Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best practice 2-64

best practice 2-64

Published by Piathip Sangseebarng, 2022-04-03 08:06:39

Description: best practice 2-64

Search

Read the Text Version

ก คำนำ Best Practice เปน็ วธิ กี ารทำงานที่ดที ส่ี ดุ ในแตล่ ะเรื่อง ซงึ่ สามารถเกิดข้ึนไดใ้ นทกุ หน่วยงาน จากหลาย ช่องทาง ทั้งตัวผู้นำ ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหา และการ ริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาที่มีขั้นตอน เม่ือมวี ิธกี ารทำงานที่ดีต้องทำผ่านการเล่าเร่ืองทีเ่ ป็นการทำงาน ของตนเองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของ การแลกเปลี่ยนข้ามสายงาน ข้ามหน่วยงานโดย เกิดขึ้นในระดับบุคคล ระดับกลุ่มคน และระดับหน่วยงาน ยอ่ ย Best Practice ท่ไี ดค้ วรมีการบันทกึ เขียนรายงานเพอ่ื การศกึ ษาพัฒนา และเผยแพรไ่ ด้ ซ่ึงจะเกดิ ประโยชน์ อย่างย่ิง กศน.ตำบลท่าสะแก ขอขอบคณุ ภาคีเครือขา่ ยและผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องทุกท่าน ทีใ่ หค้ วามรู้ คำแนะนำและ ใหค้ ำปรกึ ษาเปน็ แนวทาง ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี จะเปน็ ประโยชนส์ ำหรบั ผูน้ ำไปใช้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรอื มีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้แก้ไข ปรับปรุงด้วยความขอบคณุ ย่ิง จดั ทำโดย นางสาวเปยี ทพิ ย์ แสงสบี าง กศน.ตำบลท่าสะแก มีนาคม 2565

ข หนา้ สารบญั ๑ 1 เร่อื ง 1 1 ชื่อผลงาน การขยายพันธ์ุพืชดว้ ยการต่อกงิ่ 1 - ประเภทผลงานแนวปฏบิ ัติทีด่ ี ตามภารกจิ ต่อเน่ือง - ชอื่ หนว่ ยงาน/ สถานศกึ ษา/ ผ้เู สนอผลงาน 2 - บทคดั ย่อ 2 - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3 (ความสำคัญของผลงาน “แนวปฏิบัติท่ดี ี”) 3 - วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนินการ 3 - กระบวนการดำเนินงาน 4 - ผลการดำเนินงาน 4 - ประโยชนท์ ี่ได้รบั และการเผยแพร่ 4 - กลยทุ ธห์ รอื ปัจจัยท่ีทำใหป้ ระสบความสำเรจ็ 6 - ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ - การอา้ งอิง (ระบแุ หลง่ อา้ งองิ เอกสารอ้างองิ ฯลฯ) - ภาคผนวก - คณะผู้จดั ทำ

ชื่อผลงาน การขยายพนั ธ์ุพืชด้วยการต่อกง่ิ 1. ประเภทผลงานแนวปฏิบตั ิท่ีดี ตามภารกิจตอ่ เนอื่ ง - ประเภทดา้ นการศึกษาต่อเน่ือง 2. ช่ือหน่วยงาน/ สถานศึกษา/ ผู้เสนอผลงาน กศน.ตำบลทา่ สะแก หมูบ่ า้ น บา้ นขอนสองสลึง ตำบลท่าสะแก อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณโุ ลก รหสั ไปรษณีย์ ๖๕๑๗๐ สงั กดั กศน.อำเภอชาติตระการ สำนักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก โทรศพั ท์ ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ โทรสาร ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ ชื่อ – ช่ือสกุล ผเู้ สนอผลงาน นางสาวเปยี ทพิ ย์ แสงสีบาง โทรศพั ท์มือถือ ๐82-884-6874 E-mail [email protected] 3. บทคดั ยอ่ ผลงานแนวปฏิบัติที่ดีด้านการศึกษาต่อเนื่อง เรื่อง การขยายพันธุ์พืชด้วยการต่อกิ่ง เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนมีความรเู้ ก่ยี วกับขยายพันธุ์พืช และการตัดตอ่ กิง่ แบบถูกวธิ ี ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดหาซื้อพันธ์ุพืช การต่อก่ิง เป็นวิธีขยายพันธุ์พืช ที่ใช้กับพืชได้หลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นฝร่ัง มะเฟือง มะนาว พุทรา ขนุน องุ่น ทับทิม ชมพู่ มะม่วง ฯลฯ นิยมทำบาดแผลด้วยการควั่นก่ิงจะออกรากได้ง่ายที่สุด นิยมทำในฤดูฝน เพราะไม่ต้องคอยรดน้ำ โดยเลือกตอนกิ่งแก่ที่เจริญในปีที่แล้วหรือในปีเดียวกันก็ได้ แต่ต้องเป็นกิ่งที่แข็งแรง ไม่อ่อนหรือแก่เกินไป เลือกกิ่งที่เจริญตั้งขึ้นจะออกรากดีกว่ากิ่งท่ีทอดเอียง ในแนวระนาบหรือกิ่งท่ีห้อยลง แล้วทำแผลบนกิ่งให้ชิดใต้ข้อ การตอ่ กงิ่ เป็นวธิ กี ารขยายพันธุพ์ ืชโดยไม่ใช้ เพศท่สี ามารถทำไดโ้ ดยการนำก่งิ พันธุ์ดีที่มีตามากกวา่ 1 ตา มาตอ่ บนตน้ ตอ เพ่อื ให้เนื้อเยื่อเจรญิ ทั้งสอง เช่อื ม ประสานเป็นต้นเดียวกัน การขยายพนั ธุ์ด้วยวธิ ตี ่อก่ิง จะดกี ว่าการติดตามาก เพราะจะได้รอยต่อทแี่ ข็งแรงกว่า มาก การตอ่ กิง่ นิยมใชอ้ ย่างแพร่หลาย และได้ผลดีกับพืชบาง การต่อก่งิ เป็นการขยายพันธพุ์ ืชเพ่ือเพิม่ จำนวนสาย ตน้ (cultivar) ให้มปี ริมาณมากโดยกง่ิ พนั ธ์ุดีไมต่ ้องใช้เวลานานในการออกดอกตดิ ผล การต่อกิ่งมีคุณค่าและความสำคัญต่อวงการปลกู ไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผลมากซ่ึงเห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การเพิ่มและช่วยเปลี่ยนยอดพันธุ์เดิมที่ปลูกอยู่แล้วให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น เช่น การเพิ่มยอดกิ่งเฟื่องฟ้าให้มี หลากหลายสี การเปลย่ี นยอดต้นโมกเขียวให้เปน็ โมกด่าง การเปลยี่ นยอดมะมว่ งใหเ้ ปน็ มะม่วงแฟนซี คอื มหี ลาย พันธุ์ในต้นเดียวกัน นอกจากนี้ การต่อกิ่ง ยังเป็นการช่วยซ่อมแซมส่วนของต้นพืชที่ได้รบั อันตรายจากธรรมชาติ หรือสิง่ แวดล้อมอื่น ๆ รวมทัง้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากตน้ ตอท่มี ีลักษณะทนทานตอ่ สภาพแวดล้อมและศัตรูพชื 4. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา (ความสำคัญของผลงาน “แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี”) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบ แนวความคิด และทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมี ภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนา ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดย คำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และ

2 คุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ ประกอบกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ย่อมมีรายรับ และรายจ่าย ต่างๆ ที่เกิดข้ึน ซ่งึ คา่ ใช้จ่ายเหล่านี้มีจำนวนเพิ่มสงู ข้ึนมาโดยตลอด และไม่มแี นวโนม้ ทีจ่ ะลดลง ทำใหเ้ กิดการวาง แผนการใช้จ่ายอย่างรอบคอบ ใช้จ่ายอย่างพอเพียงเท่าที่มี จึงสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นทำให้เกิดการ ประหยัดและการออม โดยมีรูปแบบการเรยี นที่หลากหลาย ให้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ และทุนทาง สังคมเปน็ เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และประชาชนอยู่ร่วมกนั อย่างมีความสุข ทำให้เกิดสงั คมแห่งการเรียนรู้ นำไปสู่สังคม ทเ่ี ขม้ แขง็ มคี วามเออื้ อาทรตอ่ กนั และพึ่งพาตนเองได้อย่างยง่ั ยืน ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชาติตระการ จึงได้จัดโครงการการ เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ตามวิถีของเศรษฐกิจ พอเพียงขนึ้ เพื่อเปน็ หลักสตู รทีผ่ เู้ รียนสามารถศึกษาและนำไปประกอบใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ โดยเชิญวิทยากรผู้มี ความรู้จากเกษตรอำเภอชาติตระการ มาให้ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชด้วยการต่อกิ่งให้กับผู้เข้าร่วม โครงการ ๕. วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนินการ ๕.1. วตั ถุประสงค์ของการดำเนินงาน 1. เพื่อลดคา่ ใช้จา่ ยในการจดั ซอ้ื พนั ธ์ุพชื 2. เพื่อใหป้ ระชาชนมีความรู้เกยี่ วกบั ขยายพันธุ์พืช และการต่อก่ิงแบบถูกวิธี ๕.๒. เปา้ หมายของการดำเนินงาน 1. เชงิ ปริมาณ - ประชาชนจำนวน 24 คน 2. เชิงคณุ ภาพ - ผเู้ ข้าร่วมโครงการทราบวธิ กี ารต่อกงิ่ แบบถูกวิธี และสามารถตัดต่อกิ่งไดด้ ้วยตนเอง ๖. กระบวนการดำเนินงาน ๖.๑. วิธีดำเนนิ การ 1. สำรวจความตอ้ งการของประชาชน ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ การจัดการกลุ่มเพือ่ ทราบถึง ปญั หาและข้อเสนอแนะในการแกป้ ญั หาของประชาชน หมู่ 2 ตำบลทา่ สะแก ๒. จัดทำโครงการการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สร้างภูมคิ ุ้มกัน พึง่ พา ตนเองอยา่ งย่ังยืน ตามวถิ ขี องเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. ประสานงานหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อฝึกอบรมทักษะของประชาชน ได้แก่ เกษตรอำเภอชาตติ ระการ ผู้นำชุมชนและภูมิปญั ญาในหมบู่ า้ นบา้ นขอนสองสลึง ๔. ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนดและสามารถปรบั เปลีย่ นกจิ กรรมได้ตามความ เหมาะสม - การดำเนินโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ตามวิถีของเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านขอนสองสลึง โดย ครู กศน.

๓ ตำบล เชิญเจ้าหน้าท่ีเกษตรจากเกษตรอำเภอชาติตระการมาให้ความรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชด้วยการต่อก่ิง พรอ้ มทัง้ สาธิตการตอ่ กิง่ ท่ถี ูกวธิ ี ๕. ติดตามและประเมินผลรว่ มกบั หน่วยงานเครอื ข่ายท่เี กยี่ วข้อง ๖. สรปุ และจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน และเผยแพร่ไปยังหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง ๖.๒. ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ 1. ผู้เข้ารว่ มโครงการทราบถงึ การขยายพันธพุ์ ืชดว้ ยการต่อกิง่ แบบถูกวธิ ี 2. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการสามารถขยายพันธ์พุ ชื ด้วยการตอ่ ก่ิงได้ด้วยตนเอง ๖.๓. การประเมินผลและเคร่ืองมือการประเมนิ ผล 1. ประเมินจากผลงาน/ชิ้นงาน โดยใช้แบบประเมนิ ผลงาน/ชิ้นงาน และติดตามการนำไปใช้ ประโยชน์ 2. ประเมินความรแู้ ละทักษะการขยายพันธ์ุพืชด้วยการต่อก่ิงของผู้เขา้ รว่ มอบรม และจาก ผลงาน/ชิ้นงาน โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลงาน/ชิ้นงาน และการสงั เกตการณน์ ำมาใช้ในชีวิตประจำวนั ๗. ผลการดำเนนิ งาน ผ้เู ข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเห็นความสำคัญของการ ขยายพันธุ์พืช สามารถขยายพันธุ์พืชได้ด้วยตนเอง และจากการติดตามผลการนำความรู้และทักษะไปใช้ ประโยชน์ พบว่า ผู้เขา้ รบั การอบรมนำความรู้ท่ีได้รบั ไปใช้ในการขยายพันธุ์พืชในพชื สวนของตนเอง ส่วนใหญ่จะ นำไปใช้ในการเปล่ยี นยอดมะม่วงเพื่อให้มีมะมว่ งหลายพนั ธุใ์ นตน้ เดยี วกนั ๘. ประโยชน์ทีไ่ ด้รับและการเผยแพร่ ๘.๑. ประโยชน์ทไี่ ด้รบั ได้ทราบวธิ กี ารต่อกง่ิ ท่ีถูกวธิ ี และสามารถนำวิธีการขยายพันธ์ุพืชไปใชใ้ นสวนของตนเองได้ ผลทีไ่ ดต้ ามมา คือ ได้พืชหลากหลายสายพนั ธใ์ุ นต้นเดียว และช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั หาพนั ธ์ุพืช ๘.๒. การเผยแพร่ ดำเนนิ การเผยแพร่ โดยจดั ทำเอกสาร ได้แก่ แผน่ พบั การขยายพนั ธพ์ุ ืช รายงานสรุปผลและ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานและเผยแพร่ใหก้ ับหนว่ ยงานและเครือข่ายทเ่ี กย่ี วข้องทราบ ๙. กลยทุ ธห์ รือปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเรจ็ 1. สร้างความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมโครงการในการร่วมมือกันแก้ปัญหา และเรียนรู้ตามขั้นตอน กระบวนการจดั กิจกรรมเพื่อใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงค์ 2. ศึกษาค้นควา้ หาความรู้ เทคนคิ วธิ ีการสร้างนวัตกรรมทเี่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ และสามารถนำไปใช้ได้จริงทำให้ ผู้เขา้ ร่วมโครงการเกดิ แรงบันดาลใจในการเรยี นรมู้ ากขึ้น 4. การขยายพันธุ์พืชด้วยการต่อกิ่ง ดำเนินการตามแนวทางวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ซ่ึง ดำเนินการอยา่ งเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ทุกขัน้ ตอน

๔ ๑๐. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค ในระหว่างฝึกปฏบิ ัติการตอ่ กง่ิ ดว้ ยตนเอง มีผเู้ ข้ารว่ มอบรมบางท่านไมช่ ำนาญในการใชเ้ คร่ืองมือในการ ตอ่ ก่งิ ในขัน้ ตอนการเฉือนกงิ่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมบางท่านออกแรงในการเฉือนมากเกินไปทำใหเ้ นือ่ เย่อื ชอกชำ้ และ เยนิ เสยี หาย จึงใช้ไมไ่ ด้และต้องเปล่ยี นกงิ่ ใหม่ ๑๑. การอา้ งองิ (ระบแุ หลง่ อ้างอิง เอกสารอา้ งองิ ฯลฯ) - การต่อก่ิง https://sites.google.com/a/nareerat.ac.th/plant-propagation/page-8 - การขยายพนั ธุ์พืชดว้ ยการต่อก่ิง https://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359301/pprop/7.grafting/grafting.html ๑๒. ภาคผนวก



คณะผ้จู ัดทำ ทปี่ รกึ ษา กนั ตง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอชาติตระการ ๑. นางพรสวรรค์ ลว้ นมงคล ครผู ู้ชว่ ย ๒. นางสาวชมพนู ชุ คณะทำงาน บญุ ประกอบ ครูอาสาสมัครฯ ๑. นางประยูร แสงสีบาง ครู กศน.ตำบล ๒. นางสาวเปยี ทิพย์ ผเู้ รยี บเรยี ง/จดั พิมพร์ ปู เล่ม/ออกแบบปก ครู กศน.ตำบล นางสาวเปยี ทพิ ย์ แสงสบี าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook