Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาวิทยาการคำนวณ ม.3

วิชาวิทยาการคำนวณ ม.3

Published by witsarut kongtep, 2022-02-22 03:31:16

Description: วิชาวิทยาการคำนวณ ม.3

Search

Read the Text Version

ขัน้ ตอนการใช้งานโมดลู tkinter 1 นาเข้าโมดลู tkinter 2 สร้างหน้าตา่ งหลกั (main windows) 3 จดั วางวิดเจ็ต (widget) 4 เชื่อมโยงเหตกุ ารณ์ (event)

สร้ างแอปพลิเคชันเคร่ ืองคิดเลขอย่ างง่ ายๆ ท่สี ามารถคานวณผลบวก ลบ คณู และหารจานวนเตม็ ได้

ตวั อยา่ ง 2.11 การสร้างหน้าตา่ งหลกั ด้วย tkinter ผลลพั ธ์ ไฟล์ thinkterx1.py

ตวั อยา่ ง 2.12 การเพ่ิมป่ มุ ลงในหน้าตา่ งหลกั ผลลพั ธ์ ไฟล์ thinkterx2.py

ผลลพั ธ์ ไฟล์ thinkterx3.py ตวั อย่าง 2.13 การเพิ่มวดิ เจ็ตลาเบลในหน้าตา่ งหลกั

ตวั อยา่ ง 2.14 การเพิ่มป่ มุ ตวั เลขบนเคร่ืองคิดเลข ผลลพั ธ์ ไฟล์ thinkterx4.py

ผลลพั ธ์ ไฟล์ thinkterx5.py

มีไฟล์ซอร์สโค้ดเครื่องคิดเลขในโฟลเดอร์ไฟล์ไพทอน ช่ือ calculator.py

แบบฝึ กหดั ท้ายบท 1.กิจกรรมท่ี 2.2 และแบบฝึกหดั ท้ายบท

การประมวลผลข้อมูล (Process data)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถอธิบายขนั้ ตอนการนาข้อมลู ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้

เนือ้ หาประกอบด้วย 1.ข้อมลู ดมี ีชยั ไปกวา่ คร่ึง 2.การนาข้อมลู มาใช้แก้ปัญหา

1.ข้อมูลดมี ีชัยไปกว่าคร่ึง ข้อมลู จานวนมากในปัจจบุ นั เมื่อ นามาวิเคราะห์ในเชิงลกึ จะทาให้เรา ค้นพบคณุ คา่ ของข้อมลู หรือสง่ ผลใน ทางบวกให้กบั ผ้ใู ช้ข้อมลู เป็นอยา่ ง มาก

ตวั อย่างการนาข้อมูลไปใช้ โดนัลด์ ทรัมป์ ใช้ข้อมลู ขนาดใหญ่หรือท่ีเรียกว่าBig data มาวิเคราะห์ข้อมลู ผ้มู ีสทิ ธิ์เลอื กตงั้ ทาให้ สามารถชนะการเลือกตงั ้ ได้ เป็ นประธานาธิบดี

ตวั อย่างการนาข้อมูลไปใช้ การทานายความต้องการซอื ้ ของผ้หู ญิงตงั้ ครรภ์ ที่วเิ คราะห์ข้อมลู พฤติกรรมการซอื ้ สนิ ค้าและพบวา่ ในแตล่ ะเดือนของการตงั้ ครรภ์ ผ้ตู งั้ ครรภ์มกั จะมพี ฤติกรรมการซอื ้ สินค้าเฉพาะอยา่ งที่คล้ายคลงึ กนั ทาให้คาดการณ์วนั กาหนดคลอดได้ ข้อมลู เหลา่ นีท้ าให้ผู้ผลิตสินค้า สามารถสง่ คปู องหรือสินค้าให้ลกู ค้ากอ่ นบริษัทอนื่

2.การนาข้อมูลมาใช้แก้ปัญหา 1.การนิยามปัญหา 2.การวเิ คราะห์ปัญหา การนาข้อมลู มาใช้ในการแก้ปัญหา ท่ีสนใจได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3.การรวบรวมข้อมูล มีขนั้ ตอน ดงั นี ้ 4.การเตรียมข้อมูล 5.การประมวลผลข้อมูล 6.การนาเสนอข้อมูล

1.การนิยามปัญหา หมายถงึ การตงั้ คาถามทีส่ นใจ และตอ้ งการหาคาตอบ ความชดั เจนของปัญหาเป็นจดุ เร่ิมต้น ที่สาคญั ของการแก้ปัญหา

2.การวิเคราะห์ปัญหา หมายถงึ การทาความเขา้ ใจปัญหา เพือ่ กาหนดสาระสาคญั ของปัญหา และขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

3.การรวบรวมข้อมูล ขัน้ ตอนการรวบรวมข้อมูล หมายถึง การไดม้ าซ่ึงขอ้ มูล 1 กาหนดแหล่งข้อมูล ทีถ่ ูกตอ้ ง ครบถว้ น และจาเป็น ต่อการแก้ปัญหา 2 กาหนดวธิ ีการรวบรวมข้อมูล 3 กาหนดวธิ ีการจดั เกบ็ ข้อมูล ท่รี วบรวมได้

วิธกี ารรวบรวมขอ้ มลู การสมั ภาษณ์ การสารวจ/สอบถาม การสงั เกต การทดลอง การทบทวนเอกสาร การสนทนากลมุ่

4.การเตรียมข้อมูล หมายถงึ การดาเนินการกบั ขอ้ มูลทีร่ วบรวมมา เพือ่ ใหเ้ ป็น ขอ้ มูลทีม่ ีคณุ ภาพ พร้อมนาไป ประมวลผล

แนวทางการตรวจสอบความผดิ ปกตขิ องข้อมูล เพ่อื ทาความสะอาดข้อมูล ดงั นี้ มคี วามสมบรู ณ์ (validity) 01 ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมมคี วามถกู ตอ้ งตามขอ้ กาหนด รปู แบบเดียวกนั (uniformity) 02 ขอ้ มลู เรอื่ งเดยี วกนั ตอ้ งเก็บอยใู่ นรปู แบบเดยี วกนั ความครบถว้ น (completeness) 03 ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งตอ้ งถกู รวบรวมอยา่ งครบถว้ น ความทนั สมยั (timeliness) 04 ขอ้ มลู มคี า่ ทสี่ อดคลอ้ งกบั เวลา และ/หรอื สถานการณ์

กิจกรรมท่ี 4.1 1.หากนกั เรียนต้องการเก็บข้อมลู ลกู ค้าของร้านสหกรณ์โรงเรียน นกั เรียนจะเก็บข้อมลู อะไรบ้าง และจะกาหนดรหสั ข้อมลู อยา่ งไร 2.จากข้อมลู ตามลิงค์ตอ่ ไปนี ้oho.ipst.ac.th/dataStudentCh4 ให้นกั เรียนวเิ คราะห์ความผิดปกติของข้อมลู วา่ มีสว่ นใดบ้างและให้ดาเนินการ แก้ไขให้ถกู ต้อง

5.การประมวลผลข้อมูล หมายถงึ การดาเนนิ การกบั ข้อมลู เพือ่ ใหไ้ ดส้ ารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงค์

5.การประมวลผลข้อมูล 01 ค่าเฉล่ีย (mean) การวเิ คราะห์ข้อมลู มีหลายวิธี คือคา่ เฉล่ยี เลขคณิตของชดุ ข้อมลู จะยกตวั อยา่ งการวิเคราะห์เชิง- พรรณนาซงึ่ เป็ นการดาเนินการกบั 02 มัธยฐาน (median) ข้อมลู เชิงปริมาณ เช่น จานวนเต็ม จานวนจริง คือคา่ ที่อยตู่ รงกึง่ กลางของชดุ ข้อมลู 03 ฐานนิยม (model) คือที่มีความถ่ีสงู สดุ ของชดุ ข้อมลู 04 ร้อยละ (percentage) คือคา่ ของข้อมลู เม่ือคิดเป็นสดั สว่ นจากทงั้ หมด 05 ความถ่ี (frequency) คือจานวนซา้ ของแตล่ ะชดุ ในชดุ ข้อมลู 06 พสิ ัย (range) คือความแตกตา่ งระหวา่ งคา่ ขอบเขตบนกบั เขตลา่ ง

นอกจากมีการวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา ยงั มีการวเิ คราะห์ข้อมูลแบบอ่ืนๆ ท่ีนามาใช้ประโยชน์ เช่น 01 การวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงอนุมาน (inferential analysis) 02 การวิเคราะหเ์ ชิงทานาย (predictive analysis) 03 การวิเคราะหเ์ ชิงปัญญา (cognitive analysis)

6.การนาเสนอข้อมูล หมายถงึ การนาเสนอข้อสรุป จากการประมวลผล ในรูปแบบ ที่สอ่ื ความหมายอย่างชดั เจน

แผนภมู วิ งกลม แผนภมู แิ ท่ง

แผนภมู เิ ส้น แผนภมู ริ ูปภาพ แผนภมู เิ รดาร์

กจิ กรรมท่ี 4.2 และแบบฝึ กหดั ท้ายบท

อนิ เทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบและประโยชน์ของไอโอทีได้ นกั เรียนสามารถอภิปรายกระบวนการทางานของอปุ กรณ์ไอโอทีได้



เนือ้ หาประกอบด้วย 1.องค์ประกอบของไอโอที 2.กรณีศกึ ษาการใช้ไอโอที

อนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสง่ิ หรือไอโอที (Internet of Things:IoT) เป็นการเช่ือมโยงอปุ กรณ์ตา่ งๆเช่น อปุ กรณ์ไฟฟ้ า ตวั รับหรือเซนเซอร์ เข้ากบั โครงข่ายอินเทอร์เน็ต

1.องค์ประกอบของไอโอที เคร่ืองบริการหรือโบรกเกอร์ องค์ประกอบของระบบไอโอที อปุ กรณ์เกตเวย์ อปุ กรณ์ไอโอที อปุ กรณ์ฝั่งผ้ใู ช้

1.อุปกรณ์ไอโอที (IoT device) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ที่มีความสามารถในการตรวจวดั สถานะ ในบริเวณทสี่ นใจ อาจมีการเช่ือมตอ่ กบั กลไกควบคมุ อปุ กรณ์ไฟฟ้ าอ่นื ๆ เพ่ือสงั่ งาน แผนวงจร Kid-Bright แผนวงจร IPST-WiFi

2.อุปกรณ์เกตเวย์ (gateway) เป็นอปุ กรณ์ท่เี ป็นทางผา่ นให้กบั อปุ กรณ์ไอโอทีเช่ือม ตอ่ กบั โครงข่ายอนิ เทอร์เนต็

3.เคร่ืองบริการ (server)หรือโบรกเกอร์ (broker) เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใน อนิ เทอร์เนต็ ท่ีทาหน้าท่ีเป็นจดุ รวบรวม ประมวลผลหรือเช่ือมโยง ข้อมลู ของอปุ กรณ์ไอโอที

กลไกการสื่อสารหนงึ่ ท่ีนิยมนามาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมลู ระหวา่ งอปุ กรณ์ไอโอที คือ กลไกเอม็ คิวทที ี (Message Queue Telemetry Transport: MQTT) ซบั สไคร์บอณุ หภมู ิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ พบั บลิชอณุ หภมู ิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ เซนเซอร์อณุ หภมู ิ โบรกเกอร์

4.อุปกรณ์ฝ่ังผู้ใช้(user device) เป็นสว่ นของการแสดงผล สถานะทต่ี รวจวดั ได้จาก อปุ กรณ์ไอโอทีให้ผ้ใู ช้ได้รับ ทราบในรูปแบบแอปพลเิ คชนั

2.กรณีศึกษา การพฒั นาแอปพลเิ คชนั ไอโอที “ระบบรดนา้ ต้นไม้อัตโนมตั ิ” ศกึ ษาเพม่ิ เติมที่ https://bit.ly/367UqTZ

• กจิ กรรมท่ี 5.1 • กิจกรรท้ายบท • แบบฝึ กหดั ท้ายบท

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรู้เท่าทนั (Be aware of technology)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เทา่ ทนั ได้

เนือ้ หาประกอบด้วย 1.การประเมนิ ความน่าเช่ือถือของข้อมลู 2.เหตผุ ลวิบตั ิ 3.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั 4.กฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ 5.การใช้งานลขิ สทิ ธิ์ท่ีเป็นธรรม

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจบุ นั ทาได้ง่าย ดงั นนั้ เราจาเป็นต้องมีความรู้ ความรอบคอบ ความเข้าใจเทคโนโลยี สารสนเทศ และศกึ ษาเงื่อนไขในการใช้งานทงั้ สมาร์ตโฟนและเครื่อง คอมพวิ เตอร์

1.ประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ของข้อมูล การนาข้อมลู มาใช้งานจะต้องพิจารณา ความถกู ต้องของข้อมลู เพ่ือให้ได้ข้อมลู ทม่ี ีคณุ ภาพ ต้องใช้การพิจารณาแบบ “พรอมท์” PROMPT



การพจิ ารณาข้อมลู แบบ PROMPT การนาเสนอ (Presentation) วิธีการ (Method) 01 การนาเสนอขอ้ มลู ทด่ี จี ะตอ้ งมกี ารวางเค้า 04 ขอ้ มลู ทนี่ ามาใช้เป็ นขอ้ มลู ทม่ี กี ารวาง โครงทเ่ี หมาะสม มรี ายละเอยี ดทชี่ ดั เจน แผนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเป็ นระบบ ความสมั พนั ธ์ (Relevance) แหล่งท่ีมา (Provenance) 02 การพจิ ารณาประเด็นทเ่ี กย่ี วกบั ความสัมพนั ธ์ 05 ขอ้ มลู ทนี่ ่าเชอื่ ถอื ตอ้ งมกี ารระบุแหลง่ ทม่ี า จะตอ้ งคานึงถงึ ความสอดคลอ้ งของขอ้ มลู อยา่ งชดั เจนและเป็ นแหลง่ ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้ วตั ถปุ ระสงค์ (Objectivity) เวลา (Timeliness) 03 ขอ้ มลู ทจี่ ะนามาใช้ตอ้ งมวี ตั ถุประสงคท์ ชี่ ดั เจน 06 ขอ้ มลู ทม่ี คี ุณภาพจะตอ้ งมคี วามเป็ น ไมใ่ ช่ขอ้ มลู ทเ่ี ป็ นการแสดงความคดิ เห็นหรอื มี ปจั จบุ นั หรอื มคี วามทนั สมยั เจตนาแอบแฝง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook