Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการทักษะชีวิต ไตรมาส 1-2 2565

สรุปโครงการทักษะชีวิต ไตรมาส 1-2 2565

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-12-27 06:25:43

Description: สรุปโครงการทักษะชีวิต ไตรมาส 1-2 2565

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดการเรียนรู้การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพ การสร้าง สุขภาพจิตที่ดี และเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เห็น คุณคา่ ของตนเองในการจัดการชีวิตตนเอง สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มน้ี ได้เรียบเรียงผลการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าสะแก ผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ไมม่ ากก็น้อยตอ่ ผู้ที่พบเหน็ หากมี ขอ้ ผิดพลาดหรอื มีขอ้ เสนอแนะทีค่ ิดว่าจะเป็นประโยชน์ โปรดแจ้งผจู้ ัดทำเพอ่ื ใช้ในการปรับปรงุ แก้ไขข้อมูลในคร้ัง ตอ่ ไปและขอขอบคณุ ไว้ ณ โอกาสน้ี กศน.ตำบลท่าสะแก

สารบญั ข เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 สรปุ ผลการดำเนนิ โครงการการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต 1 หลักการและเหตผุ ล 3 วตั ถุประสงค์ 4 เปา้ หมาย 13 18 ส่วนท่ี 2 วิธีการดำเนินการ 21 การดำเนนิ การจดั กิจกรรม ส่วนที่ 3 เนื้อหาสาระ ส่วนท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน สว่ นที่ 5 สรปุ ผลโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอนะ ภาคผนวก ภาพกจิ กรรม เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง คณะผ้จู ดั ทำ

สรปุ ผลการดำเนินโครงการ โครงการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ สุขภาพดี สร้างได้ดว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก *************************************************************************************************** ส่วนท่ี 1 รายละเอยี ดโครงการ โครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ สุขภาพดี สร้างไดด้ ้วยตนเอง ตำบลทา่ สะแก แผนงาน งบประมาณ : การจดั การศึกษาต่อเน่ือง งบประมาณ 805.- บาท ลักษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเนื่อง ( ) โครงการใหม่ กล่มุ ผู้รบั ผิดชอบ : การศึกษาต่อเน่ือง (การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต) 1. โครงการการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ สุขภาพดี สรา้ งไดด้ ว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก ๒. สอดคลอ้ งกับนโยบาย และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน กศน. สอดคล้องกบั มาตรฐานกศน. มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเน่อื ง ๑.๑ ผเู้ รียนการศึกษาต่อเนอื่ งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ และหรอื คุณธรรม เป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร ๑.๒ ผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปใช้ หรอื ประยุกตใ์ ชบ้ นฐาน คา่ นยิ มรวมของสังคม ๑.๓ ผู้จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องท่นี ำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษห์ รือตวั อย่างที่ดี สอดคล้องกบั นโยบาย และจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.5 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาของผูส้ ูงอายุ เพ่ือให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชวี ิตทีเ่ หมาะกับช่วงวยั 3. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาคุณภาพ ของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาที่สมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือการพัฒนา ผ้เู รียนในด้านวชิ าการการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร อีกดา้ นหนงึ่ คอื การพฒั นาผู้เรียนทางด้านจติ ใจ ด้านคุณธรรม ท้ังนี้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีการนำเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ การจัดกระบวนการเรยี นรู้เพือ่ สง่ เสรมิ ความสามารถของบคุ คล เพื่อให้สามารถจดั การ กับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามสภาพและความสุข ความปลอดภัยในสังคม ซึ่งเป็นการพัฒนา ทกั ษะพ้นื ฐานของบุคคล โดยบรู ณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนร้ตู า่ งๆ ในชีวิตประจำวนั เข้าด้วยกันการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เน้นส่งเสริมสนับสนุนให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ที่จะช่วยให้ บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อม สำหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยาเสพติด ความปลอดภัยในชีวิตสิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ผลกระทบจากการพนันออนไลน์ ฯลฯ เพื่อให้ สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิตก็คือความสามารถในการแก้ปัญหาที่ ตอ้ งเผชญิ ในชวี ิตประจำวัน

กศน.ตำบลท่าสะแก จงึ ได้จัดทำโครงการการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ สขุ ภาพดี สรา้ งไดด้ ว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก ในวนั ที่ 24 ธนั วาคม 2564 ณ ศาลาการเปรยี ญ วดั บ้านปากรอง หมู่ 3 ตำบลชาติตระการ อำเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณโุ ลก 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผสู้ ูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกับการดูแลสุขภาพ การสร้างสุขภาพจิตท่ีดี รู้เท่าทนั โรค ท่ีมากบั ภยั หนาว 2. เพอื่ ใหผ้ ู้สูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกับยาเสพติด และการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควดิ -19 3. เพอ่ื ปอ้ งกันและลดผลกระทบจากการพนันออนไลน์ 5. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ - ประชาชน(ผสู้ ูงอาย)ุ จำนวน 7 คน - บุคลากรท่ีเกีย่ วข้อง จำนวน 4 คน รวมท้งั สิน้ 11 คน เชงิ คณุ ภาพ ผูส้ ูงอายุ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการดูแลรักษาสุขภาพด้วยตนเอง มีสุขภาวะ สขุ อนามยั และสุขภาพจติ ทดี่ ี มีความรูใ้ นการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และมีความ เข้าใจเกยี่ วกับยาเสพติด เขา้ ใจถงึ ผลกระทบจากการพนันออนไลน์ สามารถใช้ชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างมคี วามสุขทง้ั รา่ งกายและจิตใจ เหน็ คุณค่าของตนเองในการจดั การชวี ติ ของตนเองให้อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข 6. สถานที่ - ณ ศาลาการเปรียญ วัดบ้านปากรอง หมู่ 3 ตำบลชาติตระการ อำเภอชาติตระการ จังหวัด พษิ ณโุ ลก 7. งบประมาณที่ไดร้ ับ - 805.- บาท 8. ผู้รับผิดชอบโครงการ - กศน.อำเภอชาตติ ระการ - งานการศึกษาต่อเน่ือง กศน.อำเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พิษณโุ ลก - ครอู าสาสมคั รฯ - ครู กศน.ตำบล ท่ีรบั ผิดชอบ 9. เป้าหมายในการดำเนินโครงการ เป้าหมาย ผ้สู ูงอายแุ ละ ประชาชนท่วั ไป จำนวน 7 คน ผลการดำเนนิ งาน 8 คน ชาย - คน หญิง 8 คน

สว่ นท่ี 2 วิธีการดำเนินการ ผูด้ ำเนนิ การจดั ทำโครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ สขุ ภาพดี สรา้ งไดด้ ้วยตนเอง ตำบลท่าสะแก ไดด้ ำเนินการในการอบรมเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะห์ข้อมูลดงั นี้ การดำเนินการจัดกจิ กรรม 1. เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลือกกิจกรรมท่จี ะจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานให้บคุ ลากรทเ่ี กีย่ วข้อง - ติดต่อประสางานในการจัดกจิ กรรม 2. วธิ กี ารดำเนินงาน - เขียนเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรยี มการจัดกจิ กรรมโครงการ 1. เตรียมการกอ่ นการจัดกิจกรรมโครงการ - การจดั เตรียมเอกสารโครงการ - ประสานงานตดิ ตอ่ ผนู้ ำชุมชนในพนื้ ทเี่ ปา้ หมาย - รวบเน้อื หาทีจ่ ะบรรยายในโครงการ - อืน่ ๆ 2. ตดิ ตอ่ ประสานงานเครือขา่ ย จดั การกิจกรรมโครงการตามแผนท่ีวางไว้ - ลงทะเบียนผเู้ ข้าร่วมการกจิ กรรมโครงการ - วทิ ยากรใหค้ วามเร่ืองต่างๆตามกำหนดการ - ฝึกปฏิบัตติ ามกำหนดการในโครงการ - สรุปกจิ กรรมยอ่ ย - ปดิ โครงการ - สรปุ รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการเปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการให้ผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งรับทราบ

สว่ นที่ 3 เนือ้ หาสาระ ผู้ดำเนนิ การจดั ทำโครงการการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ สขุ ภาพดี สร้างไดด้ ว้ ยตนเอง ตำบล ท่าสะแก ไดใ้ ช้ส่ือใบความรู้ แบบบันทกึ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองดังต่อไปน้ี วธิ ีการดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุ ข้อแนะนำจาก อ.นพ.สมบรู ณ์ อินทลาภาพร ภาควิชาเวชศาสตร์ปอ้ งกนั และสงั คม คณะ แพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล ทไี่ ดเ้ ขยี นบรรยายไว้อย่างน่าสนใจว่า 1. เลือกอาหาร วัยนี้ร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมที่ลดลง จึงควรลดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพิ่มแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีอยู่ในนม ถั่วเหลือง ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่างๆ และควรกินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนประเภทผดั ทอด จะชว่ ยลดปรมิ าณไขมนั ในอาหารได้ นอกจากนี้ ควรหลีกเลย่ี งอาหารท่ีมีรสหวาน จดั เค็มจัด และดืม่ นำ้ สะอาดอย่างน้อย 6-8 แก้วตอ่ วนั 2. ออกกำลังกาย หากไมม่ โี รคประจำตวั แนะนำให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิกสัก 30 นาทตี ่อครง้ั ทำให้ ได้สัปดาหล์ ะ 3-4 ครง้ั จะเกดิ ประโยชนต์ ่อหวั ใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขนั้ ตอนการออกกำลงั กายจะต้อง ค่อยๆ เริ่ม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มความหนักขึ้นจนถึงระดับที่ต้องการ ทำอย่างต่อเนื่องจนถึง ระยะเวลาที่ต้องการ จากนนั้ คอ่ ยๆ ลดลงชา้ ๆ และค่อยๆ หยุด เพอื่ ใหร้ า่ งกายและหวั ใจได้ปรับตัว 3. สัมผสั อากาศท่บี รสิ ทุ ธ์ิ จะชว่ ยลดโอกาสการเกดิ โรคได้ อาจเปน็ สวนสาธารณะใกล้ๆ สถานทีท่ อ่ งเท่ียว หรือการปรบั ภูมิทศั นภ์ ายในบ้านใหป้ ลอดโปร่ง สะอาด อากาศถา่ ยเทสะดวก มีการปลกู ต้นไม้ จัดเก็บส่ิงปฏิกูลให้ เหมาะสม เพอ่ื ลดการแพร่กระจายของเช้อื โรค และสามารถชว่ ยปอ้ งกนั โรคภูมิแพ้ หรอื หอบหดื ได้ 4. หลีกเลี่ยงอบายมุข ได้แก่ บุหรี่และสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรคได้ ทั้งลดค่าใช้จ่ายในการรกั ษา และยังช่วยป้องกันปัญหาอบุ ัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของสังคม ในขณะน้ี 5. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและโรคที่เป็นอยู่ ส่งเสริม สุขภาพให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือการหก ลม้ 6. ควบคุมน้ำหนักตัวหรือลดความอ้วน โดยควบคุมอาหารและออกกำลังกายจะช่วยทำให้เกิดความ คล่องตัว ลดปัญหาการหกล้ม และความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคหลอดเลือดหัวใจ เปน็ ตน้ 7. หลีกเล่ยี งการใช้ยาท่ีไมเ่ หมาะสม เชน่ การซื้อยากินเอง การใช้ยาเดิมท่ีเก็บไวม้ าใชร้ ักษาอาการที่เกิด ใหม่ หรือรับยาจากผู้อื่นมาใช้ เนื่องจากวัยนี้ประสิทธิภาพการทำงานของตับและไตในการกำจัดยาลดลง ทำให้ เสี่ยงต่อการเกิดพิษจากยาหรือผลข้างเคียงอาจมีแนวโน้มรนุ แรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ฉะนั้นจึงควรปรึกษาแพทยก์ ่อนใชย้ าจะดีที่สุด 8. หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย เช่น คลำได้ก้อน โดยเฉพาะก้อนโตเร็ว แผลเรื้อรัง มี ปญั หาการกลนื อาหาร กลนื ติด กลืนลำบาก ท้องอืดเรอ้ื รงั เบอ่ื อาหาร น้ำหนักลด ไอเรอ้ื รัง ไขเ้ ร้อื รัง เหน่ือยง่าย

แนน่ หน้าอกหรอื ถา่ ยอจุ จาระผิดปกติ มีอาการทอ้ งเสยี เรื้อรัง ท้องผกู สลบั ทอ้ งเสยี ถา้ อยา่ งนีล้ ะ่ ก็พามาพบแพทย์ ดีทส่ี ดุ 9. ตรวจสุขภาพประจำปี แนะนำให้ตรวจสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์ จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือด แข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็ง ลำไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และยังมีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเสี่ยงต่อการ เกิดอบุ ัติเหตุด้วย แนวทางสรา้ งสุขภาพจิตท่ีดี การมสี ขุ ภาพจติ ทีด่ ี จะนำไปสคู่ วามสขุ สบายใจและสามารถจัดการกบั ความเครยี ดได้ง่ายขนึ้ แถมยังช่วยให้อายุยืนยาวยิ่งกว่าเดิมอีกด้วย เพราะฉะนั้นจะดีกว่าไหมหากเรามาสร้างสุขภาพจิตให้ดีตั้งแต่วันนี้ ซ่งึ จะมีวธิ ีอย่างไรบ้าง เรากไ็ ด้รวบรวมมาแนะนำกันด้วยแต่ก่อนอนื่ มาทำความเข้าใจกบั สาเหตุท่ีก่อให้เกิดปัญหา สุขภาพจิตท่ไี ม่ดี และความทุกข์ใจกันกอ่ นดีกวา่ สาเหตุทที่ ำให้สุขภาพจิตแย่ โดยส่วนใหญ่แล้วสาเหตุที่ทำให้สุขภาพจิตแย่ลง ล้วนมาจากนิสัยแย่ๆ ของตัวเราเอง และการต้ัง ความหวังบางอย่างท่สี ูงเกนิ ไป เม่ือเจอกบั ความผดิ หวงั จงึ ทำให้สุขภาพจิตแยล่ งแบบไม่ทนั ตงั้ ตวั เลยทีเดียว ซ่ึงก็ มสี าเหตุดงั นี้ 1. ความเครียด ความเครียดสามารถเกิดขึ้นได้กับคนเราทุกคนและเกิดได้ทุกเวลา ขึ้นอยู่กับว่าเราจะ สามารถจัดการกับความเครียดได้ดีแค่ไหน โดยความเครียดก็ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สุขภาพจิตแย่ลงเช่นกัน เพราะเมื่อเรามีความเครียด ก็จะส่งผลกระทบต่อจิตใจ ให้เกิดความวิตกกังวลและคิดมากอยู่ตลอดเวลา แถมยัง ทำให้อารมณ์ไม่คงท่ี หงุดหงิดง่ายและขาดสมาธิที่จะทำงานหรือทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันอีกด้วย นอกจากนคี้ วามเครยี ดกเ็ ป็นสาเหตุหนึง่ ที่ทำให้เกดิ โรคร้ายต่างๆ ได้เช่นกัน 2. อยากมี อยากไดเ้ หมือนคนอืน่ หลายคนมกั จะลมื ไปว่าคนเรามตี ้นทนุ ชวี ิตท่ีไม่เหมือนกัน จงึ ปล่อยให้ กิเลส ความอยากได้อยากมีเข้าครอบงำ ซึ่งนั่นก็ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตไม่น้อยเลยทีเดียว โดนขอแบ่ง ออกเปน็ 2 กรณดี ังน้ี ▪ กรณีที่ 1 อยากไดเ้ หมือนคนอืน่ แตท่ ำไม่ได้ เน่อื งจากมรี ายไดน้ ้อยจึงไม่สามารถตอบสนองความอยากของ ตวั เองได้ จงึ ก่อให้เกิดความทุกข์ ทุกข์ใจที่ไม่สามารถมีได้อย่างใครเขา ทกุ ข์ใจทเ่ี หน็ คนอ่นื ดีกว่า และทุกข์ ใจจากความอิจฉา ริษยา น่นั เอง ▪ กรณีที่ 2 อยากได้ จึงทำทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการ โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา ซึ่ง สว่ นใหญ่จะนำเงินท่ีมีไปทมุ่ กับความอยากได้หรือกู้ยืมมาเพ่ือให้ได้สิ่งท่ีต้องการ ผลท่ีตามมาจึงเป็นปัญหา ความขัดสนทางการเงนิ หรือหนี้สนิ ซงึ่ กจ็ ะกอ่ ให้เกดิ ความเครียดและสขุ ภาพจิตทีแ่ ย่ลงตามลำดับ 3. ข้ีระแวงจนเกินไป จริงอยู่ที่ยุคสมัยนี้เราไม่ควรไว้ใจใครมากเกินไป เนื่องจากรู้หน้าไม่รู้ใจ แต่หากขี้ ระแวงจนเกินไปก็ส่งผลต่อสุขภาพจิตได้เหมือนกัน เพราะจติ ใจจะคิดพะวงอยู่แต่ความระแวง ไม่กล้าไว้วางใจใคร มีเพอื่ นกก็ ลัวเพือ่ นจะคิดทรยศ หกั หลัง เจอใครก็กลัวแต่เขาจะคิดร้าย หรือมแี ฟนกก็ ลวั วา่ แฟนจะมีคนอื่น ซึ่งทุก สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้จิตใจของคนเราไม่สงบ และหากปล่อยไว้นานๆ ก็อาจก่อให้เกิดโรคจิตเวชชนิดหนึ่งได้เลย ทีเดยี ว

4. มองโลกในแง่ร้าย คนที่มองโลกในแง่ร้าย มักจะมีชีวิตในแต่ละวันที่เต็มไปด้วยความเศร้าหมองและ หดหู่ เพราะคิดแต่ว่าคนอื่นเป็นศตั รูกบั ตน และตนมักจะเจอแต่เร่ืองรา้ ยๆ เข้ามาในชีวติ เสมอ ซึ่งการคิดแบบนีก้ ็ จะเป็นการบั่นทอนจิตใจของตัวเองเป็นอย่างมาก และแน่นอนวา่ มันทำลายสุขภาพจติ ได้มากทเี ดยี ว 5. ตง้ั เปา้ หมายไวส้ ูง เพอื่ การประสบความสำเรจ็ ไม่วา่ เรอื่ งอะไรกต็ าม คนเราควรมีเปา้ หมายให้กับตัวเอง เสมอ แต่อย่างไรกต็ ามการต้ังเป้าหมายทสี่ ูงเกนิ ไป กอ็ าจต้องเจอกับความผิดหวัง ซึง่ ก็จะทำใหส้ ขุ ภาพจิตแย่ลงได้ เหมือนกนั ดังนน้ั การตัง้ เป้าหมายท่ดี ี ควรกำหนดเปา้ หมายที่ไม่ไกลเกินเอ้ือมจะดีกว่า 6. เจอกับเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจ เมื่อต้องเจอกับเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรง ก็จะ ทำให้คนเรามีสุขภาพจิตที่แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด โดยบางคนอาจถึงขั้นมีอาการป่วยทางจิตเวชได้เลยทีเดียว เนื่องจากจิตใจไมส่ ามารถยอมรบั กบั สงิ่ ท่ีเกดิ ขึน้ ไดท้ ันนั่นเอง วิธีสร้างสุขภาพจติ ทด่ี ี ไมว่ ่าคุณกำลงั มปี ัญหาสุขภาพจติ ท่แี ย่หรอื ไม่ การสรา้ งสขุ ภาพจติ ท่ดี ีกเ็ ป็นเรอื่ งท่สี ำคัญอยูเ่ สมอ เพราะนี่ คอื หนทางแห่งความสุข ความสบายใจและเปน็ วิธหี นึ่งที่จะทำให้คุณมสี ุขภาพท่ีดแี ละแข็งแรงตลอดไปนั่นเอง โดย สำหรับวิธกี ารสรา้ งสุขภาพจิตทดี่ ีก็ทำได้ไมย่ าก ซงึ่ สามารถทำได้หลายวิธดี ังน้ี 1. ผอ่ นคลายความเครียด อยา่ งท่กี ล่าวไปแล้วขา้ งตน้ ว่า สุขภาพจติ แย่ก็เกดิ จากการทีเ่ ราไม่สามารถ จดั การกบั ความเครยี ดไดน้ นั่ เอง ดงั นนั้ เพือ่ สร้างสุขภาพจิตท่ดี ีให้กบั ตนเอง จึงต้องเรมิ่ จากการเรยี นรวู้ ิธีผ่อน คลายความเครียดอย่างถกู หลัก ซึง่ กม็ วี ธิ ีการจัดการกับความเครยี ดดังนี้ – ออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายจะทำให้เราหยดุ นกึ ถึงเรื่องเครียดๆ หรือเรื่องที่กำลงั กังวลไป ได้ระยะหนึ่ง แถมยังทำให้กล้ามเนื้อที่หดตึงจากความเครียด ค่อยๆ คลายออก จึงส่งผลให้รู้สึกสบายและผ่อน คลายมากขน้ึ อีกดว้ ย ท่สี ำคญั เม่อื เราออกกำลังกายบ่อยๆ รา่ งกายจะมีการสรา้ งสารแหง่ ความสุขออกมามากกว่า เดิม จึงทำให้เรามีสภาพจติ ใจดแี ละจัดการกับความเครียดได้อยา่ งอยหู่ มัด – ทำงานอดิเรก การจดจ่อกับสิ่งที่ชอบ จะทำให้เราคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง เนื่องจากส่ิง เหล่านี้จะทำให้เราเกิดความเพลิดเพลินและสามารถสร้างความสุข ความสบายใจได้เป็นอย่างดี ไม่แน่คุณอาจจะ คิดไอเดยี ดีๆ ทจี่ ะแกป้ ญั หากับสงิ่ ท่ีเจออยู่ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพก็ได้ – ทานช็อกโกแลต รู้ไหมว่าช็อกโกแลตก็มีส่วนช่วยในการผ่อนคลายความเครยี ดได้ดเี หมือนกัน แต่ต้อง เป็นดาร์กชอ็ กโกแลตเท่าน้ัน เพราะอุดมไปดว้ ยสารฟลาโวนอยด์ท่ีจะช่วยให้อารมณ์ดีและลดฮอรโ์ มนความเครียด ลงได้ แมว้ า่ รสชาตจิ ะไมห่ วานมากนัก แตก่ ็สามารถทานได้อย่างเพลดิ เพลนิ และสรา้ งความสุขได้ดที ีเดยี ว – ฟังเพลง แค่ได้ฟังเพลงเบาๆ จังหวะสบายๆ หรือจังหวะมันส์ๆ ก็จะทำให้สมองปลอดโปร่งและลืม ความเครียดไดอ้ ยา่ งง่ายดาย เพราะฉะน้นั ลองหามมุ สงบและเปิดเพลงเบาๆ ฟงั ดูสิ รบั รองว่าจะทำใหค้ วามเครียด ลดลง และสขุ ภาพจิตดขี น้ึ อยา่ งแน่นอน 2. ลดละ ความอยากได้อยากมี อาจดูเป็นเรื่องยาก แต่เชื่อเถอะว่าแค่มีความตั้งใจจริงก็สามารถทำได้ แน่นอน เพียงแค่พยายามลดความอยากได้อยากมีออกไปให้ได้มากที่สุด และตั้งตนเองอยู่บนพื้นฐานของความ พอเพียง กล่าวคือ - ควรอยากมีอยากได้ในสิ่งที่ตนเองสามารถเอื้อมถึงได้ไม่ยาก โดยสิ่งนั้นจะต้องมีราคาที่ไม่แพงเกินไป และมนั่ ใจได้ว่าเมอ่ื ลงทุนซ้อื ไปแลว้ จะไมส่ ง่ ผลกระทบต่อการเงนิ และการใช้จา่ ยในชวี ิตประจำวนั - ควรอยากมีอยากไดเ้ ฉพาะของทจ่ี ำเปน็ และนำมาใชป้ ระโยชน์ได้จริงเทา่ นัน้ - ระลึกอยู่เสมอวา่ คนเรามีต้นทุนชีวิตท่ีแตกต่างกัน จงึ ไม่จำเปน็ ท่จี ะต้องมีอยา่ งใครเขาและต้องไม่อิจฉา คนอื่นดว้ ยหากสามารถทำได้ดังน้ีสุขภาพจิตของเราก็จะดีขนึ้ และไมเ่ กดิ ความทุกข์ ความอจิ ฉารษิ ยา ถึงแม้ว่าจะ เห็นผูอ้ ืน่ ดกี ว่ากต็ าม

3. สรา้ งความสัมพนั ธ์ทดี่ กี ับผ้อู น่ื การสรา้ งความสมั พนั ธ์กับผ้อู ่นื ถือเป็นสงิ่ ทส่ี ำคัญมาก เพราะนอกจาก จะทำให้เกดิ มติ รภาพที่ดตี อ่ กนั แล้ว ยังดตี อ่ สุขภาพจติ อีกดว้ ย ยกตวั อยา่ งเชน่ การทำงาน หากเรามีเพอ่ื นรว่ มงาน ที่ดีและสามารถเข้ากันกับเพื่อนร่วมงานได้ ก็จะทำให้เราทำงานได้อย่างมีความสุข สามารถพูดคุยสังสรรค์กับ เพื่อนร่วมงานได้ตลอด และเมื่อมีปัญหาอะไรก็ยังมีเพื่อนคอยให้คำปรึกษาและรับฟังเรื่องราวของเราอีกด้วย ซึ่ง มันก็คงจะดีกว่าการไม่มีเพื่อนเลยสักคนจริงไหม โดยคนที่ปิดกั้นตนเองจากการสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อน รว่ มงาน กจ็ ะกลายเป็นคนท่หี ดหู่ โดดเด่ยี วและมักจะเกดิ ความระแวงว่าใครจะคิดไม่ดีกบั ตนเองเสมอ ซึ่งท้ังหมด นีล้ ว้ นเป็นการทำลายสุขภาพจิตทั้งส้ิน ดงั น้นั มาสรา้ งความสัมพันธ์ทีด่ ีกับผู้อน่ื และมองโลกในแง่ดีกันดีกว่า อย่าง น้อยก็จะทำให้สขุ ภาพจติ ดีข้ึนมากทีเดียว 4. รู้จักปล่อยวาง เรื่องบางเรื่องหากเก็บเอามาคิดหมกมุ่นตลอดเวลา ก็จะทำให้เกิดความเครียดและ ส่งผลตอ่ สขุ ภาพจติ ได้ ดังน้นั จงึ ควรร้จู กั ปล่อยวางบ้าง ซึ่งการปล่อยวางก็สามารถทำได้หลากหลายวธิ ดี งั นี้ – มองข้ามสิ่งเล็กๆ น้อยๆ แม้ว่าสิ่งนั้นจะไม่ถูกต้อง เพราะอย่างไรสิ่งผิดพลาดเหล่านั้นก็ไม่ได้ส่งผล กระทบอะไรมากมาย บางครั้งการมองข้ามสิ่งเล็กน้อยไปและให้ความสำคัญกับสิ่งที่สำคัญกว่า ก็จะช่วยสร้าง คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ไี ดม้ ากทเี ดยี ว และไม่ทำให้ตอ้ งเสยี เวลากบั การจมปลกั อยกู่ บั ส่งิ นนั้ อีกด้วย – อย่ากังวลในความคิดของคนอื่นมากเกินไป เพราะนั่นจะยิ่งทำให้สุขภาพจิตของคุณแย่ลงไปเปล่าๆ ควรคิดอยู่เสมอว่าคนเรามีความคิดที่แตกต่างกัน ซึ่งแทนที่จะเครียดกับความคิดของคนอื่น มาปรับปรุงและ พัฒนาความคิดของตัวเองให้ดีขึ้นดีกว่า ส่วนกรณีที่มีคนชอบและไม่ชอบเรานั้น ก็ถือเป็นเรื่องธรรมดา พวกเขา อาจจะเอาเราไปนินทาบ้าง แต่หากไม่เก็บมาใส่ใจ ก็ไม่มีอะไรที่จะมาบั่นทอนความรู้สึกและสขุ ภาพจิตของเราได้ อย่างแนน่ อน – อดีตที่เลวร้ายอย่าไปจดจำ หลายคนมักจะเก็บเอาอดีตที่เลวร้ายมาคิดอยู่เสมอ ซึ่งนั่นก็เป็นการบ่ัน ทอนกำลังใจของตัวเองและส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตเป็นอย่างมาก ไม่ว่าอดีตเหล่านั้นจะเป็นเรื่องของความ ผิดพลาดในการทำงาน ชีวิตครอบครัวที่ย่ำแย่ในวัยเด็ก หรืออดีตเรื่องความรักก็ตาม เพราะฉะนั้นควรปล่อยวาง ซะให้หมด และมุ่งอยู่กบั ปัจจุบัน แค่ทำปัจจุบันใหด้ ี ความสุขและความสำเร็จก็จะอย่ไู มไ่ กลเกินเอ้ือมแนน่ อน – อย่าเข้มงวดกับตารางชีวิตจนเกินไป หลายคนมักจะกำหนดตารางชีวิตในแต่ละวันไว้แบบเป๊ะๆ ซึ่ง เมอ่ื ไม่สามารถทำได้ตามที่ต้ังเป้าไว้ ก็จะทำใหเ้ กิดความเครียดและกดดนั ในทส่ี ดุ ดงั นนั้ จงึ ควรปล่อยวางบ้าง โดย สร้างความยืดหยุ่นให้กับตารางประจำวันเล็กน้อย เมื่อไม่สามารถทำได้ตามเป้าหมายก็จะได้ไม่เกิดความรู้สึก ย่ำแยจ่ นเกนิ ไป 5. การทำสมาธิ ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยสร้างสุขภาพจิตที่ดีได้ เพราะเมื่อทำสมาธิจะทำให้เราเกิด ความรู้สึกผ่อนคลาย สบายใจและมีสติกับเรื่องต่างๆ มากขึ้น แถมยังช่วยจัดการกับความเครียด ความกังวลได้ อย่างดีเยี่ยมอีกด้วย โยการทำสมาธินั้นอาจจะหาช่วงเวลาว่างๆ ตอนเช้า ตอนเย็นหรือก่อนนอนสักประมาณ 10–20 นาที แค่ทำเป็นประจำ ก็จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีได้ หรือจะเป็นการฝึกสมาธิด้วยวิธีอื่นๆ ก็ได้ เหมือนกัน 6. ดึงตัวเองออกจากสถานการณ์แย่ๆ เมื่อกำลังรู้สึกว่าตัวเองตกอยู่ในสถานการณ์ย่ำแย่ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องงาน เรื่องในครอบครัว เรื่องความรักหรือเรื่องอื่นๆ ควรดึงตัวเองออกมาจากสถานการณ์เหล่านั้นทันที เพราะสถานการณ์เหล่านั้นจะทำให้เกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ ความเศร้าหมอง ซึ่งเมื่อปล่อยไว้นานๆ ก็อาจ นำไปสู่ภาวะโรคซึมเศร้าและปญั หาสุขภาพจิตอื่นๆ ได้ เพราะฉะนนั้ ตัดสินใจดึงตวั เองออกมาต้ังแต่วันน้ีจะดีท่ีสุด โดยเฉพาะเรือ่ งความรัก หากคดิ วา่ ความรกั กำลงั ไปไม่รอด ไมว่ ่าจะเป็นเพราะเขามคี นใหม่หรือนิสยั ที่เข้ากันไม่ได้ กค็ วรจบความสมั พนั ธน์ ั้นซะ แม้จะตอ้ งใชเ้ วลาในการทำใจแต่กไ็ มท่ ำใหส้ ขุ ภาพจิตแย่ลงไปกว่าเดิมแน่นอน

วิธปี ้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 1. ล้างมือบอ่ ยๆ ดว้ ยสบูแ่ ละน้ำ หรอื เจลลา้ งมือท่มี สี ่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์ 2. รกั ษาระยะหา่ งทปี่ ลอดภัยจากผู้ทไ่ี อหรอื จาม 3. ไม่สัมผสั ตา จมูก หรือปาก 4. ปิดจมกู และปากดว้ ยข้อพับด้านในข้อศอกหรอื กระดาษชำระเมื่อไอหรือจาม 5. เกบ็ ตวั อยู่บา้ นเมอ่ื ไมส่ บาย 6. หากมไี ข้ ไอ และหายใจลำบากโปรดไปพบแพทย์ ตดิ ต่อล่วงหน้า 7. ปฏิบัตติ ามคำแนะนำของหนว่ ยงานสาธารณสุขในพื้นท่ี 8. หลีกเลย่ี งการไปสถานพยาบาลเพ่ือให้บุคลากรในระบบสาธารณสุขปฏบิ ัติงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ยง่ิ ขึ้นและปกปอ้ งคณุ รวมถงึ คนอ่นื ๆ ยาเสพตดิ ความหมายสารเสพติด คือ สารใดๆกต็ ามที่ไม่ใช่อาหารซง่ึ สามารถมีผลกระทบต่อการทำงานของ ร่างกายและจติ ใจ ยาเสพติดสามารถเปลี่ยนความคดิ ความรสู้ ึก และการกระทำของบุคคลได้ โดยแบง่ ตาม ประเภทการออกฤทธ์ติ อ่ จติ ประสาท ได้แก่ สารกระตุ้นประสาท คอื สารทีก่ ระตุ้นร่างกายและการทำงานของสมองใหท้ ำงานเร็วขึ้น ได้แก่ บุหรี่ โคเคน ยาบ้า ไอซ์ กระท่อม สารกดประสาท คอื สารที่ทำให้รา่ งกายและการทำงานของสมองชา้ ลง ไดแ้ ก่ เหล้า เฮโรอนี ยาหลอนประสาท คือ สารท่ีทำให้การมองเห็น ความรู้สึก และการไดย้ นิ เปลย่ี นแปลงไป ได้แก่ ยาอี ยาเค สารท่อี อกฤทธิ์ผสมผสาน คอื สารทีม่ ีการออกฤทธิ์กดประสาท กระต้นุ ประสาท หรอื หลอนประสาทได้ พรอ้ มๆกัน ได้แก่ กัญชา ทำไมคนจึงเสพสารเสพตดิ ??? 1. ตนเอง อยากรู้ อยากลอง ต้องการเปน็ ท่ยี อมรบั ของกลุม่ เพ่ือน ไม่มีความรเู้ ร่ืองสารเสพติด ประสบ ความล้มเหลวในชวี ติ หรอื เกดิ จากการเจ็บปว่ ย - อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเหน็ ซง่ึ เป็นนสิ ัยของคนโดยท่วั ไปและไมค่ ิดว่าตนจะตดิ สารเสพ ติด จึงไปทำการทดลองใช้ ในการทดลองใช้ครง้ั แรกๆ อาจมีความรสู้ ึกดีหรือไมด่ กี ็ตาม ถ้ายังไมต่ ิดสารเสพตดิ ก็ อาจประมาทไปใชอ้ ีก จนในที่สุดก็ตดิ สารเสพตดิ น้นั หรือ ถ้าไปทดลองใชส้ ารเสพตดิ บางชนดิ เชน่ เฮโรอีน แม้จะ เสพเพยี งครง้ั เดยี ว ก็อาจทำใหต้ ดิ ได้ - ถกู หลอกลวง ยาเสพตดิ มรี ปู แบบต่างๆ มากมาย ผ้ถู ูกหลอกลวงไม่ทราบวา่ สง่ิ ที่ตนได้กนิ เขา้ ไปน้ัน เป็น ยาเสพติดใหโ้ ทษร้ายแรง คดิ ว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง หรอื เปน็ อะไรตามท่ผี หู้ ลอกลวงแนะนำ ผลสดุ ท้าย กลายเป็นผูต้ ิดสารเสพตดิ 2. ครอบครวั เช่น บคุ คลในครอบครวั ติดสารเสพติด ครอบครัวไมม่ ีความอบอ่นุ มกี ารทะเลาะเบาะแว้ง กนั การหย่ารา้ งและแตง่ งานใหมข่ องหวั หนา้ ครอบครวั พ่อแมไ่ ม่เขา้ ใจลูก รกั ลูกไม่เทา่ กัน และมกี ารเปรียบเทียบ ระหว่างลกู แต่ละคน หรอื เปรียบเทยี บกบั ลูกเพื่อนบา้ น 3. ส่ิงแวดล้อม เช่น มแี หล่งผลิตหรอื แหล่งระบาดของยาเสพตดิ ท่สี ามารถเขา้ ถงึ ไดง้ ่าย มีตัวอย่างจากส่ือ ประเภทตา่ งๆ สงั คมไม่เปิดโอกาสหรือไมย่ อมรบั ผตู้ ิดยาได้กลบั เข้ามาสสู่ งั คมปกติ อาศยั อยใู่ นในส่งิ สิ่งแวดล้อมที่ เอ้อื ต่อการติดยาเสพติด

4. เศรษฐกิจ เชน่ เศรษฐกิจ ตกต่ำ วา่ งงาน มีหน้ีสินลน้ พน้ ตวั กลุ้มใจที่เปน็ หนกี้ ไ็ ปกินเหลา้ หรือสูบ กัญชาใหเ้ มาเพอื่ ที่จะไดล้ มื เรื่องหน้ีสิน บางคนต้องการรายได้เพิ่มข้ึนโดยพยายามทำงานหนักมากขึ้นทัง้ ๆ ที่ ร่างกายอ่อนเพลียมาก จงึ รบั ประทานสารกระตนุ้ ประสาทเพือ่ ให้สามารถทำงานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทำอยูเ่ ปน็ ประจำทำให้ติดสารเสพติดนนั้ ได้ เสน้ ทางการตดิ ยา เสน้ ทางการติดยาตั้งแต่เร่มิ เสพจนกระทั่งตดิ สามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ ได้แก่ 1. เร่มิ ทดลองอยากรู้อยากเห็น (Experiment and first-time use) เมือ่ มคี นแนะนำให้ทดลอง รว่ มกับ ความรู้สกึ อยากลอง หรือใช้ gateway drug อยูแ่ ลว้ เชน่ บุหรี่ เหล้า ซึ่งสารเหลา่ นที้ ำใหเ้ กดิ การเรียนรวู้ า่ สารทำ ใหเ้ กดิ ความพึงพอใจ สบายได้มากกวา่ ท่เี ป็นอยู่ หรือเพ่ิมพละกำลังในการทำงาน 2. ใชเ้ ปน็ ครง้ั คราว (Occasional use) เกิดความตดิ ใจในผลของสารเสพติด เรียนรู้ว่าหากใชป้ รมิ าณ มากขนึ้ ก็จะได้รบั ผลความรสู้ ึกดมี ากข้นึ เกดิ ความรู้สกึ เปน็ สุขอย่างมาก 3. ใชส้ มำ่ เสมอใช้อย่างพรำ่ เพรือ่ (Regular use) หมกมุ่นกบั การหาสารมาเสพ มอี าการเมายา การ ทำงาน การเรียนแย่ลง สมั พนั ธภาพกับคนรอบข้างไมด่ ี ใชจ้ ่ายเงนิ เปลือง อาจถูกจบั เนอื่ งจากเสพหรือค้า 4. เกดิ ภาวะพึง่ พาสุรายาเสพติด (Dependence) ใช้สารมาอยา่ งต่อเน่ืองยาวนาน จนเกิดอาการทนต่อ ยา (Tolerance) และภาวะถอนยา (Withdraw) หรือ มกี ารใชเ้ กนิ ขนาด (Drug Overdose) โดยไมต่ ง้ั ใจ พษิ ภัยรา้ ยของสารเสพตดิ ตอ่ ร่างกายและจิตใจของผเู้ สพ 1. ทำลายประสาทสมอง จติ ใจเสื่อม ซมึ เศร้า วิตกกังวล เลื่อนลอย และเกดิ ภาวะผดิ ปกติทางจิตจากสาร เสพติดน้นั ๆพษิ จากสารเสพติดทำลายอวยั วะต่างๆใหเ้ สือ่ มลง มีโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ร่างกายซูบซดี อ่อนเพลีย 2. เสียบคุ ลกิ ภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสตสิ ัมปชญั ญะการควบคุมกลา้ มเน้ือและระบบประสาท บกพร่อง ทำใหป้ ระสบอุบตั เิ หตุได้ง่าย ตอ่ ครอบครัวและสังคม 1. ครอบครัวทมี่ ผี ตู้ ดิ สารเสพติด มกั ได้รับความเดอื ดร้อนจากผู้ตดิ สารเสพติดในทุกด้าน เชน่ การขาด ความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่นำไปสู่ความขัดแยง้ ทะเลาะววิ าท ก่อให้เกดิ ความเครียด และต้องแกไ้ ขปัญหาบ่อยๆ 2. ทำให้สญู เสียสมรรถภาพ การทำงาน ทำให้เกิดผลกระทบต่อครอบครัวทั้งทางเศรษฐกจิ และสังคมเสยี ทรัพยส์ นิ รายได้ของครอบครวั เนือ่ งจากตอ้ งซือ้ สารเสพตดิ มาเสพ และรักษาโรคทีเ่ กิดจากสารเสพติด 3. ปัญหาสารเสพติดก่อให้เกดิ ความหวาดระแวงจากประชาชนและสังคมเปน็ วงกวา้ ง เนื่องจากเกรงวา่ บุตรหลานจะเขา้ ไปเก่ียวข้องกบั สารเสพตดิ หรือถูกประทุษร้ายจากผู้เมาสารเสพติด หรือมคี วามผดิ ปกติทางจิต จากการใชส้ ารเสพติด ต่อสว่ นรวมและประเทศชาติ เป็นภัยต่อความม่ันคง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม และวถิ ีชีวติ ทเี่ ปน็ สขุ ของคนใน ประเทศประเทศชาตสิ ญู เสยี งบประมาณในการป้องกัน ปราบปราม บำบัดรกั ษาผตู้ ิดสารเสพติด เราทกุ คนจะป้องกนั สารเสพติดอยา่ งไร? ตนเองเป็นบทบาทสำคัญท่สี ามารถปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดได้ ดังน้ี 1. ศึกษาความร้เู ก่ียวกับโทษ และพิษภยั ของสารเสพตดิ ไมท่ ดลองเสพสารเสพติดทกุ ชนดิ รเู้ ทา่ ทนั การ หลอกลวง ชกั จูงจากกลมุ่ ผูค้ า้ สารเสพติด เลือกคบเพือ่ นท่ีไม่ใช้สารเสพตดิ และใชท้ กั ษะการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน 2. มีทัศนคตทิ ีด่ ีต่อชีวติ มคี วามภาคภูมิใจในตนเองว่ามคี ณุ คา่ ทง้ั ต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม ไม่ควร ทำลายชีวติ ท่ไี ด้มาดว้ ยการติดสารเสพติด

3. ตระหนักในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง ระลึกเสมอว่าขณะนี้ตนเองมีบทบาทหน้าท่ีอะไรเช่น มีหนา้ ที่ เรียนหนังสือก็ควรต้ังใจศกึ ษาเล่าเรียนเชอื่ ฟงั คำสัง่ สอนของพอ่ แม่ ครู อาจารย์ เป็นต้น 4. รกั ษาสุขภาพรา่ งกายให้แข็งแรงและทำจิตใจให้แจม่ ใสใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ในการทำกจิ กรรม ตา่ งๆเชน่ อ่านหนังสือ เล่นกีฬา หรือทำงานอดเิ รกตา่ งๆ 5. มที ักษะในการดำเนนิ ชวี ติ รู้จกั แกไ้ ขปัญหาในทางที่ถูกทค่ี วร กลา้ เผชิญปัญหา รู้จกั คิดไตร่ตรองดว้ ย เหตผุ ล ไม่หลีกหนีปัญหาดว้ ยการเสพสารเสพติด 6. ขอคำปรึกษาหรือขอความชว่ ยเหลือจากผู้ใหญ่ ผู้ปกครอง เพราะการแก้ไขปัญหาโดยลำพังแบบ รเู้ ท่าไม่ถงึ การณ์ อาจนำไปสู่การใช้ชวี ติ ทผี่ ดิ พลาดได้ ครอบครัว ควรสอดส่องดแู ลเดก็ และบุคคลในครอบครวั อย่าให้เก่ียวข้องกับยาเสพตดิ อบรม ส่งั สอน ให้ รถู้ ึงโทษภัยของยาเสพตดิ ดูแลเรื่องการคบเพ่ือน คอยสง่ เสรมิ ให้รูจ้ ักใช้เวลาในทางทีเ่ ป็นประโยชน์ เช่น การ ทำงานบา้ น การเลน่ กีฬา เพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ดก็ หนั เหไปสนใจในยาเสพติด ทุกคนในครอบครัวควรสรา้ งความรัก ความเข้าใจ และสัมพนั ธภาพอนั ดีต่อกัน ท่ีพ่งึ เปน็ ที่ปรึกษาและให้กำลังใจแก่กันและกนั นอกจากน้ีพ่อแม่ควร เปน็ แบบอย่างทดี่ ีในการไมใ่ ช้สารเสพติด เช่น ไม่สบู บุหรี่ ไม่ดมื่ เหลา้ โรงเรียน ควรมีกิจกรรมใหค้ วามร้เู รื่องพิษภัยสารเสพติดอย่างสม่ำเสมอครูควรเอาใจใส่ในการดแู ล นักเรียน เป็นท่ีปรึกษาทด่ี ี และมีการจัดกจิ กรรมให้แกน่ ักเรียนอย่างสร้างสรรค์ เพอื่ ส่งเสรมิ ใหใ้ ชเ้ วลาวา่ งให้เป็น ประโยชน์ พอ่ แมผ่ ู้ปกครองควรทำอยา่ งไรเมอื่ ลกู ยงุ่ เก่ยี วกบั สารเสพตดิ พ่อแมผ่ ปู้ กครองจะต้องรว่ มมอื ร่วมใจ ช่วยเหลอื โดยอาศัยความรัก ความเข้าใจ เปน็ พนื้ ฐานในการทำใจยอมรบั สภาพปญั หาที่เกดิ ข้ึน และปฏิบัติในสิ่ง ตอ่ ไปนี้ 1. ระงับสตอิ ารมณ์ อย่าวู่วามยอมรับความจริง ยอมรบั สภาพวา่ ลกู ติดยา เพ่ือเตรียมตัวชว่ ยเหลอื บตุ ร หลาน 2. ไมค่ วรแสดงความกา้ วรา้ วกับลูก เพราะจะทำให้ลกู ปกปิดซ่อนเรน้ มากข้ึน 3. แสดงความรกั ความเห็นใจอย่างจริงใจ เพ่ือใหล้ ูกหลานยอมเปิดใจ ยอมรับความช่วยเหลอื 4. ต้องหาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ วา่ บตุ รหลานติดสารเสพติดประเภทใด ฤทธิร์ นุ แรงแค่ไหน ใช้สารเสพตดิ มา นานแลว้ หรือยัง ใชป้ ริมาณแค่ไหน โดยอาจหาจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ เชน่ เพื่อนสนิท ครูท่ีโรงเรียน ห้องนอน กระเป๋าเส้ือผา้ เปน็ ตน้ 5. ปรกึ ษาผู้มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ เช่น ศูนย์ให้คำปรกึ ษาปัญหาสารเสพตดิ หากลูกหลานตดิ สารเสพติดมานาน จนทำให้สภาพร่างกายและจิตใจเปล่ยี นแปลงไป หรอื มพี ฤติกรรมและบุคลิกภาพเบย่ี งเบนไป จากเดิม และครอบครวั หรอื ไมส่ ามารถแก้ไขปญั หาได้ ผู้ปกครองควรส่งลูกเขา้ รับการบำบัดรักษาและฟ้ืนฟู สมรรถภาพทางดา้ นจติ ใจ ในสถานบำบดั รักษาต่าง ๆ ทว่ั ประเทศ ผลกระทบจากปญั หาสารเสพตดิ ทำให้เกดิ ความเสียหายทัง้ ต่อตวั ผู้เสพ ครอบครัว สังคม เศรษฐกิจและ ประเทศชาติ การแก้ไขปัญหาสารเสพติดต้องเรม่ิ ตน้ จากครอบครวั ซง่ึ ใกลช้ ิดกบั เด็กและเยาวชนมากที่สดุ โดยการ ใหเ้ วลากับบุตรหลานและรว่ มกนั แก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดข้นึ นอกจากนสี้ ังคมโรงเรียนและสถานศึกษาต้องมีการ ตดิ ตาม สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน-นกั ศกึ ษาท่ีเข้าข่ายเกี่ยวขอ้ งกับสารเสพติด การมุ่งให้ความรู้ในเร่ืองอันตราย ผลกระทบที่เกิดจากการใชส้ ารเสพตดิ สรา้ งการรบั รู้ ความตระหนักถึงภยั อนั ตรายน่าจะการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสารเสพติด และเป็นหน้าท่ขี องทุกคนจะตอ้ งรว่ มมอื กัน

การพนันออนไลน์ (หรือ การพนันอินเทอร์เน็ต) เป็นการพนันที่ทำในอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีทั้ง โป๊กเกอร์, กาสิโน และการพนันกีฬาแบบเสมือน สถานที่เล่นการพนันออนไลน์แห่งแรกคือการออกต๋ัว สำหรับลอตเตอรีนานาชาติของประเทศลิกเตนสไตน์ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1994 ตามรายงานประมาณการ หลายแหง่ ปจั จุบันตลาดน้มี ีค่าราว 40 พันล้านดอลลาร์สหรฐั ทั่วโลกทุกปี มหี ลายประเทศท่ียังคงจำกัดหรือหา้ มการพนันออนไลน์ อย่างไรกต็ าม การพนนั ประเภทนี้ถูกกฎหมายใน บางรัฐของสหรัฐ, บางรฐั ของแคนาดา, ประเทศสว่ นใหญ่ในสหภาพยโุ รป และบางประเทศในแคริบเบยี น 4 สาเหตุ วัยรุ่นเสี่ยงติดพนัน การพนันส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและ พัฒนาการของเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะด้านสมอง งานวิจัย ด้านการแพทย์ระบุชดั เจนว่าการพนนั เปน็ เกมท่ีสามารถทำลายสมองของเด็ก และเยาวชนไดอ้ ยา่ งถาวร องค์การอนามัย โลกกำหนดให้พฤติกรรมติดการพนันเป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่ง เรียกว่า Pathological Gambling หรือ โรคติดพนัน ซึ่งผู้เล่นการพนันจะมีความทุกข์จากการเล่นพนัน แต่ก็หยุดไม่ได้ยังคงต้องเล่น ต่อไป งานวิจัยทบทวนเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับผลกระทบระยะ ยาวจากการพนัน พบข้อมูลที่ยืนยันว่า การพนนั ไมใ่ ช่แคเ่ กมสนุก แต่เปน็ เกมทีส่ ามารถทำลายสมองของเด็กได้อยา่ งถาวร สถาบนั วิจยั เก่ียวกบั สุขภาพจติ ในอเมริกา (National Institute of Mental Health) โดย Ernts และคณะ ได้ศึกษาโครงสร้างสมองของวัยรุ่น ด้วยการถ่ายเอ็กซเรย์สมองดว้ ยคล่ืนแม่เหล็ก ไฟฟ้า (MRI) พบว่า สมองของวยั รุ่นยังพัฒนาไมส่ มบูรณ์ชี้ให้เห็นว่า ช่วงวัยรุ่นตอนต้นเป็นวัยที่ยังขาดความยับยั้งชั่งใจ ซึ่งสมองส่วนหน้าซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผล (Prefrontal Cortex) จะพัฒนาสมบูรณ์ในช่วงอายุ 20 ปีขึ้นไป ถ้าวัยรุ่นหมกมุ่นหรือติดการพนันจะส่งผลให้ สมองสว่ นหน้า (Prefrontal Cortex) ไมเ่ พมิ่ เนอื้ สมอง สมองสว่ นหนา้ จะไมพ่ ัฒนาอย่างถาวรและยงั อาจถูกคัดทิ้ง (Pruning) เพราะไม่ได้ใช้งาน ส่งผลต่อระบบคิดและพฤติกรรมท่ีจะติดตัวไปตลอดชีวิต คือ จะกลายเป็นผู้ใหญ่ท่ี ไมอ่ ดทนรอความสำเร็จ หวังไดเ้ งนิ มาอยา่ งงา่ ยๆ และรวดเรว็ การพนันเป็นเกม ที่ยั่วยุให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกได้มาก ไม่ว่าผู้เล่นจะอยู่ในสถานการณ์ที่ได้หรือเสีย ดังนั้นเด็กและเยาวชนจึงเป็นช่วงวัยที่มีความเสี่ยงสูงมากที่จะติดการพนัน ได้ง่ายและถอนตัวได้ยาก สาเหตุท่ี วยั รุ่นตดิ การพนนั ได้ง่ายมีดังนี้ 1. สอ่ื อินเตอรเ์ นต็ ออนไลน์ มีโฆษณามากมายบนโลกอนิ เตอรเ์ น็ตเพียงแค่คลกิ ก็สามารถเข้าไปใช้บริการ ได้อยา่ งงา่ ยดาย 2 .เพอ่ื น เพ่ือนเปน็ คนแนะนำให้เล่น และวยั รุน่ มีแนวคดิ ลองเลน่ ดูดีกว่า 3. ร้อนเงนิ หรือ มคี วามต้องการวัตถตุ ามสมัยนิยมสูง 4. ปัญหาครอบครัวเกดิ จากการทตี่ อ้ งการประชดพ่อแม่ หนอี อกนอกบา้ นและหาเงนิ ใช้เอง บางคน หาทางออกดว้ ยการไปเลน่ พนันทำให้ติดหนี้ นอกจากน้ีเดก็ และเยาวชนยังเข้าถึงแหล่งพนนั ไดง้ า่ ย จากการจดั วงโฟกัสกรุ๊ปเยาวชนทมี่ ีประสบการณ์ ด้านพนัน (เมษายน 2554) มูลนิธิสดศรี-สฤษดิว์ งศ์ พบว่า เยาวชนสว่ นใหญ่ที่เลน่ การพนันมีสภาพแวดล้อมที่ เตม็ ไปด้วยการพนนั เช่น มโี ต๊ะสนุกอยู่ใกลบ้ ้าน และในรา้ นสนกุ เกอร์กม็ ักจะมตี มู้ ้าอยูด่ ว้ ยเสมอ ในร้านสะดวกซ้ือ ซง่ึ ตง้ั อยู่ทกุ หนทุกแหง่ มกั มนี ิตยสารฟตุ บอลทบ่ี อกอตั ราแต้ม ตอ่ สำหรบั เลน่ พนนั ฟตุ บอล ตามมหาวทิ ยาลยั มโี ตะ๊ บอลต้งั อยรู่ อบๆ มีเด็กเดนิ โพยบอลไปชวนเล่นพนนั บอลถึงในมหาวิทยาลัย ส่ิงเหล่านีค้ นทวั่ ไปรับรู้ แต่กป็ ล่อยให้ เกดิ ขน้ึ ต่อไป ผลกระทบจากการพนนั ซงึ่ ทำใหห้ ลายคนต้องเดนิ เข้าสดู่ ้านมดื ของสงั คมอย่างไม่มีทางเลอื ก เหตุการณ์ท่ี บีบคั้นคือการติดหนี้พนันและถูกข่มขู่ให้หาเงินมาใช้หนี้ เด็กเยาวชนผู้ยังไม่สามารถประกอบอาชีพได้จึงหา ทางออกด้วยการทำ สิ่งที่ผิดกฎหมายโดยมีผู้ใหญ่ชี้ช่องทางให้ (มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, ตุลาคม 2554)

ผลการวิจัยจากสหรฐั อเมรกิ าระบวุ ่า 1 ใน 4 ของเยาวชนที่ติดการพนันมาจากครอบครัวที่มพี ่อแม่เล่นการพนัน เฉพาะกลุ่มที่ติดการพนันอย่างหนักมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงถึงร้อยละ 20 และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นใน ต่างประเทศมีรูปแบบบริการป้องกันและแก้ไขปัญหาติด การพนันโดยเฉพาะ เพราะจัดว่าการติดพนันเป็นเรื่อง ผิดปกติ โดยบริการประกอบด้วยบริการปรึกษาทางโทรศัพท์ตลอด 24 ชั่วโมง บริการให้คำปรึกษาผ่าน อินเตอร์เน็ตรูปแบบโปรแกรมบำบัดและฟื้นฟูผู้มีปัญหา ติดการพนัน ศูนย์ให้คำปรึกษาสำหรับผู้มีปัญหาและ ครอบครัว และศูนย์บำบัดและฟื้นฟูเฉพาะผู้มีปัญหาติดการพนัน ปัจจัยที่ทำให้การพนันในสังคมไทยเพิ่มอย่าง รวดเร็ว มีท้ังแรงกดดันจากภายนอก เหน็ ไดจ้ ากประเทศรอบข้างเราเปดิ บ่อนกาสิโนมากมาย และคาดการณว์ า่ ใน ปี 2015 ตลาดกาสิโนในเอเชียแปซิฟกิ จะเพมิ่ ขึน้ จาก 29% เปน็ 43% ปจั จบุ ันพบว่าการพนนั อยู่ค่กู ับคนไทยประชาชน จำนวนครึ่งหนง่ึ ของประเทศ 32 ลา้ นคนเคยเลน่ การ พนนั ทนี่ า่ เป็นห่วงคือ ประมาณ 1.6 ลา้ นคนติดการพนันซ่ึงเปน็ ปญั หาสงั คมและปัญหาสขุ ภาพจติ

สว่ นท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน ผู้ดำเนนิ การจัดทำโครงการการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ สขุ ภาพดี สรา้ งได้ดว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก ในการอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มลู และการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั น้ี 1. เครื่องมือที่ใช้ในการจดั กจิ กรรม ขอ้ มูลปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ขอ้ มลู ทุติยภูมิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2.1.1 ประชาชนหมู่ 3 ตำบลท่าสะแก 2.2 วธิ ดี ำเนนิ การในการติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานได้ดำเนนิ การดงั นี้ 2.2.1 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมนิ เป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลสถานภาพท่ัวไปเก่ยี วกบั ผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความพึงพอใจในการเขา้ รว่ มโครงการฯ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ 2.2.2 วิเคราะหข์ ้อมลู ในการวิเคราะห์ ดำเนินการดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู สถานภาพทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถามวิเคราะห์ผลด้วยการหาค่าร้อยละ คา่ รอ้ ยละ (%) P = F  100 n เมื่อ p แทน รอ้ ยละ F แทน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จำนวนท้ังหมด ตอนที่ 2 ข้อมลู เก่ยี วกับการดำเนนิ งานตามโครงการ ใชค้ า่ เฉลี่ย x x = x n เมอ่ื x แทน คา่ เฉล่ยี แทน จำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม x แทน จำนวนทงั้ หมด n

ตอนท่ี 3 สรปุ ข้อเสนอแนะ โดยใชค้ วามถี่ ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมูล ในการแปลความหมายของข้อมูล แปลผลจากคา่ เฉล่ยี เลขคณิต x โดยใชห้ ลกั เกณฑ์ดังนี้ คา่ เฉล่ียเลขาคณิต x ความหมาย 1.00 – 1.50 1.51 – 2.50 น้อยท่ีสดุ 2.51 – 3.50 นอ้ ย 3.51 – 4.50 4.51 – 5.00 ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด 3. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี สร้างได้ ด้วยตนเอง ตำบลท่าสะแก ได้มีการสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรม จำนวน 8 คน โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม จึงได้มีการนำเสนอข้อมูลในรปู ตารางประกอบคำบรรยาย โดยแบ่ง ออกเปน็ 3 สว่ น ได้แก่ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรียนการสอน) ตอนท่ี 3 สรปุ ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเด็นท่ีสำคญั ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามเพศ เพศ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ชาย - 0 หญงิ 8 100 รวม 8 100 จากตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษาพบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มอบรมท้ังหมดเปน็ เพศหญิง คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ตารางท่ี 2 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามอายุ อายุ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ๑๕-๓๙ ปี - - ๔๐-๕๙ ปี 3 ๖๐ ปี ข้นึ ไป 5 37.50 8 62.50 รวม 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่อายุ 60 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 62.50 รองลงมาคอื อายุระหว่าง 40 – 59 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50

ตารางท่ี 3 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามระดบั การศึกษาสงู สุด ระดับการศกึ ษาสูงสุด จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ประถมศึกษา 4 50.00 - มธั ยมศกึ ษาตอนต้น - - มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 4 - 8 50.00 อื่นๆ 100 รวม จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับประถมศึกษา และระดบั อนื่ ๆ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตารางที่ 4 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามอาชพี อาชีพ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ เกษตรกร 8 100 รบั จ้าง - ค้าขาย - - นกั เรยี น/นักศึกษา - - 8 - รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมทง้ั หมดประกอบอาชพี เกษตรกร คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ตอนที่ 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกี่ยวกับความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรม ตารางที่ 5 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมอบรมท่ีมตี ่อการจดั กิจกรรมการ เรยี นการสอน ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำความร้ไู ปใช้ ประเด็นความคดิ เห็น มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ดุ ค่าเฉลี่ย อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดบั ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา = 4.78 1.1 เนื้อหาตรงตามความ 62 - - - 4.75 มาก ต้องการ (75.00%) (25.00%) ทส่ี ุด 1.2 เนอื้ หาเพยี งพอต่อความ 6 2 - - - 4.75 มาก ต้องการ (75.00%) (25.00%) - ทส่ี ุด - 1.3 เนือ้ หาปจั จุบันทันสมัย 7 1 - - 4.88 มาก (87.50%) (12.50%) - ที่สดุ - 1.4 เนื้อหามีประโยชน์ตอ่ การ 6 2 - - - 4.75 มาก - ทส่ี ดุ นำไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (75.00%) (25.00%) - = 4.65 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม - - - - 4.63 มาก 2.1 การเตรียมความพรอ้ มก่อน 5 3 - ทส่ี ุด อบรม (62.50%) (37.50%) - - 4.75 มาก ที่สดุ 2.2 การออกแบบกิจกรรม 62 - - 4.63 มาก เหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ (75.00%) (25.00%) ที่สุด 2.3 การจดั กิจกรรมเหมาะสม 5 3 - - 4.63 มาก ท่ีสุด กับเวลา (62.50%) (37.50%) - - 4.63 มาก 2.4 การจดั กจิ กรรมเหมาะสม 5 3 ทส่ี ดุ กับกลุม่ เป้าหมาย (62.50%) (37.50%) = 4.79 2.5 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผล 5 3 - - 4.75 มาก ทส่ี ุด เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (62.50%) (37.50%) - - 4.75 มาก ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ที่สดุ 3.1 วทิ ยากรมีความรู้ 62 - - 4.88 มาก ท่ีสดุ ความสามารถในเร่อื งทีถ่ ่ายทอด (75.00%) (25.00%) 3.2 วิทยากรมเี ทคนิคการ 6 2 ถา่ ยทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม (75.00%) (25.00%) 3.3 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มี 7 1 สว่ นรว่ มและซักถาม (87.50%) (12.50%)

ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำความรู้ไปใช้ ประเดน็ ความคดิ เห็น มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ดุ ค่าเฉล่ยี อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดบั 4. ความถงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก = 4.71 4.1 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และ 7 1 - - - 4.88 มาก สิ่งอำนวยความสะดวก (87.50%) (12.50%) ทส่ี ดุ 4.2 การส่ือสาร การสร้าง 5 3 - - - 4.63 มาก บรรยากาศเพอ่ื ให้เกดิ การเรียนรู้ (62.50%) (37.50%) ท่สี ุด 4.3 การบรกิ าร การช่วยเหลอื 5 3 - - - 4.63 มาก และการแก้ปัญหา (62.50%) (37.50%) ทส่ี ุด 5. ความพึงพอใจดา้ นการนำความรไู้ ปใช้ = 4.75 5.1 สามารถนำความรูท้ รี่ ับไป 6 2 - - - 4.75 มาก ประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านได้ (75.00%) (25.00%) ที่สุด 5.2 สามารถนำความรไู้ ป 6 2 - - - 4.75 มาก เผยแพร/่ ถา่ ยทอดแกช่ ุมชนได้ (75.00%) (25.00%) ที่สุด 5.3 มคี วามมน่ั ใจและสามารถ 6 2 - - - 4.75 มาก นำความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปใช้ได้ (75.00%) (25.00%) ทสี่ ดุ รวมท้ังส้นิ 105 39 - - - 4.73 มาก (72.92%) (27.08%) ทส่ี ุด คา่ เฉลย่ี ถ่วงนำ้ หนัก 4.73 ระดบั ความคดิ เห็น มากที่สดุ จากตารางท่ี 5 จากการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจต่อการจัดโครงการ โดยแยกเปน็ ขอ้ ๆ ดังนี้ 1. ความพึงพอใจด้านเน้ือหา อย่ใู นระดับ มากทีส่ ดุ ค่าเฉลย่ี = 4.78 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย = 4.65 3. ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร อยใู่ นระดับ มากท่ีสดุ ค่าเฉล่ีย = 4.79 4. ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก อยใู่ นระดับ มากท่ีสดุ ค่าเฉลยี่ = 4.71 5. ความพึงพอใจด้านการนำความร้ไู ปใช้ อยูใ่ นระดับ มากท่ีสดุ คา่ เฉล่ีย = 4.75 สรปุ ภาพรวมความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ท้งั หมด อยูใ่ นระดับ มากทีส่ ุด มคี า่ เฉล่ีย = 4.73 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ไมม่ ี หมายเหตุ คดิ คะแนนเฉพาะท่ีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากขน้ึ ไป

สว่ นที่ 5 สรุปผลโครงการ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี สร้างได้ด้วย ตนเอง ตำบลท่าสะแก มจี ุดประสงคใ์ นการจดั กจิ กรรมดังนี้ 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหผ้ สู้ ูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การดูแลสขุ ภาพ การสร้างสขุ ภาพจติ ที่ดี รู้เท่าทนั โรค ทมี่ ากบั ภัยหนาว 2. เพอื่ ให้ผสู้ ูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับยาเสพติด และการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควดิ -19 3. เพื่อปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากการพนันออนไลน์ การดำเนนิ การจัดกิจกรรม 4.1 ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการ จำนวน 8 คน - เพศชาย จำนวน - คน - เพศหญงิ จำนวน 8 คน 4.2 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการอบรม ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อมูลทุติยภูมิ ศึกษาจาก เอกสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 4.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเด็นทส่ี ำคญั 4.4 วธิ ีการวิเคราะหข์ ้อมูล ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผ้จู ดั ไดด้ ำเนินการ 2 ลักษณะ คือ 4.4.1 การสังเคราะห์เชิงคณุ ลกั ษณะ ผู้จัดกิจกรรมทำการสังเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์สังเคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมูลท่ัวไป ข้อมลู ความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน และข้อเสนอแนะ 4.4.2 การสงั เคราะหก์ ารอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสังเคราะห์การจัดกิจกรรมเชิงปริมาณ ผู้จัดกิจกรรมแยกออกเป็น คุณลกั ษณะต่าง ๆ ในการสังเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี ข้อมลู เกยี่ วกับเพศ / อายุ ข้อมลู ระดับความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทียบจำนวนคนคิดเป็นร้อยละในแต่ละส่วนของข้อมูลการอบรม พร้อมการบรรยายประกอบ

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจดั กิจกรรม ผลการจดั กจิ กรรมโครงการการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต สขุ ภาพดี สร้างได้ดว้ ยตนเอง ตำบลทา่ สะแก โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ สังเคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ รปู แบบการจดั กจิ กรรม สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี การสงั เคราะห์ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ เน่อื งจากเป็นเพศทอี่ ยู่กับบา้ น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุส่วน ใหญ่จะอยู่กับบ้านไม่ค่อยได้ออกไปทำไร่ ทำนา เพราะอายุเยอะแล้ว จึงมีผลทำให้ค่าร้อยละในช่วงอายุนี้สูงกว่า ช่วงอายุอน่ื ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจำนวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าเป้าหมายท่ี กำหนดไว้ แตง่ บประมาณการฝึกอบรมมีอยู่อยา่ งจำกดั การวิเคราะหข์ ้อมูลเกีย่ วกับความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากการศึกษาพบว่า ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยแยกเป็น ข้อๆ ดงั น้ี 1. ความพงึ พอใจดา้ นเนื้อหา อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ค่าเฉลี่ย = 4.78 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ คา่ เฉล่ีย = 4.65 3. ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร อยูใ่ นระดับ มากที่สดุ ค่าเฉล่ีย = 4.79 4. ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก อยใู่ นระดับ มากทสี่ ดุ คา่ เฉลีย่ = 4.71 5. ความพงึ พอใจดา้ นการนำความรู้ไปใช้ อย่ใู นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย = 4.75 สรุปภาพรวมความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ทงั้ หมด อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด มคี ่าเฉลย่ี = 4.73 อภปิ รายผล จากการดำเนินการพบประเดน็ สำคัญทส่ี ามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังน้ี 1. ดา้ นกล่มุ เปา้ หมาย 1.1 กลุ่มเปา้ หมายทผี่ ่านการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับการดแู ลสขุ ภาพทีด่ ี การสร้าง สุขภาพจิตที่ดี วิธีการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด และ ผลกระทบจากการพนนั ออนไลน์ 1.2 จากการดำเนนิ การพบวา่ กล่มุ เปา้ หมายเป็นเพศหญิงทั้งหมด และสว่ นใหญ่เป็นผสู้ งู อายุ 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดำเนินงานพบงบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อวัสดุในการอบรม ไม่เพียงพอสำหรับ การจัดกิจกรรม เนอื่ งจากมีผ้เู ข้ารว่ มอบรมมากกว่าเป้าหมายท่ีกำหนด 3. ดา้ นกิจกรรมการเรียนการสอน 3.1 จากการดำเนินงานพบว่ากิจกรรมต้องยืดหยนุ่ ตามสภาพกลุ่มเป้าหมาย เน่ืองมาจากสภาพ ชวี ติ ความเปน็ อย่ขู องกล่มุ เป้าหมายมสี ่วนสำคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ดา้ นสถานที่ 4.1 การดำเนินการเป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย เนื่องจากได้ใช้พื้นที่ของวัดในชุมชน 4.2 การใช้สถานทขี่ องผู้รบั บริการเป็นศนู ยก์ ารเรียนรู้ในชุมชนทำให้เกิดความเช่ือมโยง สัมพนั ธ์ กนั ระหว่าง กศน. และชุมชน

ข้อมูลความตระหนัก ในการจดั กจิ กรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี สรา้ งไดด้ ้วยตนเอง ตำบลท่าสะแก เพื่อให้ผู้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี การสร้างสุขภาพจิตที่ดี วิธีการป้องกัน การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 และมคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ยาเสพติด และหันมาออกกำลังกายมากขึ้น ข้อมลู การปฏบิ ัติ (ความพยายาม) ในการจดั กจิ กรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ สุขภาพดี สรา้ งได้ดว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก ได้มีการประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ และให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม ได้ฝึกทักษะการทำยางยืด สำหรบั ออกกำลังกาย จุดเดน่ 1. กลมุ่ เป้าหมายมีความรบั ผดิ ชอบ 2. กิจกรรมตรงตามความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย 3. กลุม่ เป้าหมายมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนดี 4. กลมุ่ เป้าหมายสามารถนำความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันของตนเองได้ จุดควรพฒั นา (จดุ ดอ้ ย) ผู้เรียนมีพื้นฐานในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ทำให้การเรียนรู้เป็นไปได้ช้ากว่ากำหนดที่ได้ตั้งไว้ และ ผู้เข้าร่วมอบรมเป็นผู้สูงอายุ จึงทำให้การทำกิจกรรมทำยางยืดออกกำลังกายล่าช้า เพราะจะต้องออกแรงยืด ยางวงและต่อกนั เปน็ เสน้ ยาว แนวทางการพฒั นา 1. ควรจดั หางบประมาณเพมิ่ เติม เพื่อวสั ดุอุปกรณจ์ ะได้เพียงพอต่อผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม วิธกี ารพัฒนา 1. สร้างความรู้ ความเข้าใจที่ดีในการจัดโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี สร้างได้ ด้วยตนเอง ตำบลท่าสะแก กลุ่มเป้าหมายมีความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้รับการ อบรม/ผู้รับบริการเหน็ ความสำคญั 2. มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบการเรียนรู้ในชุมชนจัดทำเป็นระบบ สารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการศึกษาค้นคว้า 3. ปรับวิธกี ารจัดกจิ กรรมให้เหมาะสมกับผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะในการดำเนินการครัง้ ต่อไป 1. ควรทำการศึกษาปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลายรูปแบบ เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่ถี ูกต้อง ตรงตามความตอ้ งการของประชาชนมากทส่ี ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่าง ๆ ที่ต้องการรับบริการจาก กศน. เพื่อให้ ทราบและสามารถจดั กจิ กรรมตามหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถนิ่ ได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กลมุ่ เป้าหมาย และชุมชน 4. ควรเกบ็ ขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รบั การอบรมหลงั การอบรมด้วยทุกคร้งั

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ โครงการการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ สุขภาพดี สรา้ งได้ดว้ ยตนเอง ตำบลท่าสะแก วันท่ี 24 ธนั วาคม 2564 ณ ศาลาการเปรยี ญ วัดบา้ นปากรอง หมู่ 3 ต.ชาตติ ระการ อ.ชาตติ ระการ จ.พิษณุโลก



ทปี่ รึกษา คณะผ้จู ดั ทำ นางพรสวรรค์ กันตง ผู้อำนวยการ .กศน.อำเภอชาติตระการ นางสาวชมพนู ุช ลว้ นมงคล ครูผูช้ ว่ ย ผสู้ ่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรม บุญประกอบ ครอู าสาสมัครฯ นางสาวประยูร ผรู้ ับผิดชอบ/ผู้เรียบเรียง/จดั พมิ พร์ ปู เล่ม/ออกแบบปก นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสีบาง ครู กศน.ตำบลท่าสะแก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook