Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยามีละห์

ยามีละห์

Published by Bushra Wajeeissmai, 2021-07-06 02:36:34

Description: ยามีละห์

Search

Read the Text Version

แบบประเมินคดั เลือก สาขาบคุ ลากร กศน.อาเภอสไุ หงปาดี ประเภท ครู กศน.ตาบลดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๓ นางยามีละห์ สิงหะ ตาแหน่ง ครูอาสา ฯ ประจาศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน

คานา แบบประเมินคัดเลือก สาขาบุคลากร กศน.อาเภอ/เขต ประเภท ครู กศน.ตาบลดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๓ นี้ เป็นเอกสารประกอบการประเมินครู กศน.ตาบลดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๓ ของ นางยามีละห์ สิงหะ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส ผู้ขอรับการประเมิน ได้รวบรวมหลักฐานเอกสารส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานในหน้าท่ีที่รับผิดชอบและที่ได้รับมอบหมาย เพื่อเป็น หลักฐานอ้างองิ ประกอบการรายงานสรปุ องค์ประกอบ มีทั้งหมด ๓ ตอน ดงั นี้ ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ท่วั ไป ตอนท่ี ๒ ขอ้ มลู การประเมนิ มี ๒ ด้าน คือ ดา้ นท่ี ๑ การมวี ินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านท่ี ๒ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตอนที่ ๓ ผลงานท่ีประสบความสาเร็จ ผู้ขอรับการประเมิน ขอรับรองว่าเอกสารเล่มน้ีเป็นข้อมูลที่เป็นความจริงทุกประการ และเป็น ส่วนหน่ึงของการปฏิบัติงานเท่านั้น ยังมีเอกสารหลักฐานอ่ืนที่เกี่ยวข้องอยู่ท่ีสถานศึกษาที่ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า จะได้รับกาลังใจจากท่านคณะกรรมการพิจารณา ครู กศน.ตาบลดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๓ ขอขอบคุณ นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสุไหงปาดี ท่ีได้สนับสนุนการจัดกิจกรรมตามแผนงาน ประสบความสาเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ ขอขอบคุณครูผู้ช่วย ครูอาสาฯ ประจาตาบล และเครือข่ายทุกภาคส่วน ที่ได้สนับสนุนให้ความร่วมมือจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี หากเอกสารเล่มนี้มีข้อผิดพลาด บกพร่องประการใด ผู้ขอรบั การประเมนิ ขออภยั มา ณ โอกาสนดี้ ว้ ย นางยามีละห์ สงิ หะ ครู กศน.ตาบล

สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ แบบประเมนิ คดั เลือก สาขาบุคลากร กศน.อาเภอ/เขต ประเภทครู กศน.ตาบลดีเด่น ) ประจาปี ๒๕๖๓ ๑ ตอนท่ี ๑ ขอ้ มลู ทว่ั ไป ๙ ตอนที่ ๒ ข้อมูลการประเมิน ๑๐ ดา้ นที่ ๑ การมวี ินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม องคป์ ระกอบท่ี ๑ การมวี นิ ัย ๑๐ องค์ประกอบท่ี ๒ การปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ๑๕ องคป์ ระกอบที่ ๓ การดารงชวี ิตอย่างเหมาะสม ๒๒ องคป์ ระกอบท่ี ๔ ความรู้และความศรัทธาในวชิ าชีพ ๒๔ องคป์ ระกอบที่ ๕ ความรับผดิ ชอบในวิชาชพี ๒๙ ด้านที่ ๒ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ๒.๑ เชงิ ปรมิ าณ องค์ประกอบท่ี ๑ การจดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ๓๒ องคป์ ระกอบที่ ๒ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การบริหารงานทว่ั ไป ๓๖ องค์ประกอบท่ี ๓ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพัฒนาวิชาการ ๓๗ องค์ประกอบท่ี ๔ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาภาคเี ครือข่ายและอน่ื ๆ ๓๙ ๒.๒ เชิงคณุ ภาพ องค์ประกอบที่ ๑ การจัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ๔๐ องคป์ ระกอบท่ี ๒ สง่ เสริมและสนบั สนุนการบรหิ ารงานทวั่ ไป ๔๒ องคป์ ระกอบที่ ๓ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพัฒนาวิชาการ ๔๔ องคป์ ระกอบที่ ๔ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพัฒนาภาคีเครือข่ายและอื่น ๆ ๔๔ ดา้ นที่ ๓ ผลงานทปี่ ระสบความสาเร็จ องคป์ ระกอบที่ ๑ การพัฒนา กศน.ตาบล/แขวน ๔๕ องค์ประกอบที่ ๒ การยอมรบั ของสงั คมและชมุ ชน ๔๕ องคป์ ระกอบท่ี ๓ ผลงานมีประโยชน์ตอ่ องค์และมีการขยายผล ๔๕

ตอนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชื่อ-สกุล นางยามีละห์ สิงหะ อายุ ๔๔ ปี ๒. ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๓.ระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาศิลปศาสตร์บัณฑิต (การจัดการท่ัวไป) ช่ือสถานศึกษา สถาบนั ราชภัฏยะลา ๔. สถานที่ทางาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ตาบลปะลุรู อาเภ อสุไห งป าดี จังห วัดน ราธิวาส โท รศัพ ท์ ๐ ๗ ๓ -๖ ๕ ๑ ๖ ๕ ๗ โท รสาร ๐ ๗ ๓ -๖ ๕ ๑ ๖ ๕ ๗ E-mail : [email protected] โทรศพั ทม์ อื ถอื ๐๙๑-๘๔๕๘๐๖๖ E-mail: [email protected] ๕. หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบ ๕.๑ หนา้ ที่หลกั จัดการเรียนการสอนสายสามญั ขั้นพ้นื ฐาน ๕.๒ หน้าท่ีรอง งานขอ้ มลู สารสนเทศ ๖. อายรุ าชการ ๑๘ ปี ๗. ระยะเวลาปฏบิ ัตงิ านในตาแหนง่ ทข่ี อรับการประเมิน ๑๓ ปี

ตอนที่ ๒ ข้อมูลการประเมนิ ด้านท่ี ๑ การมีวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม องค์ประกอบที่ ๑ การมีวินยั การทางานในองค์กรที่มีบุคลากรรวมกันต้ังแต่ ๓ คนขึ้นไปจาเป็นจะต้องมีการวางระบบและระเบียบ ในการจดั การให้เป็นไปตามแผนงานท่ีวางไวเ้ พือ่ ให้องค์กรสามารถดาเนินงานตามเปา้ หมายทวี่ างไว้ การมีวินัยในตนเอง ยอมรับและถือปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผน อันดีงามของสังคม ผู้ขอรับการประเมินมีวินัยในตนเอง ยอมรับและถือปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผนอันดีงามของสังคม การเป็นแบบอย่างที่ดี โดยผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติตาม ทกุ คาส่ังท่ีได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ และได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ครู ผู้ขอรับการประเมิน ได้ปฏิบัติหน้าท่ีตามคาส่ังอย่างเคร่งครัด ในการเป็นครู ปฏิบัติตามคาส่ังอย่างเคร่งครัดโดยมิให้เกิด ความเสียหายแก่ทางราชการและการเป็นผู้นาในการเสริมสร้างการพัฒนาด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติตามจรรยาบรรณครูและรักษาช่ือเสียงของสถานศึกษา การรักษาและเสริมสร้างวินัยในตาแหน่งหน้าท่ีราชการ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน ของ ทางราชการ ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม โดยผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติตามทุกคาสั่งท่ีได้รับมอบหมาย อย่างเตม็ ความสามารถทุกคาสงั่ การมสี ว่ นรว่ มเสริมสร้างวินยั แกผ่ อู้ ื่นผูข้ อรับการประเมินไดป้ ฏบิ ัติหน้าท่ีครูที่ดี ๑.๑) ตรงตอ่ เวลา ผู้ขอรับการประเมิน มีการปฏิบัติงานท่ีก่อให้เกิดผลงานและประโยชน์สูงสุดโดยการปฏิบัติงานให้แล้ว เสร็จตามเวลาทกี่ าหนด การตรงตอ่ เวลาและการอทุ ิศเวลาให้แกท่ างราชการและผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง ผ้ขู อรับการประเมนิ ได้มาปฏิบัติหน้าท่อี ยา่ งสม่าเสมอ ตรงต่อเวลาท้ังเวลามาปฏิบัตหิ นา้ ทรี่ าชการปกติ ผู้ขอรับการประเมินจะมาเช้า ๐๗.๓๐ น. อย่างช้าสุดเวลา ๐๘.๐๐ น. วางแผนทางานตามลาดับความเร่งด่วน ของงานในหน้าท่ีรับผิดชอบตามลาดับเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงานทาได้ทันเวลา และมีคุณภาพ การพัฒนาตนเอง ให้เป็นคนตรงต่อเวลาน้ันเราสามารถทาได้โดยการที่เรารู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสมกับกิจกรรมต่าง ๆ เป็น การจัดระเบียบให้กับชีวิต สาหรับในการทางานคือการพยายามทางานหรือส่งงานให้เสร็จก่อนเวลาเพื่อมีเวลา

ตรวจทานและสง่ งานใหต้ รงตามกาหนดรวมถึงหากนัดหมายกับผู้ใดควรทีจ่ ะเผ่ือเวลาในการเดนิ ทางเพื่อไปให้ถึง จุดหมายก่อนเวลาสักเล็กน้อย เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเร่งรีบรวมถึงมีเวลาเตรียมความพร้อมให้กับตนเอง การท่ีเรา เป็นคนที่ขยันขันแข็งเอาการเอางาน มีความกระตือรือร้นรักที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ช่วยให้เราไม่เฉื่อยชา ทันสมัย มีชีวิตชีวา เป็นคนมีวินัย สามารถจัดการกับงานหรือสิ่งท่ีผ่านเข้ามาได้อย่างเป็นระเบียบ จึงทาให้เป็นคน ท่ปี ระสบความสาเร็จ มีความก้าวหน้าในชีวิต การปลูกจิตสานึก คือการปลุกเร้าตนเองใหป้ ฏิบัติหนา้ ทอ่ี ย่างเต็ม ความสามารถและมีความรบั ผดิ ชอบ ๑.๒) ใชท้ รพั ยากรอย่างประหยัด ในการปฏิบัติงานแต่ละภารกิจท่ีผู้ขอรับการประเมินได้รับมอบหมาย ผู้ขอรับการประเมิน มีการวางแผน การปฏิบัติงานและใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดเพื่อประโยชน์ส่วนรวมขององค์กร ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ในเร่ืองการประหยัด มัธยัสถ์ อดออมไม่ฟุ่มเฟือยเกินจาเป็น ใช้จ่ายในส่ิงที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต การจัดการรายได้ของครอบครัวอย่างเหมาะสม ปฏิบัติจนเป็นนิสัย ทั้งอยู่ท่ีบ้านและที่ทางาน และดาเนินชีวิต อย่างพอเพียง รู้จักอดออมยอมรับในความพอดี พอใจในส่ิงท่ีมีอยู่ ไม่สร้างปัญหาให้ส่งผลกระทบต่อหน้าท่ี ของการทางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมท้ังการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้นักเรียนรู้จักการประหยัด และการอดออมรู้จักใช้เงินอย่างคุ้มค่า พอประมาณ มีเหตุผลมาตั้งแต่เด็ก เห็นต้นแบบการรู้จักใช้จ่ายของแม่ ในการวางแผนการใช้จ่าย ต้ังแต่ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อได้รู้และวางแผนการจ่ายให้เพียงกับเงนิ ท่ีได้รับ ไม่ต้องมีหนี้สนิ เขยี นไว้ทกุ อย่างท่ีรับ และเขียนทุกอย่างทจ่ี ่าย ส่งผลให้มองเห็นคา่ ใช้จ่ายท่ไี ม่จาเป็นได้สามารถ ลดส่วนน้ันออก มีเงินเหลือเก็บไว้ใช้ยามจาเป็น แม่ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล จ่ายให้น้อยกว่าเงินท่ีหามาได้ เป็นด่านแรกที่ต้องคิดต้องทาก่อนปล่อยให้เม็ดเงนิ ไหลออกไป และคาแนะนาน้ีชัดเจนถือเป็นกฎจาเป็นต้องทา หรือท่องจาไว้ในใจเสมอว่า ไม่มีใครเคยใช้จ่ายเกินรายได้ แล้วจะสามารถไปถึงเป้าหมายความม่ันคง ทางการเงินได้ ซื้อแต่ส่ิงสาคัญจาเป็น อีกกฎหนึ่งท่ีสาคัญ นอกจากให้ซื้อ แต่ส่ิงสาคัญและจาเป็นแล้ว ขอให้ลืม สง่ิ ของนอกรายการที่อยากได้ไปเลย หากซื้อหาของใช้ที่จาเป็น รองรับความต้องการในการดารงชีพขั้นพ้ืนฐาน ได้ครอบคลุมแล้ว เงินท่ีเหลือสามารถนาไปใช้อย่างรอบคอบในกิจกรรมอ่ืน การใช้เงินท่ีเหลืออย่างรอบคอบ

ไม่ได้หมายถึง ความรอบคอบในการคลั่งไคล้อยากได้ด้วยอารมณ์ช่ัววูบตามแฟชั่น การไล่ตามให้ทันสินค้าหรือ ของออกใหม่ล่าสุด ไม่ทาให้มีความสุขเท่ากับจ่ายเงินซื้อของที่มีคุณค่าสาหรับตัวเอง อย่าเกิดความไม่ม่ันใจ ในจุดยืนของตัวเอง ๑.๓) ซือ่ สตั ย์ตอ่ ตนเอง ผู้ขอรับการประเมิน ป ฏิบั ติงาน ด้วย ความซื่อสัตย์ สุ จริตซึ่ งเห็ น ได้จากความไว้ว างใจ ของผู้ บริห า ร สถานศึกษาและภาคเี ครอื ข่าย ผู้ขอรับการประเมินความซ่ือสัตย์ตรงต่อตนเองเสมอ ไม่เคยหลอกตวั เองยอมรับ และพอใจในส่ิงท่ีตัวเองมีและที่เป็นของตัวเอง ค่อยทบทวนพัฒนาส่ิงที่บกพร่องและพัฒนาตนเองทุก ๆ ด้าน ตามลกั ษณะท่ีหนว่ ยงานและสังคมพึงประสงค์ มคี วามสุจรติ ในการปฏิบัติหน้าที่และทาวันนี้ใหด้ ีท่ี เติมคุณค่า ใหก้ ับตนเองตลอดเวลาเท่าท่ีทาได้ผู้ขอรับการประเมินรักชีวิตราชการและปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีเพ่ือรักษา เกียรติของตนเองและของราชการไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ผู้ขอรับการประเมิน รับผิดชอบ เป็นงานท่ีเส่ียงต่อทุจริต หาผลประโยชน์ได้ แต่ผู้ขอรับการประเมินไม่เคยคิดว่าจะกระทาผิด มีความซ่ือสัตย์สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่ไม่มีผลประโยชน์ซับซ้อนรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ เสมอมา หลักความโปร่งใส ผู้ขอรับการประเมินปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ทุกกิจกรรม ใช้คติว่า “ซ่ือกินไม่ คดกินไม่นาน” ก่อนได้บรรจุเป็นพนักงานราชการ ผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่ง ครศู นู ย์การเรียนชุมชน ๗ ปี ไมเ่ คยเสื่อมเสียในเรอ่ื งหาผลประโยชนแ์ ละไมซ่ ่อื สตั ย์ต่อหนา้ ท่ี

๑.๔) ซ่ือสตั ยต์ ่อครอบครวั ผู้ขอรับการประเมินมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมซึ่งเห็นได้ จากการใช้ ชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุขหน้าท่ีหรือความรับผิดชอบของครอบครัวที่จะต้องร่วมกันสร้างความซื่อสัตย์ ให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นคือการสร้างจิตสานึกขึ้นในตัวของบุคคลในครอบครัว โดยเริ่มต้นท่ีตนเองก่อน โดย การทาตนเปน็ คนซ่อื สัตยต์ ้นแบบ ผ้เู ปน็ หวั หน้าครอบครัว ต้องทาตนเปน็ ต้นแบบหรือแม่พิมพ์แห่งความซ่ือสตั ย์ ตอ่ ครอบครวั ขณะเดียวกันผู้คนในครอบครัวต้องร่วมกันแสดงพลงั แห่งการสนองตอบ บนพื้นฐานของจิตสานึก ข้ึนมาน่ันคือการแสดงออกบนวิถีแห่งความซื่อสัตย์ต่อกันในทุกรณี จริงใจต่อพฤติกรรมที่แสดงออกต่อกัน บนพ้ืนฐานแห่งการรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในเม่ือแต่ละครอบครัวสร้างจิตสานึกของความซ่ือสัตย์ ให้เกิดข้ึนในจิตใจที่บริสุทธ์ิแล้ว จิตสานึกแห่งความซื่อสัตย์ย่อมต่อยอดออกไปสู่สังคมท่ีกว้างใหญ่โดยมิต้อง สงสยั เพราะจติ สานึกนนั้ ได้ฝงั ลกึ ลงไปในจิตใจของผู้คนในแตล่ ะครอบครัวแล้ว ๑.๕) ซ่อื สัตยต์ อ่ ชุมชนและสังคม ผู้ขอรับการประเมิน มีความซ่ือสัตย์สุจริตต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมซ่ึงเห็นได้จากการใช้ ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ๑.๖) ปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ ผู้ขอรับการประเมิน มีการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ อย่างเคร่งครัดตามหลักศาสนา และ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ขอรับการประเมินรักษาวินัยในตนเองจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ แบบแผนของทางราชการ มีส่วนรว่ มเสริมสร้างวินัยแก่ผู้อื่น ไดศ้ ึกษากฎหมายการศึกษา และปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตามระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานโดยถือ

ประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนและประชาชน มีความสารวมละเว้นอบายมุข ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังเอาใจใส่ ไม่ประมาทเลินเล่อจนทาให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ไม่ละท้ิงหน้าท่ีราชการโดยไม่มี เหตุผล ใช้หลักความรับผิดชอบ มีจิตสานึกต่อประชาชน ต่อองค์กร และต่อประเทศชาติเสมอ ขยันหมั่นเพียร อุตสาหะอดทน อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการปฏิบัติหน้าท่ีเต็มท่ีเต็มเวลาเต็มความสามารถ วันหยุดราชการ หากสถานศึกษามีกจิ กรรมผูข้ อรับการประเมนิ ก็เต็มใจทจ่ี ะเขา้ ร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา พัฒนาตนเองใหท้ ัน ต่อเหตุการณ์ วิทยาการตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมอยู่เสมอ ตัวช้ีวัด คืองานท่ีได้รับมอบหมายมีผลสาเร็จ มีคุณภาพ และทันเวลางานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ไม่เคยล้าช้า มีความตง้ั ใจทจ่ี ะใหง้ านสาเร็จและมีคุณภาพ ๑.๗) ปฏบิ ตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี ผขู้ อรับการประเมิน มีการปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเครง่ ครัดตามหลักศาสนา และ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ขอรับการประเมินมีส่วนร่วมกันในกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยตลอดมา พ้ืนที่ที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม ประเพณี ผู้ขอรับการประเมิน จะมีส่วนร่วมทุกวัฒนธรรมทั้งวัฒนธรรมของศาสนาอิสลามและวฒั นธรรมของศาสนาพุทธ พิธที าบญุ ของคนจีน ท่ปี ระชาชนสว่ นนับถือ ไม่ดูถูกศาสนาอ่ืน มีส่วนรว่ มในกิจกรรมของ องค์กร เครือขา่ ยและชมุ ชนในการการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย โดยการเข้าร่วมกิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมวันพ่อ วันแม่แห่งชาติ และกิจกรรมอนุรักษ์ พลังงานเพ่ือเป็นการส่งเสริมและช่วยกันรักษาประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของไทยต่าง ๆ ผู้ขอรับการประเมิน จะใสใ่ จไปร่วมงานทุกครั้งที่ได้รับเชิญ ร่วมทั้งปลกู จติ สานกึ ทดี่ ีกบั นักศึกษาอนรุ ักษ์ไว้เสมอ

๑.๘) มจี ิตอาสา จติ สาธารณะ ผู้ขอรับการประเมิน มีจิตอาสา จิตสาธารณะ ช่วยเหลือผู้อื่นตามศักยภาพและความสามารถ ของตนเอง และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จิตของคนท่ีรู้จักความเสียสละ ความร่วมมือร่วมใจ ในการทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือเป็น หลักการในการดาเนินชวี ติ ชว่ ยแกป้ ัญหาและสร้างสรรค์ให้เกดิ ประโยชน์สุขแก่สงั คม การปลูกฝงั ให้ตระหนักถึง ความสาคัญของจิตอาสา การเตรียมความพร้อมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้ และการติดต่อสื่อสาร การสร้าง ความเชื่อมั่นในตนเอง และการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะของผู้มีจิตอาสาคือ มุ่งประโยชน์ ต่อส่วนรวม การทางานทุกอย่างเป็นไปด้วยความสมัครใจ ไม่มุ่งหวังผลเป็นส่ิงหนึ่งที่มีความสาคัญในการปลูก จิตสานึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ มีความร่วมมือในการทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วยลดปัญหาทเ่ี กิดขึ้น ในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิด ประโยชนส์ ขุ แกส่ ังคม องค์ประกอบที่ ๒ การปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี ผู้ขอรับการประเมินมีการแต่งกายที่เหมาะสมกับกาลเทศะตามสถานการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี มารยาทดีเป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงานและเครือข่าย มีวาทศิลป์เป็นกันเองและพูดจา สุภาพเรียบร้อย ไม่ใส่ร้ายคนอ่ืนกล้าแสดงออก ชอบท้าทาย พูดอย่างสร้างสรรค์ท่ีส่งผลให้เกิดประโยชน์ ตอ่ ตนเอง ครอบครัว องคก์ ร ชุมชนและสังคม ๑. แต่งกายได้เหมาะสมกาลเทศะ

ผขู้ อรับการประเมิน แต่งกายสุภาพเรียบรอ้ ย ถกู กาลเทศะ คิดอยู่เสมอว่าความเป็นครตู ้องเป็นตน้ แบบ ท่ีดีทั้งทางกาย วาจาและใจ แสดงกริยาทางกายด้วยการอ่อนน้อมถ่อมตน ให้เกียรติผู้อื่น ท้ังผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน เครือข่ายและผู้รับบริการ ให้ความสาคัญกับการแต่งกายท่ีเหมาะสม ตามกาลเทศะเท่าๆกับความรู้ การเป็นที่มีความรู้ทันกับเหตุการณ์ โดยการเป็นผู้ใฝ่รู้ ชอบแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น ผู้ขอรับ การประเมินคิดเสมอว่าการแต่งกายดีมีบุคลิกภาพเป็นการให้เกียรติตนเองและเป็นการให้เกียรติผู้อ่ืนในโอกาส น้ัน ๆ ท่ีไปร่วมกิจกรรมหรือประสานงานกับผู้บริหารทุกระดับเป็นการสร้างภาพลั กษณ์ท่ีดีต่อองค์กร สร้างความศรัทราเช่ือถือแก่ผู้เรียน ผู้รับบริการผู้ร่วมงาน และภาคีเครือข่าย ถือเป็นการทางาน ทปี่ ระสบความสาเรจ็ ครงึ่ หนง่ึ แล้ว ๒) ปฏิบตั ิตนได้เหมาะสมกับบทบาทและสถานการณ์ ผู้ขอรับการประเมินมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของข้าราชการท่ีดี ประพฤติตนเป็นต้นแบบท่ีดี ในการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีให้กับทีมงานในสถานการณ์ ปฏิบัติตนเป็นกลางทางการเมืองช่วยเหลือราชการ ตามบทบาทหนา้ ที่และไมฝ่ กั ใฝท่ างการเมือง

๓) มีมารยาทเป็นที่ยอมรบั ของสังคม ผู้ขอรับการประเมินจึงปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทและให้เกียรติผู้อ่ืนทุกระดับเสมอ เป็นคนอ่อนน้อม ถอ่ มตน ทั้งผบู้ ังคบั บญั ชา ผรู้ ่วมงาน เครอื ขา่ ยและประชาชนผู้รับบริการ ยอมรับกติกาของสังคมในสถานการณ์ ต่าง ๆ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในความเป็นครู รักษาความลับของทางราชการ ไม่พูดกล่าวร้าย ผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย พูดให้เกียรติผู้อื่น ไม่พูดสิ่งที่ทาให้เกิดความแตกแยก พูดแต่สิ่งดีและสร้างสรรค์ หากมีผู้ร่วมงานหรือนักศึกษาที่ไม่เคารพกติกาและไม่มีระเบียบในการปฏิบัติตนก็ค่อยชี้แนะให้ปรับตัวเอง ให้การต้อนรับ ทักทาย ให้คาแนะนา ให้ปรึกษาประชาชนผู้ติดต่อราชการ ไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา เป็นแบบอย่างทดี่ ีทางใจ ให้ความเป็นกันเองมนี ้าใจ ให้กาลังแก่กนั ให้ความเปน็ ธรรมแก่ผู้เรยี นผู้รับบริการ และ ให้ความสะดวกช่วยเหลือแก่ผู้ร่วมงานผู้เรียนและประชาชนผู้รับบริการมีความต้องการให้ผู้ รับบริการ มีความพึงพอใจในการให้บริการและกลับไปมีความสุขอยากเข้ามาติดต่อใช้บริการ สร้างรอยยิ้มกลับไปไม่ให้ เขาคดิ วา่ เสียเวลา ๔.) มีความจรงิ ใจใช้คาพูดที่ไพเราะไมใ่ สรา้ ยผู้อ่นื และไม่พูดโกหก การพูดจาไพเราะไม่เพียงแต่สะท้อนการให้เกียรติและเคารพในตัวคนอื่นแต่ยังสะท้อนการให้เกียรติ และเคารพตนเองอีกด้วย คนจะพูดจากได้ต้องรับการอบรมมาดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี ดิฉันขอย้าอีกคร้ังว่า บุคลิกภาพดี ๆเร่ิมต้นที่ครอบครัว การพูดจาไพเราะก็เป็นสิ่งหน่ึงที่ต้องมาจากในบ้าน และจิตใจของตนเอง พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่างของคนที่พูดจาไพเราะต่อกัน ต้องเป็นผู้ช้ีแนะคุณค่าของการพูดไพเราะ การพูดเป็น คาสุภาพ ไพเราะ ท่ีกลัน่ ออกมาจากนา้ ใจที่บริสุทธิ์ ไม่เป็นคาหยาบ คาด่า คาประชดประชัน คาเสียดสี พูดแล้ว ก่อให้เกิดประโยชน์ เกิดผลดีทั้งแก่คนพูดและคนฟัง ถึงแม้คาพูดน้ันจะจริงและเป็นคาสุภาพ แต่ถ้าพูดแล้ว ไมเ่ กิดประโยชนอ์ ะไร กลบั จะทาให้เกดิ โทษ กไ็ ม่ควรพดู

๔) กลา้ แสดงออก และพูดจาอยา่ งสรา้ งสรรค์ การแสดงออกอย่างเหมาะสมคือพฤติกรรมหรือการแสดงออกด้วยคาพูด หรือกิริยาอาการว่าเรา มีความคิดเห็นในเรื่องใดเร่ืองหน่ึงโดยไม่ปิดบังหรือ อ้อมค้อม ด้วยความสุภาพตรงไปตรงมาในเวลาที่เหมาะสม โดยไม่ก้าวร้าว การแสดงออกอย่างเหมาะสมเป็นการรักษาสิทธิ์หรือเป็นการแสดงสิทธิ์ของมืออาชีพ ท่ีพึงกระทาในโลกของการจัดการสมัยให ม่ การพูดที่สร้างสรรค์คือ คาพูดที่ผู้พูดแสดงออกมา โดยการให้เกียรติผฟู้ ัง ทาให้ผู้ฟงั มีความสุข สบายใจ ยินดที ี่จะทางานกับเรา พอใจท่ีจะเรียนร่วมกับเรา การพูด ที่สร้างสรรค์ จึงเป็นศิลปะแห่งการแสดงตนท่ีทุกคนควรเอาใจใส่ ฝึกฝน เรียนรู้จนซึมซาบเข้าเป็นชีวิตจิตใจ การพูดด้วยน้าเสียงท่ีนุ่มนวลสุภาพ พูดได้จังหวะท่ีเหมาะสม ไม่พูดสวนขณะท่ีผู้อื่นกาลังพูด ไม่ผูกขาด การสนทนาให้โอกาสผู้อื่นได้พูดบ้าง ไม่พูดในขณะท่ีมีอารมณ์โกรธ เพราะจะทาให้ควบคุมคาพูดได้ยาก พูดคาสตั ยจ์ รงิ ต่อกัน พูดให้กาลังใจ ให้รักใครป่ รองดองกนั พูดแนะนาประโยชน์แก่ผู้อื่น แต่กเ็ ปน็ ประโยชน์ช่วย สรา้ งบรรยากาศท่ดี ี ในการทางานและช่วยใหค้ วามสัมพันธ์ในระหวา่ งผู้รว่ มงานดีขึ้น ควรหมั่นพูดคาว่า \"สวสั ดี ไม่เป็นไร ขอโทษ และ ขอบคณุ \" ใหต้ ดิ ปาก จะช่วยทาใหจ้ ิตใจผู้พดู ออ่ นโยนลง และผู้ฟงั ก็สบายใจดว้ ย ๖) เป็นแบบอย่างตามบทบาทสถานการณ์ของตนเอง (เช่น เป็นพ่อทดี่ ี เป็นสามีทดี่ ี เป็นครทู ีด่ )ี ผขู้ อรบั การประเมินเป็นคนมีปฏสิ มั พนั ธก์ ับผอู้ น่ื ได้ดี ผู้ขอรับการประเมินมลี ูก ๓ คนทอี่ ยวู่ ัยเดียวกบั ลูก ศิษย์ กศน.และเปรียบเสมือนลูกของตนเอง อยากให้ลูกศิษย์มีความสาเร็จ เหมือนท่ีอยากให้ลูกตนเองเป็น รักและเมตตาศิษย์ พูดจาไพเราะเป็นกัลยาณมิตรอยากให้กาลังใจและให้ลูกศิษย์มีความอบอุ่น โดยให้ ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสรมิ ให้ทักษะชีวติ และสร้างนิสัยในการสรา้ งคุณคา่ ใหก้ ับตนเองในดา้ นพัฒนาทักษะ ชีวิต ที่ถูกต้องดีงาม ให้เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธ์ิใจ ครูท่ีดี ควรมีความรักและ ความเมตตาต่อศิษย์ มีความเสียสละ หม่ันเพียรศึกษา ปรับปรุงวิธีการสอน เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องมีความเข้าใจและเอาใจใส่ตัวศิษย์ทุกคน เป็นกาลังใจและช่วยสร้างแรงบัลดาลใจให้กับศิษย์เพื่อให้เขาเป็น คนใฝเ่ รียนรู้ เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีมีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจติ วิญญาณของความเปน็ ครู สามารถถ่ายทอด

๗) มคี วามเมตตา กรุณาตอ่ ศิษยแ์ ละเพ่ือนร่วมงาน ผู้ขอรับการประเมินปฏบิ ัตกิ ารครองตน มคี ณุ ลักษณะทดี่ ตี อ่ ผอู้ ่ืนและสงั คม ๑. มีความเอ้ืออาทร การรกั เมตตา เอาใจใส่ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์และผรู้ ับบรกิ ารอยู่เสมอ เข้าใจ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและสภาพแวดลอ้ มของลูกศษิ ย์ ๒. ให้การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกนั และกันกบั ผรู้ ่วมงานและกิจกรรมในสังคมอย่างสร้างสรรค์ ๓. เสริมสร้างความสามัคคีและร่วมกิจกรรมของหมู่คณะ ช่วยประสานและให้ความเข้าใจ ให้กาลังใจ ผู้ร่วมงานในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างสม่าเสมอ มีความอดทน อดกล้ันต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้อ่ืนได้ เสมอ มีปฏิบัติสมั พนั ธท์ ด่ี แี ละเต็มใจร่วมมือใหบ้ รกิ ารกบั เครือข่าย ๔. นาชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนการเรียนการสอน และความร่วมมือกับกิจกรรมของ ผู้อน่ื และสงั คมอย่างสม่าเสมอ โดยใชย้ ทุ ธศาสตร์การให้ความรว่ มมือกับเขาก่อนจะให้ผู้อ่ืนและสังคมร่วมมือกับเรา ๕. ให้บริการความจริงใจและความเสมอภาค และไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตาแหนง่ หนา้ ที่โดยมชิ อบ ๖. มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีกับผู้เรียนผู้รับบริการ เพื่อร่วมงาน ผู้ปกครอง เครือข่ายและชุมชน ให้การต้อนรับ ทักทาย ให้คาแนะนา ให้ปรึกษาประชาชนผู้ติดต่อราชการ ไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา เป็นแบบอย่างที่ดีทางใจ ให้ความเป็นกันเองมีน้าใจ ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนผู้รับบริการ และให้ ความสะดวกช่วยเหลือแก่ผู้ร่วมงานผู้เรียนและประชาชนผู้รับบริการ มีความต้องการให้ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจในการให้บริการและกลับไปมีความสุขอยากเข้ามาติดต่อใช้บริการ สร้างรอยยิ้มกลับไปไม่ให้ เขาคิดว่าเสียเวลา ผู้ขอรับการประเมิน ปฏิบัติตนโดยยึดคุณธรรมจริยธรรมนาชีวิต เข้าใจ เห็นใจผู้อ่ืนเสมอ ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ ไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ ไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีตามปกติ และไม่ใช้ให้ศิษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ กบั เพ่ือนร่วมงาน ให้ความเป็นธรรมในการอยู่รว่ มกันในองค์กรเพ่ือความสุขและสนุกกับการทางานของทีมงาน สร้างความรักความสามัคคีของหน่วยงาน ใช้สติและปัญญาในการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ในการปฏิบัติ ในหน้าท่ีทุก ๆ ด้าน ได้อย่างเหมาะสม รอบคอบ ระมัดระวัง ถูกต้อง และโปร่งใส ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ทาให้ผู้ขอรับการประเมินทางานอย่างมีความสุขและสนุกกับการทางาน มีแนวปฏิบัติท่ีเป็นกฎเกณฑ์ ในการประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งท่ีดีงาม เหมาะสม จนเกิดเป็นนิสัย เป็นท่ีชื่นชมและยอมรับจากสังคม ผู้บริหาร ภาคีเครือข่าย และผรู้ ่วมงาน

๘) หริ ิโอตปั ปะ (ความละอายและความเกรงกลัวต่อบาป) ผู้ขอรับการประเมินมีความละอายและความเกรงกลัวต่อบาป ตอนเป็นเด็กคุณยายพาไปวัดบ่อยมาก ฟังพระเทศน์ซ้า ๆ ซ่ึงตอนน้ันยังไม่มีความรู้สึกต่อตนเองในการเกรงกลัวต่อบาป แต่เป็นคนที่มีนิสัยไม่ทาบาป มีจิตเมตตา แต่เด็กแล้ว ไม่เคยฉ้อโกงและเอาเปรียบผู้อื่น เห็นใจผู้อ่ืนเสมอ และไม่เคยปฏิบัติตนในทางทุจริต ต่อหน้าท่ีไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์หรือจากท่ีอ่ืนแม้มีโอกาส ในการปฏิบัติหน้าท่ี ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศิษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ หรือการหา ผลประโยชน์ส่วนตน ไม่ว่าจะเป็นทางใดที่มีโอกาส จาพระราชดารัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสมอว่า “ไม่เอา ผลประโยชน์ส่วนร่วมมาเป็นประโยชน์ส่วนตนแม้มีโอกาส” มีความละอายท่ีจะไปขอเงินจากร้าน หรือที่ใด มีความละอายที่หาผลประโยชน์จากผู้รับบริการ เพราะคิดเสมอว่า “ซ่ือกินไม่หมด คดกินไม่นาน” ขอเดินตาม รอยพ่อ อยู่อย่างพอเพยี ง จัดการความรู้ (KM) ชีวติ ตนเองให้มคี วามสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียงพอประมาณ มีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกัน มีคุณธรรมสร้างความศรัทราแก่ลูกศิษย์ เพ่ือร่วมงาน และญาติ พ่ีนอ้ ง และมีจิตสารณรับผิดชอบสังคม ส่ิงแวดล้อม ใหเ้ วลากบั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ต็มท่เี ต็มเวลาในเวลาราชการ ๙) มกี ารควบคุมอารมณ์ได้ ผู้ขอรับการประเมิน เป็นคนมีความมุ่งม่ันตั้งใจและรับผิดชอบต่อหน้าท่สี ูงมาก หวังผลสมั ฤทธขิ์ องงาน สูง แต่ด้วยงานบางอย่างจะสาเร็จได้ต้องมากจากทีมงาน เช่นข้อมูลการศึกษากิจกรรม การประสานงาน และ

เม่ือผู้ขอรับการประเมินมองผู้อื่นที่ไม่ควบคุมอารมณ์เป็นคนเสียบุคลิกภาพ ไม่น่าพูดคุย น่ากลัวและ ควรหลีกเลี่ยง ไม่น่าปรึกษา และไม่น่าไว้วางใจ ผู้ขอรบั การประเมินจึงฝึกควบคุมอารมณ์ด้วยการฝึกจิตให้สงบ ทางานการวางตนอย่างมีสติ ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ไม่แสดงออกให้ทีมงานรู้สึกได้ว่าไม่พอใจ เพราะการทางานเป็นทีมต้องมีความเข้าใจกันและกัน ให้อภั ยกัน ยังต้องทางานร่วมมือกันอีกนาน หากมีความไม่สบายใจเกิดขึ้นภายในองค์กรแล้วความสุนทรีภาพทางจิตใจก็หายไป ส่งผลให้การทางาน ไม่มีความสุข ประสบความสาเร็จช้า เกิดความทุกข์ข้ึนกับทุกฝ่าย ส่งผลให้ผู้ขอรับการประเมินสามารถควบคุม อารมณ์ตนเองได้ มีสติทุกคร้ังท่ีเผชิญกับปัญหา เป็นท่ีพึ่งพาของน้อง ๆ ครู กศน.เป็นผู้ให้ “ให้ความช่วยเหลือ เท่าท่ีทาได้ ให้โอกาส ให้อภัย” ยอมรับได้กับผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกติกาของสังคม คิดว่าเขามีปมด้อยควรให้อภัย สามารถทางานร่วมกับผ้อู ื่นได้ทุกสถานการณ์ สอนให้ผู้อื่นได้ปฏิบัติเป็นทกั ษะชีวิตท่ีตดิ ตวั มีเสน่ห์ มีคุณค่าและ ทางาน กศน.เพื่อประขาชนอยา่ งมคี วามสุข สนกุ กับการทางาน ๑๐) มีอุดมการณเ์ พื่อส่วนรวม ผู้ขอรับการประเมินทางานทุกวันน้ีเพื่ออุดมการณ์เพ่ือส่วนรวม ผู้ขอรับการประเมินมีอุดมการณ์ ในการรักษาผลประโยชน์เพื่อส่วนรวม เสมือนเป็นหน้าท่ีของเราทุกคนต้องช่วยกัน ผู้ขอรับการประเมิน จะเข้าร่วมกิจกรรมส่วนรวมทุกคร้ังท่ีส่วนราชการจัดข้ึน และได้ทางานตามบทบาทหน้าที่และมีจิตสานึก ในฐานะประชาชนคนไทย และสมาชิกในองค์กร กศน. ผู้ขอรับการประเมินได้ทางานเต็มที่เพื่อให้งานสาเร็จ อย่างมีคุณภาพเป็นทีย่ อมรบั ผรู้ ับบริการมคี วามพงึ ใจ

๑๑) มคี วามอดทนต่อการทางาน ผู้ขอรับการประเมินปฏิบัติตน ยึดกฎระเบียบทางราชการในเรื่องการปฏิบัติหน้าท่ี ตามท่ี ได้รับมอบหมายได้สาเร็จไม่ละท้ิงหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผล ใช้หลักความรับรับผิดชอบ ผู้ขอรับ การประเมิน มีจิตสานึกตอ่ ประชาชน ตอ่ องค์กร และต่อประเทศชาตเิ สมอ ผ้ขู อรับการประเมินรักองคก์ ร กศน. ผู้ขอรับการประเมินจึงปฏิบัติหน้าท่ีให้เกิดผลดีเกิดประโยชน์แก่ประชาชน เพื่อสร้างความศรัทธาต่อองค์กร ก ศ น .ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ด้ ว ย ค ว าม อุ ต ส า ห ะ เอ า ใจ ใส่ แ ล ะ รั ก ษ า ผ ล ป ร ะ โย ช น์ ข อ งท างร าช ก า ร ปฏิบัติตามคาสั่งผู้บังคับบัญชาซ่ึงส่ังในหน้าที่ราชการโดยชอบของราชการ อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ ปฏิบัติหน้าท่ีเต็มที่ เต็มเวลาเต็มความสามารถ ผู้ขอรับการประเมินมาทางานนอกเวลาราชการ อุทิศเวลาของ ตนเองให้กับราชการได้เต็มท่ี วันหยุดราชการหากสถานศึกษามีกิจกรรม ผู้ขอรับการประเมินก็เต็มใจที่จะเข้า ร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา ปฏบิ ัติหนา้ ทเี่ ลยเวลาราชการเกือบทุกวัน เพื่อให้งานเสร็จทันเวลา เมือ่ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอความร่วมมือ ผู้ขอรับการประเมินก็เต็มใจช่วยเหลืออย่างเต็มที่ ไม่เคยคิดว่าเสียเวลาหรือ เหน็ดเหนอ่ื ย เอาใจใส่หวังผลสมั ฤทธ์ิทมี่ ีคุณภาพ ปฏิบตั ิหน้าท่ีราชการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผน ของทางราชการและหน่วยงานโดยถือประโยชน์สูงสุดของผเู้ รียนและประชาชนและไม่ประมาทเลนิ เล่อจนทาให้ เกดิ ความเสียหายแกร่ าชการชว่ ยสอดส่องความปลอดภัยของสานักงานทุกวันก่อนกลบั บา้ น งานที่ได้รับมอบหมาย ไม่เคยล้าช้า มีความต้ังใจท่ีจะให้งานสาเร็จและมีคุณภาพ รักษาภาพลักษณ์ กศน.อยู่เสมอ ตัวช้ีวัด คืองานที่ได้รับ มอบหมายมีผลสาเรจ็ มคี ุณภาพ และทันเวลา

องค์ประกอบท่ี ๓ การดารงชวี ติ อยา่ งเหมาะสม ๓.๑) ปฏบิ ัติตนตามหลกั ศาสนา ผู้ขอรับการประเมินยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรมมีความศรัทธาและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ใชห้ ลักคณุ ธรรม จริยธรรม นาชวี ติ ท้ังชีวติ ครอบครัว และชวี ิตการทางาน คิดอยู่เสมอว่าการทาร่วมกับผอู้ ่ืนและ การปกครองผู้ร่วมงานให้ศรัทธาในตัวเรานั้น คุณธรรมเท่าน้ันท่ีครองใจการยอมรับในสังคมส่วนใหญ่ ท้ังในส่วนสานักงาน และภาคีเครือข่าย ได้อย่างยั่งยืน เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ยอมรับใน การทาความดี คิดเสมอว่า “การทาดี แล้วดี ทาชั่ว แล้วเป็นคนช่ัว” ทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี ผู้ขอรับ การประเมินนับถือศาสนาอิสลาม ปฏิบัติตนอยู่ในหลักศาสนา มองโลกในแง่ดี ส่งผลให้รู้สึกว่า จิตใจสงบ ใจเย็นลง ยอมรับส่ิงท่ีทาให้ไม่ได้ด่ังใจได้ และมีสติแก้ไขปัญหาได้ด้วยสติ ไม่เอะอะ โวยวาย ส่งผลให้เป็นคนมี บุคลิกภาพดีขึ้น เป็นท่ีปรึกษาของน้อง ๆ เพื่อนร่วมงานตลอดจนช่วยเหลือผู้เรียนผู้รับบริการ เพื่อนมนุษย์ ด้วยกันแก้ปญั หา ได้เป็นแบบอย่างที่ดี ได้รับการยกย่องชมเชยและมีส่วนร่วมและเสรมิ สร้างพฒั นาผู้อน่ื แนะนา ตักเตือนผู้ร่วมงาน และนักศึกษาให้หลีกเลี่ยงอบายมุขทุกชนิด ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง โดยยึดคุณธรรม จรยิ ธรรมตอ่ เพอื่ นรว่ มงานและนักศึกษาเสมอ ๓.๒) ดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาชองเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับการประเมินได้ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามหลัก ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข และประกอบด้วยความรู้คู่คุณธรรม การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของผู้ขอรับการประเมินยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้านและ สละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจังประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้องแม้จะเผชิญกับภาวะ ขาดแคลนในการดารงชีพก็ตามลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจน การประกอบอาชีพที่มีการต่อสู้อย่างรุนแรงขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพ่ิมพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียง ในการดารงชีวิตเป็นเป้าหมายสาคัญ ในการจัดการเรียนการสอนทุกครั้งก็จะแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง ให้กับนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้นาไปปฏิบัติ อยู่บนพื้นฐานของความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบ ภมู ิคุ้มกันท่ีดีในตัว ดังนี้

ความพอประมาณ ได้แก่ เรียบง่าย ประหยัด การทาอะไรที่พอเหมาะพอควร ตามความสามารถของ แตล่ ะคน พอประมาณกับภมู สิ ังคม ส่ิงแวดลอ้ ม สถานการณ์ มกี าหนดการทางานตามลาดบั ขัน้ ตอน ความมีเหตุผล คือ การคิด ฟัง ปฏิบัติ การทางานต้องใช้หลักความรู้ในการทางาน วางแผนงานต้อง ระมดั ระวงั ต้องใช้หลกั วชิ าการชว่ ยสนับสนุน มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี คือ ต้องมีแผนการทางานทุก ๆกิจกรรม เช่น ต้องมีแผนการสอน การทางานต้องใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ตอ้ งมองภาพรวม ทกุ คนมีสว่ นร่วม คือการประสานงาน และการบูรณาการ ๓.๓) ปฏบิ ตั ิตนตามระบอบประชาธปิ ไตย ผู้รับการประเมินได้ปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตยไม่ซื้อเสียงขายสิทธิของตนเองและ มกี ารเผยแพร่ความรู้เกย่ี วกบั ประชาธิปไตยสู่ชมุ ชน การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย หมายถึง การปฏิบัติตนเป็นคนดีโดยยึดหลักประชาธิปไตยในการดาเนินชีวิต เช่น การร่วมกันทาประโยชน์เพื่อ ความผาสุกแก่ส่วนรวม เคารพซึ่งกันและกัน ช่วยกันทางานและช่วยกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เป็นต้น เป็นผู้ที่ ยึดมน่ั ในหลกั ศีลธรรมและคุณธรรมของศาสนา มหี ลักการทางประชาธิปไตยในการดารงชวี ิต ๓.๔ ปฏิบัติตนหลกี เลีย่ งจากอบายมุขและสงิ่ เสพติด ผู้รับการประเมินไม่เก่ียวข้องกับสิ่งอบายมุกและส่ิงเสพติดท้ังหลาย แนวทางที่ผู้ขอรับการประเมิน ดาเนินการ คือ

๑. เตรยี มใจให้พรอ้ มกบั ทกุ สถานการณ์ โดยการปฏเิ สธสงิ่ อบายมุขและสิ่งเสพตดิ ต่าง ๆ ๒. เมื่อมีปัญหา มีความเครียดควรทบทวนหาสาเหตุ คุยกับเพ่ือน หรือบุคคลที่เราไว้วางใจ เพ่ือ แลกเปลี่ยนแนวทางการแก้ไขรว่ มกัน ๓. สร้างบรรยากาศ ปรบั ปรุงสถานท่ีให้เหมาะสม ทั้งบ้าน ทีท่ างานให้บรรยากาศดีข้ึน รวมทง้ั เสริมสรา้ ง ความสมั พันธอ์ นั ดีภายในบา้ นและเพือ่ นร่วมงาน ๔. ออกกาลงั กายเปน็ ประจาสมา่ เสมอ อยา่ งนอ้ ย ๓ - ๕ วันต่อสัปดาห์ ๕. นอนหลบั ใหเ้ พยี งพอ อย่างนอ้ ย ๗ - ๘ ชว่ั โมงตอ่ วัน ๖. เมื่อมีเวลาว่าง ควรควรหางานอดิเรกหรือทากิจกรรมสร้างสรรค์ หรือพักผ่อนหย่อนใจ เช่น ปลกู ตน้ ไม้ ฟงั เพลง อา่ นหนังสือ ดูทวี ี ท่องเทีย่ ว ๗.เข้าใจชีวิต คือ ยอมรับสภาพความเป็นจรงิ ของชีวติ และพร้อมที่จะปรับเปล่ียนเทา่ ท่ีทาได้เพื่อให้ชีวิต ดีข้นึ ไม่ทอ้ ถอย ๘.ภูมิใจในตัวเอง โดยช่ืนชมและสร้างความเช่ือม่ัน สร้างกาลังใจให้ตนเอง มองตนเองว่ามีคุณค่า มคี วามสามารถ มีศักดศ์ิ รี และภาคภมู ิใจในตนเอง ๙. คิดบวก หรือควรมองโลกในแง่ดี คิดทางบวกเป็นความคิดท่ีนาความสุขมาสู่ตนและมีการเผยแพร่ ความรู้เก่ยี วกบั ส่ิงเสพตดิ สูช่ ุมชน

๓.๕ มสี ขุ ภาพและพลานามัยที่ดี ผู้รับการประเมินมีสุขภาพและพลานามัยดี ซึ่งเห็นได้จากการออกกาลายกายทุกวันโยการวิ่งกับ เพือ่ น ๆ และน้องเยาวชน นอกจากได้สขุ ภาพทแี่ ขง็ แรงแล้วยงั ได้มิตรภาพทดี่ ดี ้วย องค์ประกอบที่ ๔ ความรกั และศรทั ธาในวิชาชีพ ๔.๑) ยึดม่นั ในอดุ มการณแ์ ห่งวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมินมีความรักและศรัทธาในวิชาชีพ เห็นได้จากการร่วมมือร่วมใจพัฒนาตนเอง ใหม้ คี วามก้าวหนา้ ในวชิ าชพี และความกา้ วหน้าขององค์กร ผู้ขอรับการประเมนิ หลักยึดเพื่อนาตนไปสู่สิ่งที่สูงสุด หรือเป็นอุดมคติของอาชีพ น่ันก็คือ การมีอุดมการณ์ครู หลักคุณธรรมเพ่ือเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ สถาบัน วิชาชีพครูจะได้มีความเจริญก้าวหน้า ความขยัน ประหยัด และยึดม่ันในสัมมาอาชีพ ประพฤติท่ีไม่ทาให้ การมีจิตสานึก ความมุ่งมั่น การสร้างศรัทธาและมีอุดมการณ์ในวิชาชีพ ไม่ประพฤติตนให้เสียหาย ประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพครู ไม่มีประวัติเสียหาย ยึดม่ันในวัฒนธรรมอันดีงามความรู้ด้านวิชาการ และวชิ าชีพ ครูควรเสาะแสวงหาความรู้ เสยี สละ มคี วามอายท่ีจะกระทาผิด และมหี ลกั ศาสนายึดม่นั

๔.๒) ยกย่องช่นื ชมบุคคลท่ีประสบความสาเรจ็ ในวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมิน มีการช่ืนชมและยกย่องเพื่อนครูท่ีประสบความสาเร็จในวิชาชีพความเป็นครู ที่สอบบรรจุเป็นข้าราชการและเพื่อนครูท่ีได้รับรางวัลต่าง ๆ จากหน่วยงานต่าง ๆ ผู้ขอรับการประเมิน รักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู แสดงออกด้วยความชื่นชมและเช่ือม่ัน ในอาชพี ครูด้วยตระหนักวา่ อาชีพนี้เปน็ อาชีพทม่ี ีเกยี รติ มีความสาคัญและจาเป็นต่อสงั คม ครูพึงปฏบิ ัติงานด้วย ความเตม็ ใจและภูมิใจ รวมทัง้ ปกป้องเกรียตภิ มู ขิ องอาชพี ครู เข้ารว่ มกจิ กรรมและสนับสนนุ องคก์ รวิชาชีพครู ๔.๓) ปกป้องเกยี รตภิ มู ขิ องวชิ าชพี ผู้ขอรับการประเมินได้ปกป้องตนเอง และองค์กรท่ีกลุ่มคนอาจมองไม่ดี ผู้ขอรับการประเมินได้ทา ความเข้าใจและพูดคุยทาความเข้าใจให้ประชาชนได้รับรู้เก่ียวกับภารกิจต่าง ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย ผู้ขอรับ การประเมนิ ภาคภูมิใจในอาชีพครู ยึดพะราชดารัสของพระเจ้าอยู่หัวในการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีดี ไม่ประพฤตปิ ฏิบัติ ตนให้เสียชื่อเสียง เป็นผู้มีภูมิรู้ ภูมิฐาน และภูมิความดี ติดตัวไว้สร้างคุณค่าให้กับตนเอง สร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้กับตนเอง ไม่ปฏิบัติตนท่ีส่งผลให้วิชาชีพเสียหาย พัฒนาตนเองให้เป็นค่าท่ีจะช่วยเหลือผู้เรียน ปฏิบัติหน้าที่ ได้ท้ังงานในองค์อรและงานร่วมกับภาคเครือข่ายอย่างสมศักดิ์ศรี ปกป้องเกียรติภูมิของครูและองค์กรวิชาชีพ ตวั อยา่ งเช่น เผยแพร่ประชมสมั พนั ธ์งานของครูและองคก์ รวิชาชีพครู เม่อื มผี ู้เขา้ ใจผิดเกย่ี วกบั วงการวชิ าชีพครู ก็ชีแ้ จงทาความเขา้ ใจใหถ้ ูกต้อง

๔.๔) สงเสรมิ สนับสนนุ หรอื เข้ารว่ มกจิ กรรมการพัฒนาวิชาชีพ ผู้ขอรบั การประเมิน มีการส่งเสรมิ สนับสนุนตนเองและเพ่ือนร่วมงานเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ตนเองให้ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นการเข้ารว่ มกิจกรรมต่าง ๆ การประชุมสัมมนา การศึกษาดูงาน ผู้ขอรบั การประเมิน มีอุดมการณ์ในวิชาชีพ เป็นสมาชิกที่ดี สนับสนุนหรือร่วมกิจกรรมของวิชาชีพและทางวิชาการอย่าง สร้างสรรค์ ปฏิบัติตนและร่วมกิจกรรมทางวิชาการ ในสาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีผู้บริหารมอบหมาย ให้ความร่วมมือ และร่วมกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ พัฒนาตนเอง โดยการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ อบรมปฏิบัติการในสาขา ท่ีเกี่ยวข้องกับสมาชิกอ่ืนด้วยความเป็นกันเอง สามารถแนะนาและให้ความรู้ในเร่ืองท่ีได้ร่วมประชุม อบรม ปฏิบัติการกับเพื่อนร่วมงานได้ การเข้าร่วมชมนิทรรศการ การแสดงผลงานทางวิชาการต่าง ๆ ที่หน่วยงานต่าง ๆ จัดอยู่เสมอในแสวงหาความรู้ท่ีเกี่ยวกับวิชาชีพ ความรู้ทางวิชาการ มาพัฒนาตนเองเสมอ มีบทบาทเป็นผู้นา ทางวิชาการในวงการวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมินได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทางวิชาการ การประชุม อบรมสัมมนาพัฒนาตนเอง มีโอกาสในการเสนอผลงานในที่ประชุม ซ่ึงมีโอกาสเข้าร่วมประชุมบ่อยคร้ัง และได้ มีการนาความรู้ที่ได้จากการประชุม อบรมมาถ่ายทอดและเผยแพร่กับเพ่ือนครู บทบาทในการเป็นผู้นา การประชุมกลุ่ม เพ่ือพัฒนางาน กศน. การดาเนินงานกิจกรรมโครงการของ กศน.อาเภอ รวมท้ังการเรียนรู้ ดว้ ยตนเองเพื่อพัฒนางานให้ดขี ้นึ ส่งผลให้นักศึกษามีความก้าวหน้าต่อไป ๔.๕) เสยี สละและอุทิศตนเพ่อื ประโยชนต์ อ่ วชิ าชพี ผู้ขอรับการประเมินได้มีความเสียสละตนเองเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมทั้งแรงกาย แรงใจ และกาลัง ทรัพย์เท่าท่ีมี สู่การพัฒนาตนเองและองค์กร เช่น การพัฒนาสาธารณประโยชน์ ผู้ขอรับการประเมินเสียสละ และอุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพยึดกฎระเบียบทางราชการในเร่ืองการปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้รับมอบหมาย ได้สาเร็จไม่ละทิ้งหน้าท่ีราชการโดยไม่มีเหตุผล ใช้หลักความรับรับผิดชอบ ผู้ขอรับการประเมินมีจิตสานึก ต่อประชาชน ต่อองค์กร และต่อประเทศชาติเสมอ ผู้ขอรับการประเมินรักองค์กร กศน. ผู้ขอรับการประเมิน จึงปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดีเกิดประโยชน์แก่ประชาชน เพื่อสร้างความศรัทธาต่อองค์กร กศน.ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความอุตสาหะเอาใจใส่และรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ ปฏบิ ัติตามคาสั่งผู้บังคบั บัญชาซึง่ ส่ังในหน้าท่ีราชการ โดยชอบของราชการ อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการปฏิบัติหน้าที่เต็มท่ีเต็มเวลาเต็มความสามารถ ผู้ขอรับ

การประเมินเดินทางมาทางาน เวลาราชการ นอกเวลาราชการผู้ ขอรับการประเมินอุทิศเวลาของตนเองให้กับ ราชการได้เต็มท่ี วันหยุดราชการหากสถานศึกษามีกิจกรรม ผู้ขอรับการประเมินก็เต็มใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของ สถานศึกษา ปฏิบัติหน้าที่เลยเวลาราชการเกือบทุกวัน เพ่ือให้งานเสร็จทันเวลา เมื่อสานักงาน กศน. จังหวัด ขอความร่วมมือผู้ขอรับการประเมินก็เต็มใจช่วยเหลืออย่างเต็มท่ี ไม่เคยคิดวา่ เสียเวลาหรือเหน็ดเหนื่อยเอาใจใส่หวัง ผลสัมฤทธิ์ที่มีคุณภาพ ปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงาน โดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนและประชาชนและไม่ประมาทเลินเล่อจนทาให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ช่วยสอดส่องความปลอดภัยของสานักงานทุกวันก่อนกลับบ้าน งานที่ได้รับมอบหมาย ไม่เคยล้าช้า มีความตั้งใจ ที่จะให้งานสาเร็จและมีคุณภาพ รักษาภาพลักษณ์ กศน.อยู่เสมอ ตัวชี้วัด คืองานที่ได้รับมอบหมายมีผลสาเร็จ มคี ณุ ภาพ และทันเวลา ๔.๖) เปน็ ผู้เขา้ รบั การพฒั นาที่ดีขององค์กรวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมินเป็นผู้ท่ีมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา พร้อมที่จะเข้ารับการพัฒนาทุกเม่ือ เพื่อมาขยายผลให้เพื่อนร่วมงานและพัฒนาองค์กรต่อไป ผู้ขอรับการประเมินชอบศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ อยู่เสมอ ผู้ขอรับการประเมินถือว่าการเป็นผู้มีความรู้รอบด้านทั้งงานวิชาการและความรู้รอบตัวเป็นสิ่งสาคัญ มากสาหรับการขบั เคล่ือนในการปฏิบตั หิ น้าที่ใหส้ าเร็จและมีคุณภาพ ขององค์กรและการทางานแบบบูรณาการ กับภาคีเครือข่าย คนมีความรู้เป็นผู้มีเกียรติและศักด์ิศรีความเป็นครู การไม่มีความรู้จะขาดความศรัทธา จากผู้อ่ืน ส่งผลถึงภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อองค์กร มีความชานาญในวิชาชีพของตน เป็นการนาความรู้ และ ประสบการณ์มาปฏิบัติให้เกิดความชานาญสามารถปฏิบัติหน้าท่ีตามนโยบายขององค์กรได้สาเร็จ และ มีคุณภาพให้สาเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ และศึกษาสืบค้นความรู้เพ่ือการพัฒนางานอยู่เสมอ จากผู้รู้ คู่มือ ปฏิบัติงาน หนังสือและส่ืออินเตอร์เน็ต และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้อ่ืนเพ่ือให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ เข้ารับการอบรมเพ่ือได้พัฒนาตนเองในการปฏิบัติหน้าท่ี นาความรู้มาพัฒนาวิชาชีพให้เกิด ประโยชน์กับผู้เรียน ทั้งงานการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ และการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง การจัดนิทรรศการ หรือจัดค่ายเป็นวิทยากร ผู้ขอรับการประเมินจะออกการเรียนรู้ที่ยึด ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ เรียนรู้อย่างมคี วามสุข

๔.๗) พัฒนาตนเองให้มคี วามก้าวหนา้ ในวิชาชพี ผู้ขอรับการประเมิน เป็นผู้ที่มีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา พร้อมที่จะเข้ารับการพัฒนาทุกเมื่อ เพื่อมาขยายผลให้เพื่อนร่วมงานและพัฒนาองค์กรเพ่ือความก้าวหน้าในวิชาชีพต่อไป เพ่ือใช้ในการบริหารงาน ให้สาเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ และศึกษาสืบค้นความรู้เพ่ือการพัฒนางานอยู่เสมอเมื่อหน่วยงานมีการอบรม พัฒนาวิชาชีพ ผู้ขอรับการประเมินเข้าร่วมทุกครั้งท่ีมีโอกาส เพ่ือนาความรู้มาพัฒนางานในหน้าท่ี และเพื่อ พัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ พัฒนาตนเองท้ังทางด้านวิชาชีพด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และ เป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรวิชาชีพครู พึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบ คุณธรรมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ พึงประพฤติปฏิบัติตน เป็นผู้นาในการอนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย ผู้ขอรับการประเมินให้ความสาคัญกับการพัฒนาตนเองในวิชาชีพ ชอบถามผู้รู้ ผู้มี ประสบการณ์นามาพัฒนางานท่ีตนเองรับผิดชอบอยู่เสมอ และได้พัฒนาความรู้ตนเองให้เจริญก้าวหน้า ในวิชาชีพ หวังให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้อยา่ งมีความสุข จึงได้พัฒนาสือ่ การเรียนรู้ตามศักยภาพทีผ่ ู้ขอรับการประเมินมี

องค์ประกอบท่ี ๕ ความรบั ผิดชอบในวิชาชีพ ๕.๑) ปฏิบตั ิตนตามบทบาทหนา้ ท่ที ่ไี ดร้ บั มอบหมาย ผ้ขู อรบั การประเมนิ ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ครูผสู้ อนทง้ั ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย และยงั ทาหนา้ ท่ีอื่น ๆ ประกอบด้วย - งานสง่ เสรมิ ภาคีเครือข่ายและกจิ การพเิ ศษ (งานผสู้ ูงอายุ, งานพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ) - งานเครือข่ายอาเภอสไุ หงปาดี - งานสตรีและเยาวชน - งานส่งเสริมกจิ กรรมประชาธิปไตย - คณะกรรมการสภาสนั ตสิ ขุ ตาบล ผู้ขอรับการประเมินปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีอย่างเต็มท่ี เต็มความสามารถท่ีได้รับมอบหมายทุกงาน ทกุ ภารกิจให้สาเร็จ ทันเวลา และมีคุณภาพ สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีต่อองค์กร และเพื่อประโยชน์ของผู้รับบริการหาก ทาไม่ทันก็เพิ่มเวลาช่วงเช้า มาทางานเช้า กลับค่าหากงานท่ีมีกาหนดเวลายังไม่เสร็จ เพื่อได้ทางานชื้นต่อไป ตามกาหนดเวลาอีกและยังช่วยงานผู้งานเท่าที่ทาได้ และต้องทาสาเร็จอย่างมีคุณภาพตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน งานวิชาการ งานกิจการพิเศษ และงานภาคเครือข่าย ตามบทบาทหน้าท่ี และยอมรับการคิด การตดั สนิ ใจของผอู้ ื่น เป็นผนู้ าและผู้ตามทดี่ ี หวังผลสมั ฤทธิข์ องงานเป็นหลัก - ๕.๒) มีการปฏิบตั ิทแ่ี สดงถงึ ความพยายามในการปฏิบตั หิ นา้ ทีใ่ ห้เกิดผลดี ผู้ขอรับการประเมินเห็นถึงความก้าวหน้าของการปฏิบัติหน้าท่ีและมีความพยามท่ีจะพัฒนาตนเอง เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ ตนเอง องคก์ รและเครอื ข่าย พยายามรว่ มงานกับเครือขา่ ยทงั้ ระอาเภอ ระดบั ตาบล ผู้ขอรับการประเมินยอมรับผลจากการปฏิบัติของตนเองในการปฏิบัติหน้าที่เสมอ หากกิจกรรมจัดขึ้น ยังสามารถเพิ่มคุณภาพได้มากกว่าที่ทาอยู่ มีประโยชน์แก่ผู้รับบริการมากกว่าจะวางแผนพัฒนางานเพ่ื อ เพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมลักษณะน้ีใหม่และเข้าท่ีประชุมเพื่อแสนอความคิดเห็นกับผู้บริหารและ ผรู้ ว่ มงานในการจัดคร้ังต่อไป

๕.๓) แก้ไขปญั หาอปุ สรรคท่เี กิดขึ้นในวชิ าชีพ ผู้ขอรับการประเมิน มีความมุ่งม่ันที่จะทาให้งานบรรลุผลสาเร็จ ซึ่งเห็นได้จากความพึงพอใจของ เพื่อนร่วมงานและเครือข่าย สามารถแก้ปัญหาได้ทันเวลาในกรณีที่มีปัญหา ผู้ขอรับการประเมินต้องรับงาน หน้าท่ีหลายงาน งานกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในพื้นที่ การติดตาม นิเทศ ต้องมีการรายงานตามเวลาท่ีกาหนด ผู้ขอรับการประเมินต้องวางแผนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ได้รับ มอบหมายให้สาเรจ็ โดยไม่มีขอ้ อา้ ง บางครั้งทาไม่ทันตามเวลา ผู้ขอรับการประเมินจึงได้มีแผนการแกไ้ ขปัญหา ดงั น้ี (๑) จดั ทาแผนการทางานแต่ละอย่างทงั้ ปี กาหนดเวลาเสร็จ กาหนดเวลาส่ง (๒) จดั ทาแผนงานดว่ นท่สี ดุ ด่วนมาก ด่วน ตามลาดับ กาหนดเวลาเสร็จ กาหนดเวลาสง่ (๓) เพมิ่ เวลาทางานในช่วงเช้า ๐๗.๓๐ เรม่ิ ทางาน กลับ ๒๐.๐๐ น. หากทาไมเ่ สร็จโดยไมข่ อเบิกเงนิ ค่าลว่ งเวลา (๔) ปรับปรุงแก้ไขสว่ นท่ีมีปญั หา เชน่ งานรายงาน ทม่ี ีสารสนเทศ ไม่สมบรู ณ์ เพือ่ พัฒนาใช้ในคร้งั ไป (๕) หากปญั หามาจากการจัดกิจกรรมเขา้ ท่ปี ระชมุ เพ่ือปรกึ ษาหารือแก้ปัญหาร่วมกนั กับผ้บู ริหาร และ ผู้รว่ มงาน ๕.๔) ปฏบิ ตั งิ านตามหนา้ ทีไ่ ดท้ ันต่อเวลาและสถานการณ์ ผู้ขอรับการประเมิน ได้ทาหน้าท่ีของตนเองได้เต็มศักยภาพ เห็นได้จากผลสาเร็จของงาน ที่สามารถ ราย งาย ผ ล ได้ ต าม เว ล าที่ ก าห น ด แ ล ะ เป็ น ที่ ย อ ม รั บ ข อ งผู้ บ ริ ห ารส ถ าน ศึ ก ษ า แ ล ะ เพ่ื อ น ร่ว ม งาน รว ม ทั้ ง ภาคีเครือขา่ ยที่ได้รบั การสนับสนุน ๕.๕) ม่งุ มนั่ พฒั นาวิชาชีพใหก้ า้ วหน้า ผู้ขอรับการประเมินได้พัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ เห็นได้จากผลสาเร็จของงานและรางวัลต่าง ๆ ทไ่ี ดร้ ับ ผู้ขอรบั การประเมินมมี ุ่งมั่นพัฒนาตนเองให้มีก้าวหน้าในวิชาชีพ ท้ังวชิ าชีพและบุคลิกภาพ ด้านวิชาชีพ ผขู้ อรับการประเมนิ เปน็ ชอบเรียนหนงั สือตง้ั แตเ่ ป็นเดก็ แลว้ จนปัจจบุ นั ยังชอบศึกษาคน้ คว้าความรใู้ หม่อยเู่ สมอ ผู้ขอรับการประเมินถือว่าการเป็นผู้มีความรรู้ อบตัวเป็นส่ิงสาคัญมากสาหรับการขับเคลื่อนในการปฏิบัติหน้าท่ี ให้สาเร็จและมีคุณภาพขององค์กรและการทางานแบบบูรณาการกับภาคีเครือข่าย คนมีความรู้เป็นผู้มีเกียรติ และศักด์ิศรีความเป็นครู การไม่มีความรู้จะขาดความศรัทธาจากผู้อ่ืน ส่งผลถึงภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อองค์กร ผู้ขอรับการประเมินสามารถให้คาปรึกษา ช่วยเหลือบุคลากรในองค์กรให้การปฏิบัติหน้าท่ีให้สาเร็จ ทันเวลา

ท้ังเป็นที่ปรึกษาของภาคเครือข่ายในการทางานร่วมกัน จนเป็นท่ียอมรับขององค์กรและภาคีเครือข่ายได้รับ คาชมอยู่เสมอ เพือ่ ใชใ้ นการบริหารงานให้สาเร็จบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ และศึกษาสืบคน้ ความรู้ เพ่ือการพัฒนางาน อยู่เสมอจากผรู้ ู้ คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือและสื่ออินเตอร์เน็ต และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้อ่ืนเพื่อให้เป็นคน ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ เข้ารับการอบรมเพื่อได้พัฒนาตนเอง ได้รับการอบรมพัฒนาจากหน่วยงานในสังกัด และนอกสงั กดั ในกิจกรรมที่สามารถนามาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ได้อยา่ งมีคุณภาพพฒั นาตนเองด้านบุคลกิ ภาพ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลิกภาพพอ ๆ กับความรู้ ท้ังบุคลิกภาพทางกาย วาจา และทางจิตใจ สิ่งสาคัญ ที่จะทาให้คนที่พบปะมีความศรัทธาคือการมีบุคลิกภาพที่ดี แต่งกายสุภาพเหมาะสมตามกาลเทศะ พูดจา มีมารยาท สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดี สามารถส่ือสารกับผู้อื่นได้ทุกกลุ่ม ท้ังผู้นาระดับสูง จนถึง ประชาชนท่ัวไป ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน วางตัวตามมารยาทในสังคมและปรับตัวในการอยู่ร่วมในสังคม ท่ีแตกต่าง รวมท้ังการมองโลกในแง่ดี ส่งผลให้การทางานประสบความสาเร็จ ได้รับการยอมรับของสังคม ดา้ นความก้าวหน้าของวิชาชีพ ได้จัดทานวัตกรรมการเรียนสู้ใหผ้ ู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนเพอ่ื ให้ผเู้ รยี น ได้เรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่เกิดความเบื่อหน่าย ผู้ขอรับการประเมิน คิดอย่างสร้างสรรค์ ส่ิงใหม่ แต่ด้วยเวลา และความรับผิดชอบงานในสานักงานมีมากล้นมือ และต้องการให้งานมีคุณภาพ การนานวัตกรรมไปใช้ให้เกิด ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นและองค์กรได้ไม่ดีเทา่ ที่คาดหวงั

ด้านท่ี ๒ ผลการปฏิบตั ิงาน ดา้ นท่ี ๒.๑ เชิงปริมาณ องคป์ ระกอบท่ี ๑ การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๑.๑ จานวนผเู้ รยี นการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผ้ขู อรบั การประเมินได้รบั ผิดชอบนักศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ดังนี้ ตารางแสดงจานวนนกั ศึกษาภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง -- - ๑๗ ๔๔ - ๖๑ - รวม ๖๑ คน ตารางแสดงจานวนนักศึกษาภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๓ ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชาย หญิง -- ชาย หญงิ ชาย หญิง - - - ๓๗ ๒๓ - ๖๐ รวม ๖๐ คน

๑.๒ จานวนผู้รับบริการ/การศึกษาตอ่ เนื่อง ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน (คน) (คน) ๑ หลักสตู รอาชพี ช้ันเรียน (๓๑ ช่วั โมงขนึ้ ไป) ๗ ๗ - วชิ าการทานา้ มนั สมุนไพรบัวบก ๗ ๑๐ ๑๐ - วชิ าการทาขนม ๗ ๗ ๘ - วชิ าผักทอดสมุนไพร (เฉพาะกิจ) ๑๐ ๑๓ - วชิ าถั่วทอดสมุนไพร (เฉพาะกจิ ) ๑๐ ๑๒ - วิชาการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ๗ ๒ การประดษิ ฐ์พวงกุญแจแฟนซจี ากผ้า ๘ ๒ ๒ หลกั สูตรเพอ่ื พฒั นาอาชีพรูปแบบกลมุ่ สนใจ ๒๑ ๒๐ - วิชาการเดนิ สายไฟในบา้ นเรอื น ๑๓ ๑๒ - วิชาช่างก่ออิฐเบือ้ งต้น ๑๒ ๑๒ ๓ โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (๑ อาเภอ ๑ อาชีพ) ๑๒ - วิชาการนวดแผนไทย ๒ ๘ ๗๖ - วชิ าการนวดแผนไทย ๒ ๔ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต - โครงการการดูแลสขุ ภาวะของประชาชนทุกชว่ งวัย ๒๑ - โครงการการปฏบิ ัตติ ามมาตรการผ่อนปรนและกิจกรรมเพ่ือ ๒๐ ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิท-๑๙ ๔ กจิ กรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน - โครงการอบรมการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ ๑๒ มูลฝอยในชุมชน (๓R) - โครงการอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ ๑๒ มูลฝอยในชุมชน (๓R) - โครงการจัดกระบวนการรเยนรูก้ ารปลูกปา่ สร้างรายได้ ๑๒ ๕ กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖ ๖๙

ท่ี โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ (คน) ดาเนนิ งาน ๘. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมพัฒนาเครือข่าย ๑๔ (คน) เศรษฐกิจดิจิทัลสูช่ ุมชนในระดับตาบล ๑๖ - โครงการอบรมใหค้ วามร้หู ลักสตู ร Digital Literacy ๔ ๑๔ - โครงการอบรมใหค้ วามร้หู ลกั สูตรการค้าขายออนไลน์ ๑๖ ๔ ๙. โครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การสอื่ สารด้านอาชพี หลกั สตู รภาษาอังกฤษเพ่อื การทอ่ งเท่ยี ว ๓๐ ชั่วโมง การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ การจัดกระบวนการเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง

การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน ๑.๓ จานวนผู้รับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จานวน ๕๘๙ คน ที่ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย (คน) ผลการดาเนนิ งาน (คน) ๑. โครงการห้องสมดุ เคล่ือนทส่ี ชู่ มุ ชน ๑๐๐ ๑๑๕ ๒. โครงการสาหรับชาวตลาด ๘๐ ๑๐๐ ๓. โครงการนงั่ ท่ไี หน อา่ นที่น่นั ๑๐๐ ๑๑๐ ๔. โครงการบ้านหนังสอื ชมุ ชน ๑๑๐ ๑๒๒ ๕. โครงการสง่ เสริมการอา่ นชว่ งโควดิ ๑๙ ๗๐ ๘๐ ๖. โครงการสง่ เสริมการอา่ นผา่ นออนไลน์ ๑๐ ๑๒ ๗. โครงการเด็ก เยาวชน จติ อาสารว่ มพัฒนาชาติ ๒๐ ๔๐ เสรมิ สรา้ งประวตั ิศาสตร์ เทิดทูนสถาบนั ๘. โครงการครอบครัวรกั การอา่ น ๑๐ ๑๐ ผรู้ บั บริการชาวตลาด ผู้รับบรกิ ารอา่ นเคลือ่ นที่

ผรู้ บั บรกิ ารบ้านหนงั สอื ชมุ ชน องค์ประกอบ ๒ การส่งเสริมและสนับสนนุ การบรหิ ารงานทว่ั ไป ๒.๑ ปฏบิ ัตงิ านธุรการ สารบรรณและประชาสัมพันธ์ ผู้ขอรับการประเมินได้ทาหน้าท่ีประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ตามภารกิจ กศน.ผ่านการติดป้าย ประชาสมั พนั ธ์ หนังสอื พมิ พฝ์ าผนัง ประชุมสภาตาบลสันติสขุ และการประชมุ เฉพาะกิจของทีมงานระดบั ตาบลริโก๋ ๒.๒ ปฏิบตั งิ านด้านบริหารบคุ คล ผู้ขอรับการประเมินได้มีการวางแผนบริหารบุคคลระดับตาบลตามความสามารถและความถนัดของ แตล่ ะบุคคล เชน่ แกนนาเยาวชน แกนนาแม่บา้ น อาสาสมคั ร กศน.เปน็ ตน้

๒.๓ ปฏิบตั งิ านดา้ นพสั ดุและสินทรัพย์ ผู้ขอรับการประเมนิ ได้ทาหนา้ ท่ีงานพสั ดโุ ดยการลงทะเบยี นครุภัณฑ์ ทะเบยี นหนงั สอื เป็นตน้ ๒.๔ ปฏบิ ัติดา้ นการเงนิ และบัญชี ผขู้ อรบั การประเมิน ไดท้ าหน้าทีด่ ้านการเงนิ และบัญชีในการบรหิ ารกิจกรรมต่าง ๆ ระดับตาบล รว่ มกบั ครอู าสา ฯ และเครือข่าย ๒.๕ ปฏิบตั ิงานด้านอาคารสถานท่ี ผู้ขอรับการประเมนิ ไดท้ าหน้าที่ ดแู ลอาคารสถานที่ การพัฒนา ทาความสะอาด เพื่อความน่าอยู่ของ กศน.ตาบล องค์ประกอบท่ี ๓ การส่งเสริมและสนบั สนนุ การพฒั นาวิชาการ ๓.๑ ปฏิบตั ิงานดา้ นหลกั สูตร ผู้ขอรับการประเมิน ได้มีการจัดทาแผนการเรียนรู้ จัดทาสื่อ เพ่ือเพิ่มศักยภาพในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้และความสนใจของนักศึกษาในการพบกลุ่ม ร่วมดาเนินการวิเคราะห์การจัดทาแผนการเรียนรู้ รายบุคคลเพ่ือดาเนินการจัดทาแผนกระบวนการเรียนรู้ เครือข่ายด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน/ปราชญ์ชาวบ้าน ในหลักสูตรรายวิชาเลือก เพ่ือจะดาเนินการจัดทาแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ (ONIE MODEL) ตลอดจน แผนการเรยี นรู้แบบตา่ ง ๆ

๓.๒ ปฏบิ ตั งิ านดา้ นพฒั นาสอ่ื ผู้ขอรับการประเมิน ได้ปฏิบัติงานการประกันคุณภาพสถานศึกษาร่วมกับเพ่ือนร่วมงาน เพื่อเป็น การพัฒนาผลงาน ดาเนินการโดยการร่วมปรึกษาหารือระหว่างครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และสื่อการสอน เพ่ือจะดาเนินการจัดทาส่ือ ให้มีความสอดคล้องกับแผนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการ (ONIE MODEL) ตลอดจนแผนการเรยี นรู้แบบต่าง ๆ ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั ผู้เรยี น ๓.๓ ปฏบิ ัติงานด้านการประกนั คณุ ภาพ ผู้ขอรับการประเมิน ได้ร่วมนิเทศกิจกรรม กศน.เพ่ือเป็นการแนะนาและหาแนวทางร่วมกันใน การปฏิบัติงานต่อไป ได้ปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา เป็นคณะทางานการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยได้รับคาส่ังแต่งตั้งคณะทางาน ในการจัดเตรียมเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ซ่ึงผู้ขอรับการประเมินได้ตระหนักในการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ที่สานักงาน กศน.กาหนดโดยเน้นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานตามเกณฑ์และจัดเตรียมเอกสารเพื่อรับ การประเมินจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) ๓.๔ ปฏบิ ตั ิงานด้านการวัดผล และประเมนิ ผล ผู้ขอรับการประเมินได้จัดกิจกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง และกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย และมีการวัดผลประเมินผลทุกกิจกรรมเพื่อสรุปปัญหาอุปสรรคและหาแนวทางแก้ไข

ตอ่ ไป ดาเนินการรบั ผิดชอบงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวดั ผลและการประเมินผลการศึกษางานการศึกษา ข้ันพื้นฐาน โดยมีวิธีการวัดผลประเมินตามแบบทดสอบที่ทางสานักงาน กศน. จังหวัดนราธิวาส กาหนด เม่ือส้ินสุดการเรียนการสอน โดยใช้วิธีการวัดผลประเมินผลเพื่อวัดความรู้ เน้นการประเมินตามความเป็นจริง และครอบคลุมทักษะคุณลักษณะท่ีสาคัญตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร ใช้เครือ่ งมือวัดผลและการประเมินผล เช่น แบบทดสอบ แบบฝึกหัด ตรวจช้ินงาน ซ่ึงจะมีการวัดผลและประเมินผล ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และ หลังเรียน ในการเก็บคะแนนกลางภาค โดยสถานศึกษาได้มกี ารกาหนดสัดส่วนคะแนน กลางภาค ๖๐ คะแนน ปลายภาค ๔๐ คะแนน ผู้เรียนจะตอ้ งได้คะแนนปลายภาคไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๓๐ คะแนนสอบ นาข้อมูลทีไ่ ด้ จากการวัดให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ของการจัดการศึกษา และเป็นแนวทางการปรับปรุง การสอน เพอ่ื พฒั นาให้ผู้เรียนมีการพฒั นาต่อไป ๓.๕ ปฏบิ ัติงานดา้ นวจิ ยั และพฒั นา ผู้ขอรับการประเมิน ได้ทาการวิจัยช้ันเรียนสาหรับนักศึกษาที่มีพัฒนาการช้าซึ่งเป็นการแก้ปัญหา ในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้การเรียนของนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เป็นไปในทางท่ีดีขึ้น ได้ดาเนินการ จัดการเรียนการสอนการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานให้กบั นักศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ทาการวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงการดาเนินเรียนการสอนให้ดีข้ึน ได้ทาการวิจัยเรื่องการศึกษาเจตคติต่อการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายที่มีระดับผลการเรียนต่างกัน ซึ่งนักศึกษาที่ไม่กล้าและ ไม่ชอบเรียนในวิชาอังกฤษส่วนใหญ่ปลูกฝังว่าเข้าใจยาก เรียนแล้วไม่เข้าใจ มีความรู้สึกกังวล ทาให้ไม่อยาก เรียนวิชาน้ี นาผลการวิเคราะห์ปัญหาของนักศึกษามาดาเนินการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือนาการปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนให้ดขี ึน้ ต่อไปในภาคเรยี นหน้า

องคป์ ระกอบที่ ๔ การสง่ เสริมและสนับสนนุ การพฒั นาภาคเี ครอื ข่ายและอ่ืน ๆ ๔.๑ มีการปฏิบัตงิ านรว่ มกับภาคเี ครอื ขา่ ย ๑๒ คร้ัง/ปี ๔.๒ สนับสนุนขอ้ มลู และวิชาการแก่ภาคีเครอื ข่าย จานวน ๙ ครง้ั /ปี ๔.๓ สนับสนนุ ขอ้ มลู และวิชาการ จานวน ๙ ครั้ง/ปี ๔.๔ อานวยความสะดวกให้แก่ งานอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง จานวน ๑๕ คร้ัง/ปี การจัดกิจกรรมระดับตาบล ผู้ขอรับการประเมิน ได้ร่วมกับเครือข่ายระดับตาบลในการจัดกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมของ กศน.หรือกิจกรรมของภาคีเครือข่ายและร่วมกันหาแนวทางในการจัดกิจกรรม คร้ังต่อไปรวมท้ังมีการยกย่องคุณงามความดีซ่ึงกันและกัน ผู้รับการประเมินได้รับโอกาสการ ได้มีส่วนร่วมกับ ภาคเี ครือขา่ ย ในการประสานงาน การให้การส่งเสริม สนับสนนุ ชว่ ยเหลือ แนะนา พฒั นาในชมุ ชนและหมบู่ ้าน ได้เป็นอย่างดีย่ิง จากผู้นาชุมชน (กานัน ผู้ใหญ่บ้าน) ผู้นาศาสนา (อีหม่าม โต๊ะครู) ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มสตรี และส่วนราชการต่าง ๆ เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอาเภอ เกษตรอาเภอ พัฒนาชุมชน ตารวจและทหารในพื้นที่ เป็นต้น งานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานการศึกษาต่อเน่ือง ทักษะ ชีวิต การพัฒนาชุมชน สังคม กิจกรรมตามอัธยาศัย ผู้รับการประเมินได้ดาเนินการเข้าร่วมกับภาคีเครือข่าย ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น เป็นวิทยากรการทาบัญชีครัวเรือน และได้ส่งเสริมกิจกรรมด้านการเกษตร การสง่ เสริมอาชพี ด้านการทาซาลาเปา ถ่วั แผ่นทอด เป็นต้น กจิ กรรมจังหวดั เคลื่อนที่ กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน แสดงสาธิตงานอาชีพ จดั กิจกรรมโครงการวันเดก็ แห่งชาติร่วมกับหน่วยงานในอาเภอสุไหงปาดี องค์การบริหาร ส่วนตาบลปะลุรู ได้รับการส่งเสริม และสนับสนุน การดาเนินกิจกรรมโครงการรณรงค์ยาเสพติด ร่วมกับ กรมการปกครองอาเภอสุไหงปาดี โครงการรณรงค์โรคเอดส์ ได้รับการส่งเสริมจากสานักงานสาธารณสุขอาเภอ สุไหงปาดี งานวฒั นธรรมอาเภอสไุ หงปาดี งานเมาลิดมัสยดิ บ้านไอบาตู ผู้รับการประเมินส่งเสริมพัฒนาสมาชิก แกนนาภาคีเครือข่ายทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เป็นตัวอย่างที่ดีให้แกก่ ล่มุ สมาชิกภาคีเครือขา่ ย เป็นที่ยอมรบั และเช่ือถือ จากคนภายนอก เป็นสิ่งจูงใจท่ีทาให้คนภายนอกอยากเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของภาคีเครือข่ายมากขึ้น สมาชิกแกนนาได้รับการพัฒนากลุ่มเพื่อให้มีความเข้มแข็ง มีวุฒิภาวะสูง มีความเป็นทีม ประสิทธิภาพสูง มีการรวมตัวของสมาชิกในกลุ่มสูง มีการส่ือสารท่ัวถึงและโปร่งใส มีความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างสมาชิก ใช้กระบวนการการตัดสินใจแบบให้ทุกคนมีส่วนร่วมเคารพความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน และกฎของกลุ่ม ประสานงานกบั องคก์ รภายนอกภาคเี ครอื ข่ายได้เปน็ อย่างดี

๒.๒เชงิ คุณภาพ องค์ประกอบที่ ๑ การจดั และสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๑.๑ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ผ้ขู อรบั การประเมนิ ได้จัดกิจกรรมการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานดังต่อไปน้ี ๑.จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๑.๑ จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน วธิ กี ารดาเนนิ งาน ๑.สารวจข้อมูลนกั ศึกษาในตาบล ๒.ประชาสัมพันธ์การรบั สมคั ร ๓.รบั สมคั รนกั ศกึ ษาใหม่ ๓.๑ แนะแนวการศึกษา ๓.๒ ขน้ึ ทะเบียนเปน็ นกั ศกึ ษา กศน. ๓.๓ ปรับพื้นฐานความรู้ ๓.๔ ลงทะเบยี นเรยี น ๔.กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๔.๑ ปฐมนิเทศนักศกึ ษาทุกคน/ทุกระดับ ๔.๒ วเิ คราะห์ผ้เู รยี นรายบุคคล ๔.๓ วเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า ๕.จัดทาแผนการจัดการเรียนร้รู ายสัปดาห/์ รายภาค (เรยี นแบบพบกลมุ่ /แบบตนเอง/แบบช้ันเรียน และแบบอน่ื ๆ) ๖.จดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ที่กาหนด(บนั ทึกหลังการสอนและจัดทาวจิ ยั ในชนั้ เรยี น) ๗.วัดและประเมินผล(กอ่ นเรยี น ระหวา่ งเรียนและหลงั เรยี น/ประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน (กพช.)/ ประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรม) ๘.วดั และประเมนิ ผลกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น ๙.เขา้ รับการประเมนิ คุณภาพระดบั ชาต(ิ N-NET) ๑๐.รวบรวมหลักฐานและสรปุ รายงานการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ผลการดาเนินงาน การปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ทุกภาคเรียน และได้มีการจัดการเรียนการสอนนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในวันศุกร์ ณ กศน.ตาบลริโก๋ อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการสอนเสริมในวันเสาร์ ณ กศน.อาเภอสุไหงปาดี ๑.๒ การศึกษาต่อเนอื่ ง ๑.๒.๑ มีความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆตามภารกจิ กศน.จะพบว่าผูร้ บั บรกิ าร/ผูร้ ว่ มโครงการ มีความพึงพอใจต่อ กจิ กรรมในระดับร้อยละ ๘๐ % ขึ้นไป ๑.๒.๒ มีการนาความรู้ไปใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพชีวติ จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามภารกิจ กศน.จะพบว่าผู้รับบริการ/ผู้ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมในระดบั รอ้ ยละ ๘๐ % ขึ้นไป และสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจาวนั และประกอบอาชีพได้ ๑.๒.๓ มกี ารนาความรไู้ ปใชเ้ พ่ือสร้างอาชีพ สร้างรายได้ จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆตามภารกิจ กศน.จะพบว่าผู้รับบริการ/ผู้ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจ ตอ่ กจิ กรรมในระดบั รอ้ ยละ ๘๐ % ขน้ึ ไป และสามารถนาความรไู้ ปใช้ในการสร้างอาชพี และสร้างรายได้ ผลการดาเนนิ งาน เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย มผี ู้ร่วมโครงการสามารถนาไปประกอบอาชพี ได้ จานวน ๖ คน นอกจากน้ัน ก็นาความรู้มาใช้ในชวี ติ ประจาวนั ลดรายจ่ายใหค้ รอบครวั งานการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะอาชีพ ดาเนินการจัดกจิ กรรมทกั ษะอาชพี ให้กบั กลุม่ เปา้ หมายในตาบล จานวน ๘ กลุ่ม คอื ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม ๑.จัดเวทีประชาคมเพื่อสารวจความต้องการของชุมชน ๒.เรียงลาดบั ความสาคญั ๓.นาเสนอที่ประชุมทราบ ๔.จัดทาแผน ๕.จัดทาโครงการ (จัดตง้ั กลมุ่ ) ๖.เสนอ / อนุมตั ิ ๗.ดาเนนิ การ ๘.นเิ ทศ ๙.รายงานผล ๑๐.สรุปปญั หาและอปุ สรรค งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวิตใน กศน.ตาบลริโก๋ จานวน ๒ เร่ือง - เรอ่ื ง การดูแลสุขภาวะของประชาชนทกุ ชว่ งวัย

- เรอ่ื ง การปฏบิ ัติตามมาตรการผ่อนปรนและกิจกรรมเพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส โควิด-๑๙ ผลการจัด จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมโครงการในเบื้องต้นปรากฏว่า ผู้ร่วมโครงการพึงพอใจในระดับดี วิทยากร มคี วามรู้ความสามารถในการบรรยาย เปิดโอกาสให้มีการซักถามทาให้ผู้ร่วมโครงการได้รับความรู้และสามารถ ไปเผยแพร่ต่อไปได้ โครงการเรยี นรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑. โครงการจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวน ๑๔ คน ผลการจัด มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ สาธิต โดยแบ่งเป็นฐาน เช่น การทาปุ๋ยหมักน้า ปุ๋ยหมักมูลสัตว์ การทานา้ ยาลา้ งจาน ตามวิถีพอเพยี ง เปน็ ต้น จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมโครงการในเบื้องต้นปรากฏว่า ผู้ร่วมโครงการพึงพอใจในระดับดี มีความสนุกสนานเป็นกันเอง วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการบรรยาย เปิดโอกาสให้มีการซักถามทาให้ ผรู้ ่วมโครงการได้รบั ความรู้และสามารถไปเผยแพร่ต่อไปได้ ๑.๓ การศึกษาตามอัธยาศยั การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่ามีผู้มารับบริการ กศน.ตาบล บ้านหนังสือชุมชน แสดงให้เห็นว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของ กศน.เป็นอย่างดี การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในตาบลในรูปแบบ กศน.ตาบล บ้านหนังสือชุมชน ภูมิปัญญา เพ่ือเป็นศูนย์กลาง การเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชนในพนื้ ที่ เปน็ ศูนย์รวมในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความสนใจ การจดั กิจกรรม/รว่ มจดั กิจกรรม/นิเทศกจิ กรรม ลาดับท่ี รายการ ลกั ษณะการดาเนนิ งาน ๑. โครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนทส่ี ชู่ มุ ชน รว่ มจดั ต้งั ศนู ยเ์ ศรษฐกจิ ๒. โครงการสาหรบั ชาวตลาด พอเพียง นเิ ทศ ๑ ครั้ง/สัปดาห์ ๓. โครงการนงั่ ท่ีไหน อ่านท่ีนน่ั รว่ มจดั /ส่งเสรมิ การอ่าน ๔. โครงการบา้ นหนังสอื ชมุ ชน ร่วมจัด/สง่ เสริมการอ่าน ๕. โครงการส่งเสรมิ การอ่านช่วงโควิด ๑๙ สง่ เสรมิ การจดั ๖. โครงการสง่ เสรมิ การอ่านผา่ นออนไลน์ ๗. โครงการเดก็ เยาวชน จติ อาสาร่วมพฒั นาชาติ เสรมิ สรา้ งประวัติศาสตร์ เทิดทูนสถาบนั ๘. โครงการครอบครัวรกั การอา่ น

องคป์ ระกอบที่ ๒ การสง่ เสริมและสนบั สนุนการบรหิ ารานท่ัวไป ๒.๑ นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทีท่ ันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในการปฏบิ ัติงาน ผขู้ อรับการประเมินไดน้ าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมโดย การบริหารจัดการภายในตาบลมีการประชุมคณะกรรมการ กศน.ตาบล อย่างต่อเน่ืองและไปประชุมร่วมกับ สภาตาบลสันติสุขพร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ กิจกรรม กศน. อย่างต่อเนื่องและมีการจัดเก็บหนังสือเป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ยเป็นระบบ งา่ ยต่อการคันหา เทคโนโลยสี ารสนเทศ ผู้รับการประเมินนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในการปฏิบัติงาน จาก ข้อความข้างต้นทาให้เราได้ทราบว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการผนวกของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร ซึ่งจะมีรายละเอยี ดในแต่ละสว่ นดงั ต่อไปนี้ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ผู้รับการประเมินนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นศาสตร์สาหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพ่ือให้ได้สารสนเทศตามท่ีต้องการ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือกการจัดหา การวิเคราะห์เนื้อหาหรือสืบค้น สารสนเทศโดยแต่ละกระบวนการต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ นอกจากนี้ เราควรรู้จกั ขอ้ มูลและฐานความร้ปู ระกอบกันไปด้วย ๑. ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ ปรากฎการณ์ คน สิ่งของ ฯลฯ ท่ีเราสนใจ จะบันทกึ เก็บไว้ใช้งาน ๒. ฐานความรู้ (knowledge base) คือ สารสนเทศท่ีได้จัดเป็นโครงสร้างความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์ ความเช่ียวชาญและตอ้ งมคี ณุ ค่า เพอื่ แกไ้ ขปัญหาในการดาเนินงานตา่ ง ๆ ได้ ๒.๒ มีแผนการดาเนินงานการบรหิ ารทั่วไปทช่ี ดั เจน ผู้รบั การประเมินมีแผนการดาเนินงานการบริหารท่ัวไปท่ีชัดเจน ขั้นตอนการจัดทาแผนการดาเนินงาน ซง่ึ ลักษณะของแผนการดาเนินงาน จะกาหนดรายละเอียดของโครงการ กิจกรรมการพัฒนาของหน่วยราชการ ความชดั เจนในแนวทางการบรหิ ารโครงการ กิจกรรมนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ๒.๓ กาหนดการประชุมบุคลากรในสงั กดั อยา่ งชดั เจนและต่อเน่ือง ผู้รับการประเมินกาหนดการประชุมบุคลากรในสังกัดอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ภายใต้เจตนารมณ์ ทจี่ ะเริ่มประชุม และยุติการประชุมให้ตรงต่อเวลา มีการเขียนวตั ถุประสงค์และวาระการประชมุ ได้อยา่ งชัดเจน มเี ทคนิคในการดาเนนิ การประชมุ ที่ดกี วา่ ๒.๔ ประชาสัมพันธ์อย่างตอ่ เนื่อง ผู้รับการประเมินประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องต่อการทาความเข้าใจและสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ สาธารณชนโดยผ่านสื่อต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์การประชาสัมพันธ์เป็นการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและ สม่าเสมอ การประชาสมั พันธ์เพ่ือสรา้ งภาพลักษณท์ ดี่ ใี หก้ ับประชาชนอย่างเป็นรปู ธรรมอย่างต่อเนอ่ื ง

๒.๕ มีระบบการจัดเกบ็ เอกาสารและสามารถคน้ หาได้อยา่ งรวดเรว็ ผู้รับการประเมิน ได้มีระบบการจัดเก็บเอกสาร โดยการจัดระบบจาแนกและเก็บเอกสารให้เป็น ระเบียบเรียบร้อย สะดวกในการนามาใช้เม่ือต้องการและสามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็ว ข้ันตอน คือ การวางแผนการกาหนดหน้าและโครงสร้างการจัดเก็บเอกสาร การกาหนดระบบการจัดเก็บเอกสารการเก็บ รักษาการควบคุมงานเอกสารและการทาลายเอกสาร โดยจัดสมุดเบอร์ 2 ในการควบคุมเอกสาร มีการจัด เอกสาร ลงแฟ้ม โดยแยกเป็นเร่ืองๆ และระบุสันแฟ้มอย่างชัดเจนเป็นเร่ือง ๆ เพ่ือง่ายต่อการค้นหา และหยิบ ใช้ ไม่วา่ จะเปน็ ตวั เอง หรอื เพือ่ นรว่ มงาน ทีส่ ามารถคน้ หาได้อย่างงา่ ย องคป์ ระกอบท่ี ๓ การสง่ เสริมและสนับสนนุ การพฒั นาวิชาการ ๑. จดั ทา/พัฒนาหลกั สตู ร ผู้รับการประเมิน ได้จัดทาและพัฒนาหลักสูตร โดยเริ่มต้ังแต่การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ในด้านต่าง ๆ กาหนดวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร เน้ือหาสาระ กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสตู ร การนาหลกั สตู รไปใชใ้ นสถานการณจ์ รงิ ๒. จัดทา/พัฒนาส่ือ ผู้รับการประเมินได้จัดทาและพัฒนาส่ือ โดยเริ่มต้ังแต่การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน ในด้านตา่ ง ๆ โดยกาหนดวัตถุประสงคข์ องการจดั ทาสื่อ การจดั การเรยี นรู้ การวัดผลและการประเมินผล ๓. พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ผู้เรียน ผูร้ ับการประเมิน ได้ปฏิบัติงานด้านการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยได้พยายามที่จะพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ของผู้เรียนให้มกี ารพัฒนาไปในทางทดี่ ขี ้ึน ผ้รู บั การประเมินได้รว่ มมอื กบั คณะครูในการจัดทาโครงการสอนเสริม ใหก้ ับนักศกึ ษา เพื่อตอ้ งการใหน้ กั ศึกษาได้รบั ผลสมั ฤทธ์สิ งู ขน้ึ ๔. มีการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ผู้รับการประเมิน มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามกรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษา จัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม มสี ติปญั ญา มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี

๕. มีการวดั ผลและประเมนิ ผลทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ผู้รับการประเมิน มีการวัดผลและการประเมินผลท่ีเป็นแนวทางการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ เพือ่ พฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีประสิทธิภาพต่อไป ๖. มีระบบชว่ ยเหลือผู้เรยี น ผู้รับการประเมิน มีระบบช่วยเหลือผู้เรียน โดยการติดตาม การเยี่ยมบ้านผู้เรียน การคัดกรองผู้เรียน การส่งเสริม พัฒนาตามศักยภาพ หรือตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถของผู้เรียน เพ่ือที่ครูได้ทราบ ถึงศกั ยภาพของผเู้ รยี น ซง่ึ สามารถช่วยเหลือผเู้ รยี นตามความต้องการ และปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ของผ้เู รยี น ๗. มีการวิจัยและพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือการประเมินโครงการ ผู้รับการประเมิน มีการจัดทาวิจัยชั้นเรียน เพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการดาเนินการเรียนรู้ให้ดีข้ึน และแกป้ ัญหาการเรียนของนกั ศึกษาและพฒั นากระบวนการจดั การศกึ ษาต่อไป องค์ประกอบที่ ๔ การส่งเสรมิ และสนับสนนุ พฒั นาภาคเี ครือข่ายและอ่ืน ๆ เปน็ คณะทางาน/คณะกรรมการรว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ยในพ้ืนท่ี ผู้ขอรับการประเมิน ได้มีการจัดทาแผนงาน/โครงการร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพและ ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกาหนดสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนจากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ มีการแสวงหาภาคีเครือข่ายร่วมดาเนินการจัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต ผู้ขอรับการประเมินและภาคี เครือข่ายได้มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดกิจกรรมตามภารกิจ กศน. มีการนิเทศติดตาม สนับสนุนกิจกรรม กศน.ทุก ๆ กิจกรรม

ตอนที่ ๓ ผลงานทีป่ ระสบความสาเรจ็ การคา้ ออนไลน์ องคป์ ระกอบท่ี ๑ การพัฒนา กศน.ตาบล/แขวน ๑.๑ มีการวางแผน ๑.๒ ดาเนนิ การตามแผน ๑.๓ ตรวจสอบการดาเนนิ งานตามแผน ๑.๔ ปรับปรงุ และพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง ๑.๕ รายงานผล ผู้ขอรับการประเมินและเครือข่ายได้ทางานร่วมกันโดยการวางแผนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบผล การดาเนินงาน ปรบั ปรงุ พัฒนาแกไ้ ขปัญหาร่วมกัน รวมท้งั รายงานผลให้ผู้บังคับบญั ชาทราบ องคป์ ระกอบที่ ๒ การยอมรับของสงั คมและชุมชน ๒.๑ รับเชญิ เปน็ วิทยากรเผยแพร่ ๒.๒ ได้รบั รางวัลจากหนว่ ยหรอื องคก์ รต่าง ๆ ๒.๓ เผยแพรท่ างวารสารและสอ่ื มวลชน ๒.๔ มกี ารศกึ ษาดูงานจากหน่วยงานอน่ื ๆ ผู้ขอรับการประเมิน ได้มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อพัฒนาพื้นท่ีปฏิบัติงานของตนเองได้เป็น วิทยากรสอนใหม้ ีการจาหน่ายสินคา้ ทางออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยีในปัจจุบนั ใหเ้ ป็นประโยชน์ สินคา้ ที่จาหน่าย ได้รับความนยิ มเป็นอย่างมากคือ ผา้ คลุมผมสตรี องคป์ ระกอบท่ี ๓ ผลงานมปี ระโยชนต์ อ่ องคก์ รและมีการขยายผล ๓.๑ มบี คุ คลนาผลงานไปจัดแสดง/เผยแพร/่ นาไปใช้ ๓.๒ มีหนว่ ยงานภาครัฐนาผลงานไปจัดแสดง/เผยแพร่/นาไปใช้ ๓.๓ มีหน่วยงานภาคเอกชนนาผลงานไปจัดแสดง/เผยแพร/่ นาไปใช้ ผขู้ อรับการประเมิน นาบุคคล หน่วยงานภาครฐั และเอกชนที่ประสบความสาเร็จ สามารถนาผลงาน ไปจัดแสดง เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นกิจกรรมต่าง ๆ

คณะผู้จัดทา ท่ีปรกึ ษา หะรอแม ประธานกรรมการสถานศึกษา วฒั นสิทธ์ิ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสไุ หงปาดี ๑. นายอร่าน สงิ หะ ครูผู้ชว่ ย ๒. นางหทยั กาญจน์ สงิ หะ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๓. นายนุรอสั วาน ประจาศนู ย์การเรียนชุมชนตาบลริโก๋ ๔. นางยามลี ะห์ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาตาบลรโิ ก๋ ๕. นางสาวมธรุ า วจอี สิ มยั สนบั สนุนขอ้ มลู วฒั นสทิ ธ์ิ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสุไหงปาดี สงิ หะ ครูผู้ช่วย ๑. นางหทยั กาญจน์ วจีอิสมยั ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาตาบลรโิ ก๋ ๒. นายนุรอัสวาน สิงหะ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ๓. นางสาวมธุรา ประจาศนู ย์การเรียนชุมชนตาบลริโก๋ ๔. นางยามลี ะห์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น เรยี บเรยี ง/ต้นฉบับ/จดั พิมพ์ ประจาศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนตาบลรโิ ก๋ นางยามีละห์ สงิ หะ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสไุ หงปาดี ทาน วฒั นสทิ ธิ์ นางหทยั กาญจน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook