา้ น ดงั น้ี ๑)โรงเรียนประถมศกึ ษา จานวน ๑ แห่ง ๒) หอกระจายข่าว จานวน ๑ แห่ง ๓) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก จานวน ๑ แห่ง ๔) มูลนิธิช่วยเหลือสตั วป์ ่ า จานวน ๑ แห่ง ๕) อาคารเอนกประสงค์ จานวน ๓ หลงั ๖) มสั ยดิ โรงเรียนสอนศาสนา(ตาดีกา) จานวน ๑ แห่ง ๗) บาลาเซาะห์ จานวน ๑ แห่ง ๘) สถานีอนามยั จานวน ๑ หลงั ๙) ศูนยส์ าธารณสุขมูลฐาน(ศสมช.) จานวน ๑ แห่ง แหล่งน้า แหล่งนา้ ตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ลาคลอง จานวน ๓ แห่ง ลาหว้ ย จานวน ๔ แห่ง

แหล่งน้ากิน-นา้ ใช้ทส่ี ร้างขนึ้ ไดแ้ ก่ จานวน ๒ บอ่ บ่อบาดาลสาธารณะ จานวน ๑ แห่ง ประปาหมู่บา้ น จานวน ๓๐ ใบ ถงั ไฟเบอร์ จานวน ๑ แห่ง ฝายน้าลน้ ถนนและการคมนาคม ถนนลาดยาง ๒ สาย คือ สายทา่ ครอบ ไฟฟ้า มีไฟฟ้าใชท้ กุ ครัวเรือน โทรศพั ท์ มีตโู้ ทรศพั ทส์ าธารณะ ๑ ตู้ ๓ ๑.๓ ประชากร/สภาพทางเศรษฐกิจ/รายได้เฉลย่ี ประชากร บา้ นทะเลนอก หมู่ ๑ ตาบลกาพวน อาเภอสุขสาราญ จงั หวดั ระนอง ต้งั อยใู่ นเขตพ้นื ทอี่ งคก์ าร บริหารส่วนตาบลกาพวน เน้ือที่ ไร่ จานวนครัวเรือนท้งั หมด ๕๒ ครวั เรือน แยกเป็น ชาย ๗๐ คน หญงิ ๘๑ คน รวมท้งั สิ้น ๑๗๑ คน เศรษฐกิจชุมชน รายไดส้ ่วนใหญข่ องชาวบา้ น มาจากการประกอบอาชีพดา้ นรบั จา้ ง ประมง ทาสวน เศรษฐกิจอยใู่ น ลกั ษณะพออยพู่ อกิน รายไดเ้ ฉล่ีย ๔๑,๑๓๖.๐๒ บาท/คน/ปี ครัวเรือนมีการออมรอ้ ยละ ๑๐๐% ของครวั เรือนท้งั หมด ประชาชนมีไฟฟ้าใชค้ รบทุกครวั เรือน เสน้ ทางคมนาคมใชไ้ ดต้ ลอดท้งั ปี ดา้ นสงั คม สภาพบา้ นเรือนมีความมน่ั คงถาวร ๑๐๐% มีการจดั บา้ นเรือนเป็นระเบียบถูกสุขลกั ษณะ ครวั เรือนมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส์ ิน ชาวบา้ นส่วนใหญ่มีสุขภาพดี คนอายุ ๓๕ ปี ข้ึนไปไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจาปี ๖๑.๒ % เด็กและเยาวชนไดร้ ับการศกึ ษาภาคบงั คบั ทุกคนประชาชนอายุ ๑๕-๖๐ปี อ่านไม่ออกจานวน ๔ คน คิดเป็น ๙๖.๐๖ ทุกครวั เรือนไดร้ บั ข่าวสารทเ่ี ป็นประโยชน์ทกุ สัปดาห์

๑.๔ ผลิตภณั ฑ์ชุมชนและท้องถิน่ กลุ่มอาชีพ ผลิตภณั ฑข์ องชุมชน ผลิตภณั ฑเ์ ด่นของบา้ นทะเลนอก คอื สบู่สมุนไพร ผา้ บาตกิ เยบ็ จาก ๔ ๑.๔ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี เทศกาล ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ คนในชุมชนส่วนใหญ่นับถอื ศาสนาอิสลาม จงึ ให้ความสาคญั กับประเพณี วฒั นธรรมตามแบบฉบบั อิสลาม มีการประกอบกจิ กรรมทางศาสนาเป็ นประจาสมา่ เสมอ เช่น การละหมาด การถอื ศิลอดในเดือนรอ มาฏอน วนั ฮารีรายอ การบริจาคซากาต(ทาน) การเยยี่ มเยยี นคนป่ วย การช่วยครอบครัวผู้เสียชีวิต ฯลฯ ยัง มีการรวมกลุ่มกนั ในลักษณะกล่มุ อาชีพ มภี ูมปิ ญั ญา/ผู้รู้/ปราชญ์ชาวบ้าน ดงั นี้ ภมู ิปัญญา ผรู้ ู้ ปราชญช์ าวบา้ น ที่ รายละเอียดขอ้ มูลภมู ิ ช่ือ – สกลุ ผรู้ ู้ ท่ีอยู่ หมายเลข ปัญญา/ โทรศพั ท์ นางฮ้าสา้ หาญจติ ร ๒ ม. ๑ ต.กาพวน ความเชี่ยวชาญ นายสา้ แหลห้ มนั หาญจิตร ม. ๑ ต.กาพวน ๑. เยบ็ จาก นายสุไลมาน สืบเหตุ ๑๘ ม. ๑ ต.กาพวน ๒. ผนู้ าศาสนา นายร่าเหม หาญจติ ร ๒๑๑ ม. ๑ ต.กาพวน ๓. ทากะลามะพร้าว นางฝาติม๊ะ อินตนั ม. ๑ ต.กาพวน ๔. ลิเกป่ า,ใบจาก ๕. สานเสื่อ

6 ลอกใบจาก นายดนกอ้ ดีด น่ิมนวล 13 ม.1 ๑.๕ บริการในตาบล/แหล่งท่องเทีย่ ว/อัตลักษณ์หมู่บ้าน แหล่งทอ่ งเที่ยว/สถานบริการ ทีน่ ่าสนใจในหมู่บา้ น คอื ๑) หาดทะเลนอก ๒) การจดั การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศน์ (Home Stay) ๓ การท่องเทย่ี วทางทะเล อตั ลกั ษณ์หมู่บา้ น “หมู่บ้านท่องเท่ยี ว” วิสัยทศั น์หมู่บ้านหมู่บ้านทะเลนอก “พฒั นาอยา่ งบรู ณาการ ใหค้ นมีคุณภาพชีวติ ทีดี มีการศกึ ษาดี มีคุณธรรม นาการท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ พทิ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ เพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตคิดแบบเกษตรยง่ั ยนื ” ๕ ส่วนท่ี ๒ ประเมนิ ผลการพัฒนาระดบั หมู่บ้าน ๒.๑ ผลการสารวจข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.๒ค ปี ๒๕๕๔ จากการสารวจขอ้ มูล จปฐ. สรุปผลขอ้ มูลสาคญั ไดด้ งั น้ี  จานวนครวั เรือน ๕๒ ครัวเรือน  จานวนสมาชิก รวม ๙๐ คน แยกเป็น ชาย ๘๑ คน หญิง ๑๗๑ คน  ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รบั จา้ งทว่ั ไป  ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนา อิสลาม  ระดบั การศึกษาของคนในหมู่บา้ น (สูงสุด ๓ ลาดบั แรก) ๑. ป.๔-๖ ๒. ม.๑-๓ ๓. ต่ากวา่ ป ๔

 ครัวเรือนมีน้าด่ืมเพยี งพอ ๕๒ ครัวเรือน  ครวั เรือนมีน้าใชเ้ พียง ๕๒ ครวั เรือน  คนอายุ ๑๕-๖๐ ปี ไม่มีอาชีพและหรือรายได้ ๐ คน  คนท่อี ่านเขียนภาษาไทยไม่ได้ ๔ คน  จานวนคนพกิ าร ๑ คน  จานวนคนทีม่ ีรายไดต้ ่ากวา่ ๒๓,๐๐๐ บาทต่อคนต่อปี จานวน ๐ คน  รายรบั จากบญั ชีครัวเรือน ๓๗,๗๑๓.๘๐ บาทต่อคน ต่อปี รายจา่ ยจากบญั ชีครวั เรือน ๒๐,๔๔๙.๒๗ บาทตอ่ คนตอ่ ปี  รายไดเ้ ฉล่ีย ๔๑,๑๓๖.๐๒ บาทต่อคนตอ่ ปี  ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ๕๒ ครวั เรือน  เงนิ ออมจากบญั ชีครวั เรือน ๔,๗๔๒.๗๘ บาทต่อคนตอ่ ปี  บรรลุเป้าหมาย ๓๘ ขอ้  ไม่บรรลุเป้าหมาย ๒ ขอ้  ไม่มีขอ้ มลู ๒ ขอ้ คือ ตวั ช้ีวดั ท่ี ๒๖ เดก็ จบภาคบงั คบั ๙ ปี ไดฝ้ ึกอบรมดา้ นอาชีพ ๒.๒ สรุปภาพรวมการพฒั นาของหมู่บ้าน ชุมชน ผนู้ าชุมชนมีความรอบรู้ และใหค้ วามร่วมมือกบั ภาครฐั เป็ นอยา่ งดี ชุมชนพรอ้ มรบั การพฒั นา สมาชิกชุมชนมีความรักความสามคั คี สมาชิกชุมชนเช่ือฟังและใหเ้ กียรติผนู้ าศาสนา ชุมชนมีความสามคั คี ร่วมแรง ร่วมใจในการพฒั นาหมู่บา้ น มีจิตสานึกรกั ชุมชน มีความเอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ มีความหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ ๖ ภาครฐั /ภาคเอกชน  ทางานซ้าซอ้ น  ขาดประสิทธิภาพและความตอ่ เน่ือง ทุกภาคส่วนควรบรู ณาการงาน เพอ่ื ประหยดั เวลา ประหยดั งบประมาณ เพมิ่ ประสิทธิภาพสู่ความ มีประสิทธิผล

๒.๓ สรุปภาพรวมของการพฒั นาหมู่บา้ น เป็นหมู่พฒั นาอนั ดบั ๓ ซ่ึงการพฒั นาใกลเ้ คียงกบั หมู่บา้ นอื่นๆภายในตาบลกาพวน ส่วนที่ ๓ แนวโน้มทิศทางการพฒั นาหมู่บ้าน ๓.๑ การวิเคราะห์ศักยภาพหมู่บ้าน จดุ อ่อน จุดแข็ง ๑. ประชาชนส่วนใหญ่มีการศึกษาต่า ๑ เป็ นชุมชนขนาดเล็กสามารถดูแลไดท้ วั่ ถึง ๒ เยาวชนขาดโอกาสทางการศึกษา ๒. ทรัพยากรธรรมชาตสิ มบรู ณ์ ๓. ขาดความรู้ ความสารถในการบริหารจดั การ ๓.มีแหล่งท่องเท่ยี วและการบริการการทอ่ งเท่ียว กองทนุ ที่ดี ๔.เป็ นสงั คมเอ้ืออาทร สามคั คี ระบบเครือญาติ ๔. ความร่วมมือทางดา้ นการพฒั นามนี อ้ ย ๕.มีความเคร่งครดั ในศาสนา ๕. อาชีพไม่แน่นอน ๖.เป็ นหมู่บา้ นปลอดยาเสพตดิ ๖. ไม่มีเอกสารสิทธิในทีด่ ินทากิน ๗.มีสภาพพน้ื ทท่ี สี่ วยงาม วกิ ฤต(ิ อุปสรรค) โอกาส ๑. คณะกรรมการบริหารจดั การกองทุน/กลุ่ม ขาด ๑. มูลนิธิช่วยเหลือสตั วป์ ่ าต้งั อยใู่ นชุมชน ความรูค้ วามเขา้ ใจทางดา้ นวชิ าการ ๒. นโยบายรฐั บาล/นโยบายจงั หวดั อาเภอ ๒.ขาดการบรู ณาการกองทนุ และการบริหารจดั การท่ดี ี ๓. องคก์ รเอกชน มูลนิธิ ๓.การบริหารจดั การยงั หวงั พ่งึ พงิ ภายนอกทาให้ขาด ๔.โครงการพฒั นาศกั ยภาพหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ความเป็นตวั ของตวั เอง (พพพ.) ๔.วสิ ยั ทศั นท์ างการพฒั นาขององคก์ รทอ้ งถิ่น ผนู้ า ๕.โครงการตามยทุ ธศาสตร์อยดู่ ี มีสุข,ชุมชนพอเพยี ง และสมาชิกแกนนา ๖.มีการทอ่ งเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์ ๓.๒ แนวทางแก้ไขของชุมชน (แผนพฒั นาหมู่บ้าน) ลาดบั สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข ความสาคญั ๑. การขาดโอกาสทางการศึกษา - ปรับปรุงคุณภาพทางดา้ นการศึกษา โดยใหก้ าร สนบั สนุนดา้ นทรัพยากร ดา้ นบริการการศึกษาทพ่ี อเพยี ง - สนบั สนุนใหโ้ อกาสในการศกึ ษาตอ่ - เปิ ดโอกาสใหท้ กุ คนไดเ้ ขา้ ถึงการศึกษาในทกุ ระบบท้งั การศกึ ษาในและนอกระบบ ๗

ลาดับ สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข ความสาคญั - ปรับปรุงคุณภาพทางดา้ นการศกึ ษา โดยใหก้ าร ๑. การขาดโอกาสทางการศกึ ษา สนบั สนุนดา้ นทรัพยากร ดา้ นบริการการศกึ ษาที่ พอเพยี ง ๒. ขาดความรู้ ความสามารถในการ - สนบั สนุนใหโ้ อกาสในการศกึ ษาตอ่ บริหารจดั การกองทนุ ท่ดี ี - เปิ ดโอกาสใหท้ ุกคนไดเ้ ขา้ ถึงการศกึ ษาในทุกระบบ ท้งั การศกึ ษาในและนอกระบบ ๓. ทดี่ ินทากินไม่มีเอกสารสิทธ์ิ - จดั ทาแผนการบริหารจดั การ การบริหารกองทุนใน ๔. ชาวบา้ นขาดการมีส่วนร่วม ภาพรวมอยา่ งเป็ นระบบ - ออกเอกสารสิทธิในทีด่ ินทากิน ๕. มูลสตั วบ์ นถนน - กาหนดระเบียบขอ้ บงั คบั ของหมู่บา้ น - ระดมผนู้ าชุมชน ร่วมจดั ทาแผนชุมชน และให้ ชาวบา้ น มีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามแผน - ส่งเสริมการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกนั -ออกกฎระเบียบการอยรู่ ่วมระหวา่ งคนกบั สตั ว์ ส่วนที่ ๔ รายงานการพฒั นาหมู่บ้าน (VDR) ๔.๑ ภาพรวมผลการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์กรมการพฒั นาชุมชนระดบั หมู่บา้ น การดาเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบเฉลิมพระเกยี ติ ๘๔ พรรษา

ดา้ นที่ ๑ ดา้ นการลดรายจา่ ย - -ชุมชนไดม้ ีการสอนใหส้ มาชิกในชุมชน ไดเ้ รียนรู้การทาบญั ชีครัวเรือน - -ปลูกผกั สวนครัว ร้วั กินได้ เช่น พริก ตะไคร้ ใบกระเพรา ผกั ต่าง ๆไวก้ ินเองใน - -การผลิตน้ายาลา้ งจาน น้ายาปรับผา้ นุ่มและ สบูใ่ ชเ้ องในครัวเรือน การทาพรมเช็ดเทา้ การทายา สระผมจากยา่ นสะบา้ การทาขนมกะหรี่ป๊ับ ดา้ นท่ี ๒ ดา้ นการเพมิ่ รายได้ - มีกลมุ่ อาชีพในชุมชน จานวน 5 กลุ่ม สมาชิกท้งั ส้ิน 56 คน -สมาชิกชุมชนมีการเล้ียงปลา เล้ียงไก่ เล้ียงแพะ ควาย ๘ ดา้ นที่ ๓ ดา้ นการประหยดั - ครัวเรือนมีการออมทรพั ย์ 64 ครัวเรือน - มีกลุม่ /กองทุนชุมชน จานวน ๖ กลุ่ม ไดแ้ ก่ กองทุนหมู่บา้ น กองทนุ ยเู สด สหกรณ์เครดิตยเู นี่ยน กลุ่มสบู่สมุนไพร, ชมรมการท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ ,กลุ่มเล้ียงปดู า,กลุ่มพฒั นาศกั ยภาพโฮมเสตย์ ดา้ นท่ี ๔ ดา้ นการเรียนรู้ - มีการสืบทอดและใชภ้ มู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน เช่น การเยบ็ จาก, การทากะปิ , การเล้ียงปลาในบอ่ ดิน - มีการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓๐ ครัวเรือน - จุดเรียนรูก้ ารทาน้ายาลา้ งจาน - จุดเรียนรูก้ ารทาน้ายาปรับผา้ นุ่ม - จดุ เรียนรู้การเล้ียงปลาในบ่อดิน - จดุ เรียนรู้การเยบ็ จาก - จุดเรียนรูก้ ารทาใบจาก - จุดเรียนรู้การทาสบู่สมุนไพร - ศนู ยเ์ รียนรู้ดา้ นขอ้ มูลการทอ่ งเทยี่ ว - จุดเรียนรู้กิจกรรมเยาวชน

ดา้ นท่ี ๕ ดา้ นการอนุรกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ มและใชท้ รัพยากรอยา่ งยงั่ ยนื - ทอ่ งเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และกิจกรรมโฮมสเตย์ จานวน ๒๒ ครวั เรือน - ครวั เรือนมีการจดั การขยะ จานวน 64 ครัวเรือน ดา้ นท่ี ๖ ดา้ นการเอ้ืออารีต่อกนั - สมาชิกชุมชนบา้ นทะเลนอก ร่วมเป็นสมาชิกกองทนุ ฌาปนกิจตาบลกาพวนทกุ ครัวเรือน - การช่วยเหลือกนั ในรูปแบบของหลกั การศาสนาอิสลาม นน่ั ก็คือ การบริจาคซากาต (ทาน) - มีการลงแขก มีการแลกเปลี่ยนแรงงานเพอื่ ช่วยเหลือกนั - หมู่บา้ นมีการจดั กิจกรรมวนั ฮารีรายอ - ชุมชนรูร้ ักสามคั คี มีแผนชุมชนและใชแ้ ผน ชุมชนในการป้องกนั , แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาตาม แผนชุมชน ดา้ นที่ ๗ ดา้ นสุขภาพอนามยั - คนอายุ ๓๕ ปี ข้ึนไป ไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจาปี จานวน คน คิดเป็นร้อยละ เด็กแรกเกิด – ๑๒ ปี ไดร้ ับวคั ซีนตามเกณฑ์ ท่กี าหนดทุกคน ดา้ นท่ี ๘ ดา้ นความมนั่ คงปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน - ครวั เรือนปลอดยาเสพตดิ ร้อยละ ๙๕ ของครวั เรือนท้งั หมด - หมู่บา้ นมีชุดรกั ษาความปลอดภยั ของหมู่บา้ น - มีการจดั ต้งั ร้ัวชุมชนป้องกนั ยาเสพติด จานวน ๑ ชุด (ชุด ชรบ.หมู่บา้ น จานวน ๘ คน) และสรา้ ง เครือขา่ ยร้ัวครอบครวั , สตรีและเยาวชน ร่วมสอดส่องดูแลความสงบเรียบรอ้ ยในหมู่บา้ น ๙ ดา้ นท่ี ๙ ดา้ นการรับรู้ขา่ วสาร - มีการประชุมประจาเดือนทกุ วนั ที่ ๕ ของเดือน ณ ศูนยร์ วมใจบา้ นทะเลนอก

- ครวั เรือนเขา้ ร่วมเวทีปรบั แผนชุมชน อยา่ งนอ้ ยปี ละ – ๓ คร้ัง จานวนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ของ ครวั เรือนท้งั หมด - กรมการหมู่บา้ น และผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล จปฐ. เขา้ ร่วมเวทตี รวจสอบขอ้ มูล จปฐ. จานวน ๓๐ ครวั เรือน - ครวั เรือนไดร้ ับรูข้ า่ วสารที่เป็นประโยชนส์ ปั ดาห์ละ ๕ คร้งั ๕๒ ครวั เรือน - มีและใชห้ อกระจายขา่ ว การดาเนินงานการบริหารจดั การทุนชุมชน คน้ หาทนุ ชุมชน จานวน ๕ ทุน ๑)ทนุ มนุษย์ -ภูมิปัญญาในการทากะปิ (นางร่มละ๊ ภกั ดี) -นายสุไลมาน สืบเหตุ (ทากะลามะพรา้ ว) -นางฮ้าสา้ หาญจติ ร( เยบ็ จาก) -นายสา้ แหลห้ มนั หาญจติ ร( ผนู้ าศาสนา) -นายร่าเหม หาญจิตร(ลิเกป่ า) -อสม.,ชรบ.,อพปร ๒)ทนุ สงั คม -เครือข่ายการวจิ ยั ชุมชน -ชมรมทอ่ งเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ -กลุ่มสบสู่ มุนไพร -กลมุ่ อาชีพเยาวชน -กลมุ่ บาตกิ -การแตง่ กายแบบมุสลิม -การถือศลิ อด -มูลนิธิช่วยเหลือสตั วป์ ่ า ๓)ทนุ กายภาพ -โรงเรียน -สถานีอนามยั -หอเตือนภยั -ศาลาเอนกประสงค์ -ศูนยร์ วมใจ -ท่าเทยี บเรือ -รีสอร์ท -แปลงสาธิตทางทะเล -ฝายน้าลน้ ๔)ทุนธรรมชาติ -ป่ าโกงกาง -หาดทะเลนอก -ป่ าชายเลน -น้าตกโตนตน้ โบระ ๕) ทนุ การเงนิ -กลมุ่ ออมทรพั ย์ ฯกองทุนยเู สด -กองทนุ หมู่บา้ นทะเลนอก -สหกรณ์เครดิตยเู น่ียน

๑๐ ๔.๒ สรุปภาพรวมของหมู่บ้าน/จดุ เด่น/จดุ ด้อย การวเิ คราะหข์ อ้ มูลของหมู่บา้ น ๑. จดุ อ่อนของหมู่บา้ น (ปัญหา/อุปสรรค) ดา้ นเศรษฐกิจ กระแสโลกาภวิ ตั น์ ชนบทปรับตวั ไม่ทนั เช่น ใชข้ องฟ่ ุมเฟื อย ไม่ไดป้ ระโยชน์อยา่ งแทจ้ ริง เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ, อินเตอร์เน็ต ,อาชีพไม่แน่นอน, ปัญหาการวา่ งงานของสตรีวยั ทางาน ดา้ นสงั คม ขาดความรบั ผดิ ชอบในสงั คมส่วนรวมของชุมชน คือ ความร่วมมือกบั ชุมชนในการพฒั นาหมู่บา้ นมี นอ้ ย ขาดความรู้เร่ืองการใชท้ รัพยากรทีถ่ ูกตอ้ ง ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาทีด่ ินไม่มีเอกสารสิทธ์ิ, ปัญหามูลสตั วบ์ นถนน ดา้ นความมน่ั คงและความสงบเรียบรอ้ ย ความแตกแยกจากผลของการเมือง ดา้ นการบริหารจดั การ คณะกรรมการหมู่บา้ นไมม่ ีงบประมาณเป็ นของตนเองตอ้ งของบสนบั สนุนจากหน่วยงานอื่นๆ ๒. จุดแขง็ ของหมู่บา้ น (ศกั ยภาพ-ความสามารถของหมู่บา้ น ดา้ นเศรษฐกิจ มีกองทุนการเงินในชุมชนเช่นกองทุนยเู สด , กองทนุ หมู่บา้ นและสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยน และกองทนุ หมูบา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง มีเงนิ ทุนเพยี งพอท่ีจะดูแลสมาชิกชุมชนไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ดา้ นสงั คม คนในชุมชนมีความเป็นอยดู่ ว้ ยความเอ้ืออาทร ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั คนในชุมชนมีสุขภาพดีถว้ น หนา้ , ครอบครวั เขม้ แขง็ พ่งึ ตนเองได้ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาตทิ เ่ี หมาะสมในการประกอบอาชีพ เช่น ประมงชายฝั่ง, มีน้าใชใ้ นการเกษตร, มี ไฟฟ้าใชท้ ุกครัวเรือน, การทอ่ งเท่ียวเชิงอนุรกั ษ,์ สิ่งแวดลอ้ มอากาศบริสุทธ์ิ ดา้ นความมน่ั คงและความสงบเรียบรอ้ ย มีชุด ชรบ.ตรวจตราความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บา้ น

ดา้ นการบริหารจดั การ ภาคพี ฒั นาและองคก์ รเอกชน เขา้ ไปแนะนาและส่งเสริมใหจ้ ดั ต้งั กลุ่มในหมู่บา้ น และมีการวจิ ยั ภมู ิ ปัญญาการทากะปิ ในชุมชน

รายงานการพฒั นาหมู่บา้ น (VDR) หมู่ท่ี ๑ บา้ นทะเลนอก ตาบลกาพวน อาเภอสขุ สาราญ จงั หวดั ระนอง โดยสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอสุขสาราญ ข้อมูล ณ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔

สารบญั เรอื่ ง หน้า รายงานการพฒั นาหมบู่ า้ น (VDR) สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลท่วั ไปของหมบู่ า้ น ๑ -ขอ้ มูลท่วั ไปของหมบู่ า้ น -การคมนาคม/การโทรคมนาคมและระบบสาธารณูปโภค ๒ -ประชากร/สภาพทางเศรษฐกจิ /รายไดเ้ ฉลยี่ ๒ - ผลติ ภณั ฑ์ชุมชนและทอ้ งถนิ่ กลุ่มอาชีพ ๓ - ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี เทศกาล ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ๔ -บรกิ ารในตาบล/แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว/อตั ลกั ษณ์หมบู่ า้ น ๔ สว่ นที่ ๒ ผลการสารวจขอ้ มลู จปฐ. และขอ้ มลู กชช.๒ค ปี ๒๕๕๔ ๒.๑ ผลการสารวจขอ้ มูล จปฐ. และขอ้ มลู กชช.๒ค ปี ๒๕๕๔ ๕ ๒.๒ สรุปภาพรวมการพฒั นาหมบู่ า้ น ๖ สว่ นที่ ๓ แนวโน้มทศิ ทางการพฒั นาหมบู่ า้ น ๓.๑ การวเิ คราะหห์ศกั ยภาพหมบู่ า้ น ๗ ๓.๒ แนวทางแกไ้ ขของชมุ ชน ๗ สว่ นที่ ๔ รายงานการพฒั นาหมบู่ า้ น (VDR) ๔.๑ ภาพรวมผลการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์กรมการ ๘ พฒั นาชมุ ชน ๔.๒ สรปุ ภาพรวมของหมบู่ า้ น/จุดเดน่ /จุดดอ้ ย ๑๑




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook