Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยาดมสมุนไพร

ยาดมสมุนไพร

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-05-26 07:41:15

Description: ยาดมสมุนไพร

Search

Read the Text Version

ก คานา การสรุปผลการจัดกิจกรรมอาชีพหลักสูตรกลุ่มสนใจ การทายาดมสมุนไพร เป็น การจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลการอบรมกลุ่มวิชาชีพ เพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ต่อ ประชาชนผู้สนใจเป็นการสนองตอบความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ข้ึน ในกระบวนการเรียนรู้จะแตกต่างออกไปตามพ้ืนที่ในแต่ละพื้นท่ี กลุ่มเป้าหมาย วิถีการ ดาเนินชีวิตที่ดีข้ึน สภาพแวดล้อม ล้วนแต่ส่งผลต่อการเรียนรู้ท้ังส้ิน กระบวนการเรียนรู้จะ ประกอบดว้ ยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิเพอื่ ฝึกทักษะในการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ใหส้ ามารถนาความรแู้ ละประสบการณท์ ไี่ ดไ้ ปปรบั ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ติ ต่อไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มนี้ ทางผู้ดาเนินงานได้เรียบเรียงข้ึนเพ่ือสรุปผลการจัด กิจกรรมกลุ่มสนใจ การทายาดมสมุนไพร และได้ใช้ความพยายามอย่างดีที่สุดแล้ว แต่ก็ยังไม่ มั่นใจว่าขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ มักเกิดขึ้นได้เสมอ ดังน้ัน จึงใคร่ขอความกรุณาจากผู้ใช้ทุกท่าน หาก พบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะท่ีคิดว่าจะเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วยจัก ขอบคุณยิ่ง ทั้งน้ีก็เพ่ือจะได้นาไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขการสรุปผลการจัดกิจกรรมเพื่อ พฒั นาอาชีพในโอกาสต่อไป นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ ผูจ้ ัดทา มีนาคม ๒๕๖๔

เรื่อง ข หนา้ คานา สารบัญ ก ข สารบัญ รายงานผลการจัดกจิ กรรมหลกั สตู รกลุ่มสนใจ การทายาดมสมนุ ไพร 1 บทที่ 1 หลักสตู รและเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง ๓ บทที่ 2 การดาเนินการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ๖ บทที่ 3 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 12 บทที่ 4 16 ภาคผนวก ๑๘ จดั ทาโดย

รายงานผลการจัดกจิ กรรม บทท่ี 1 หลักสูตรการทายาดมสมนุ ไพร กลุม่ อาชพี พาณชิ ยกรรมและบรกิ าร บทนา ยาดมสมุนไพรจัดอยู่ในประเภท ยาสมุนไพรประจาบ้าน ใช้สูดดมบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คดั จมกู อ่อนเพลีย มีวิธีทาท่ีง่าย หาสมุนไพรได้สะดวก สามารถทาเป็นรายได้เสริมได้ (Wandee, N.,2016) ยาดมสมนุ ไพรจะแตกต่างจากยาดมท่วั ไป โดยเพม่ิ เตมิ สมุนไพร เช่น กระวาน กานพลู พริกไทยดา ยาดม สมุนไพรมีแพร่หลายมาก มีผู้ประกอบการผลิตยาดมสมุนไพรมากข้ึนทั้งในรูปแบบของอุตสาหกรรม และ ธุรกิจ SME รายย่อย จากการที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีขั้นตอนการผลิตไม่ยุ่งยาก และมีต้นทุนท่ีไม่สูง ประกอบกับ ความนิยม การใช้สมุนไพรเพือ่ สุขภาพที่สูงข้นึ ดว้ ย ซึ่งการใชส้ มุนไพรเพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคเป็น ความรู้ด้ังเดิมที่ สืบทอดกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น แต่เม่ือการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามาในประเทศไทย การใช้ ยาสมุนไพร และ การแพทย์แผนไทยเริ่มลดนอ้ ยลง แตใ่ นปัจจบุ ันแนวโนม้ การใช้สมุนไพรเริ่มกลับมามี บทบาท เนื่องจากผู้คนเร่ิมหัน กลบั มาสนใจสุขภาพกนั มากข้นึ การใช้สมุนไพรมีผลขา้ งเคียงที่น้อยกว่ายา ปฏิชีวนะ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย มีความปลอดภัยสูง สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องกังวลกับโอกาสท่ีจะ เกิดความเป็นพิษ อาการ ไม่พึงประสงค์ หรือ ผลขา้ งเคียงตา่ ง ๆ โดยการใช้สมุนไพรยังมีข้อมูลพ้ืนฐาน อ้างอิง ตามหลังข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ จึงต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับโรค อาการอย่างถูกต้อง และยังคงมีความเส่ียง ที่เกิดจากการใช้สมุนไพรท่ีผิดประเภท ผิดอาการ ผิด ขนาด และผิดวิธี ทาให้รักษาหรือบรรเทาอาการได้ไม่ตรง ตามวัตถุประสงค์ และอาจนาไปสู่อาการไม่พึงประสงค์ และการแพ้ยา แต่ทั้งนี้ สมุนไพรก็ยังคงมีความ น่าเชื่อถือและมั่นใจต่อการใช้มากกว่ายาแผนปัจจุบัน (Trilertlunjakorn, R.,2018) สมุนไพรมีความสาคัญใน การส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยสรรพคุณมากมายท่ีช่วย ในการดแู ลสขุ ภาพ สมุนไพรเปน็ ทงั้ อาหารและยารกั ษาโรค สมุนไพรมีทั้งจากพืช สัตว์ และแร่ธาตุจากธรรมชาติ ที่ไม่ มี การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างสภาพภายใน ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นยารักษาโรคหรือบารุงร่างกายได้ สมุนไพรท่ี ได้ จากสว่ นของพชื โดยตรง (พชื วัตถ)ุ โดยสว่ นต่าง ๆ ที่นามานนั้ มีสารท่ีสามารถใชเ้ ปน็ ยาได้ ได้แก่ ใบ ดอก ผล เปลือก ผล เมล็ด เปลือกเมล็ด รากหรือหัว ต้น แก่น กระพ้ี เน้ือไม้ เปลือกไม้ สมุนไพรที่ได้จากอวัยวะของสัตว์ (สัตว์วัตถุ) ได้แก่ ตับ ดี นอ เขา เอ็น เลือด น้ามัน มูล เป็นต้น เช่น ขี้ผึ้ง รังนก น้ามันตับปลา สมุนไพรที่ได้จาก แร่โดย ธรรมชาติหรือส่ิงที่ประกอบขึ้นจากแร่ธาตุต่าง ๆ ตามกรรมวิธี (ธาตุวัตถุ) นามาใช้เป็นยา เช่น เกลือ กามะถัน น้า ประสานทอง ดีเกลือ สารส้ม เป็นต้น (Toxicology Center, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. 2562)

สถานท่ี ณ วัดนาจาน หมู่ ๔ บา้ นนาจาน ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพษิ ณุโลก วนั / ระยะเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม - ๑๗ มนี าคม ๒๕๖๔ - หลักสูตร ๓ ชัว่ โมง - จานวน ๑๐ คน วทิ ยากร ครู กศน.อาเภอชาตติ ระการ ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิภาพร พระคาสอน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล

บทที่ 2 หลักสูตรและเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง การสง่ เสรมิ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ได้กาหนด บทบาทในการส่งเสริมการเรยี นรู้ของรฐั และสถานศึกษาตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. รัฐต้องสง่ เสรมิ การดาเนินงาน และการจัดตงั้ แหลง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตทกุ รูปแบบ ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ประชาชน พิพิธภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนยก์ ารกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมลู และแหลง่ การเรยี นรู้ อย่างเพียงพอ และมี ประสิทธิภาพ 2. ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐานเพื่อความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมืองดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชพี ตลอดจนเพ่ือ การศึกษาต่อ 3. ให้สถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มหี นา้ ท่ีจดั ทาสาระของหลักสูตรในส่วนท่ีเก่ยี วข้องกบั สภาพปญั หาในชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาท้องถิน่ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพื่อเปน็ สมาชิกท่ดี ขี อง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 4. หลักสูตรการศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ ต้องมลี ักษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่ละระดับ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของบคุ คล สาระของหลักสูตร ท้ังทีเ่ ปน็ วิชาการ วชิ าชพี ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มคี วาม สมดุล ทง้ั ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม 5. ใหส้ ถานศกึ ษารว่ มกบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถ่นิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอ่ืน สง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของชมุ ชน โดยจดั กระบวนการเรยี นรภู้ ายในชมุ ชน เพ่อื ให้ชมุ ชนมกี ารจดั การศึกษาอบรม มกี าร แสวงหาความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร และร้จู กั เลือกสรรภมู ิปญั ญา และวทิ ยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชมุ ชนใน สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความต้องการ รวมท้งั หาวิธีการสนับสนนุ ให้มีการเปล่ยี นแปลงประสบการณก์ าร พัฒนาระหวา่ งชมุ ชน 6. ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทง้ั การ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนสามารถวจิ ยั เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั ผ้เู รียนในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา การศกึ ษาประกอบดว้ ยองค์ประกอบตา่ ง ๆ ที่มสี ่วนชว่ ยเหลอื เอ้ือตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นรู้เพยี งอยา่ งเดียวไมส่ ามารถทาให้การจดั การศึกษาดาเนินไปได้ อยา่ งราบรืน่ ต้องอาศัยการสง่ เสริมการจดั กระบวนการเรียนรูใ้ นรปู แบบต่าง ๆ ด้วย การจัดการศกึ ษาท่ี เก่ียวข้องกับภูมิปญั ญาท้องถ่ินต้องสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความต้องการของแต่ละท้องถ่ินด้วย แนวคิดของการศกึ ษาตลอดชีวติ เป็นการศกึ ษาทม่ี ีความจาเปน็ สาหรบั บคุ คลในทุกชว่ งชวี ิต ต้งั แตเ่ กิดจนตาย บุคคลมีความสามารถท่จี ะเรยี นรู้ได้ตลอดชีวิต การศึกษา มิได้สน้ิ สดุ เม่ือบคุ คลจบจาก โรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษาการศึกษาตลอดชีวติ เน้นความเสมอภาคความเทา่ เทียมกันในโอกาสทาง การศกึ ษาการศกึ ษาตลอดชีวิตควรมีความยดื หยุ่นหลากหลายรปู แบบ และวิธกี ารเพือ่ เปิดโอกาสใหท้ ุกคน เรยี นรู้สามารถเลือกวิธเี รยี นทเี่ หมาะสมกบั ความสามารถของตนการศึกษาตลอดชวี ิตมงุ่ ใหบ้ ุคคลได้พฒั นาอยา่ ง เตม็ ศกั ยภาพพฒั นาคุณภาพชวี ติ และพ่งึ ตนเองได้ ส่ิงทใ่ี ห้บุคคลเรียนร้คู วรสมั พนั ธเ์ กยี่ วข้องกบั วิถชี วี ติ ซึ่งบุคคล ควรได้รับความร้แู ละทักษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ รวมท้ังทกั ษะในการแสวงหา ความรู้ หรือมีเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรตู้ อ่ ไป การศกึ ษาตลอดชีวติ เปน็ ภาพรวมของการศึกษาท้ังหมด

ครอบคลุมการศึกษาทุกประเภท ทุกระดับท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างระบบการศึกษาทจี่ ัดสดั สว่ นของ การศกึ ษาไว้ 3 ประเภท คือ 1. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วธิ ีการศึกษา หลกั สูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมนิ ผล ซง่ึ เป็นเงอ่ื นไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษาท่ีแนน่ อน 2. การศึกษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาท่ีมีความยืดหยนุ่ ในการกาหนดจุดมุง่ หมาย รปู แบบ วธิ กี ารจัดการศกึ ษา ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และการประเมนิ ผล ซง่ึ เปน็ เง่ือนไขสาคญั ของการสาเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความต้องการของ บุคคลแต่ละกลุม่ ตัวอย่าง เช่น การจัดกลุม่ เรยี นตามความสนใจของผู้เรียน การเรยี นหรือการฝกึ อบรมหลักสูตร ระยะสั้น เป็นตน้ 3. การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นการศึกษาท่ีใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สงั คม สิง่ แวดล้อม สอื่ หรอื แหลง่ ความรู้ อื่น ๆ เช่น การฝกึ ฝนและปฏิบัติงานกบั พอ่ แม่ หรือ สถานประกอบการ การศึกษาด้วยตนเองจากหนังสือและ สื่อต่าง ๆ เปน็ ต้น ปัจจบุ ันภารกิจของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ขยายออกไปอย่าง กวา้ งขวาง สามารถแบง่ ภารกิจหลักได้ 3 ประเภท คือ 1. สง่ เสริมการศึกษาในระบบโรงเรยี น โดยจดั กจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการเรยี นการสอนในระบบ โรงเรยี นในรปู แบบของการใช้ส่ือเทคโนโลยีการศึกษา สอ่ื รายการวิทยุ โทรทัศนเ์ พอื่ การศึกษา ส่ือการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม และการจัดนทิ รรศการวิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษา 2. จดั การศึกษานอกโรงเรียน โดยมุ่งจัดการศึกษาให้กับประชาชนและผดู้ อ้ ยโอกาสที่อยู่นอก ระบบโรงเรียนให้ไดร้ บั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน อา่ นออก เขียนได้ รวมทง้ั การจดั การศกึ ษาสายสามญั และสาย อาชพี ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ ยกระดบั การศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กบั กลมุ่ เปาู หมาย 3. ส่งเสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั โดยจัดกิจกรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกับวถิ ีชีวติ อยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง เพ่ือใหป้ ระชาชนได้รับข้อมลู ขา่ วสารทจี่ าเป็นและทนั สมยั รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกที่ เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ในยุคโลกาภวิ ัฒน์ สามารถแสวงหาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิตจากแหลง่ ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ห้องสมุดประชาชน ที่อา่ นหนังสอื ประจาหมูบ่ ้าน ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ การศกึ ษา และรายการวทิ ยุโทรทศั น์ เป็นต้นโดยสรปุ ภารกิจทั้งหมดดังกล่าว กเ็ พื่อจดั การศึกษาตลอดชวี ติ ให้แกป่ ระชาชนทอี่ ยทู่ ้ังในและนอกระบบโรงเรยี นให้มีโอกาสไดร้ ับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ทกั ษะอาชพี และ ข่าวสารข้อมลู ท่ที นั สมัยในทกุ ช่วงเวลาทีต่ อ้ งการ ในรปู แบบของการศึกษาตลอดชวี ติ จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและทกั ษะใน การประกอบอาชพี ของบุคคลและกลมุ่ บุคคล ซง่ึ มีจดุ มุ่งหมายในชวี ิตที่ตา่ งกนั โดยมีสาระดังน้ี 1. การเรยี นรู้อาชีพแบบองค์รวมทป่ี ระชาชน ครู กศน.และผู้เกยี่ วข้องร่วมกนั จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ เพ่อื ฟน้ื ฟูเศรษฐกิจชมุ ชน 2. การออกแบบการเรยี นรงู้ านอาชีพตามลกั ษณะของการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพใน รูปแบบการฝึกทักษะอาชีพ การเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาอาชพี และการพัฒนาอาชีพดว้ ยเทคโนโลยี 3. การเรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจรงิ ท่ีบรู ณาการกับวิถีชวี ติ โดยใชว้ งจรกระบวนการคิด ทา จา แกป้ ญั หาและพฒั นา 4. การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี ท่ีพฒั นาศกั ยภาพของบุคคลและชุมชนทส่ี อดคล้องกับ วถิ ีชีวิต โดยส่งเสริมการรวมกลมุ่ อาชีพ สรา้ งเครือข่ายอาชีพ มีระบบการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ความรู้และ

ประสบการณ์ การทาอาชีพภายใต้วฒั นธรรมของชุมชน มีกลยทุ ธเ์ พื่อการแข่งขนั ของชุมชน เปน็ ชุมชนที่ใช้ เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและพัฒนาอาชพี กศน.อาเภอชาติตระการ ไดด้ าเนนิ การจัดกจิ กรรมตามรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนมีการบรู ณาการการจดั การเรยี นรู้เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับผู้เรียน แสดงถงึ ภาพสาเรจ็ ในการพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รียน กิจกรรมการเรยี นรู้จากภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ท่เี ป็นสว่ นหน่งึ ในการพฒั นาศักยภาพของผูเ้ รยี น ในการจัดการ เรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ การเรยี นการสอนมุง่ เนน้ ประโยชนข์ องผู้เรียนเปน็ สาคัญ จึงตอ้ งจดั ให้ ผเู้ รียนไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ ปฏบิ ตั ิใหท้ าได้ คดิ เป็น มนี สิ ยั รักการเรียนรู้ และเกิดการใฝเุ รยี นอย่าง ต่อเนอ่ื งตามแนวคิดของการศึกษาตลอดชวี ิต

บทที่ 3 การดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผู้ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกลุ่มสนใจหลกั สูตรการทายาดมสมุนไพร ได้ ดาเนนิ การในการอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดังนี้ 3.1 การดาเนนิ การจัดกจิ กรรม 1. เตรยี มการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจดั กิจกรรม - เลือกหลักสูตรวชิ าชีพที่จะจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานให้บุคลากรทเ่ี กีย่ วข้อง - ตดิ ต่อประสางานในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 2. วธิ กี ารดาเนินงาน - เขยี นขออนญุ าตจัดต้ังกลมุ่ วชิ าชีพ - เสนอขออนุญาตจดั ตั้งกล่มุ วิชาชพี - เตรยี มการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. เตรียมการกอ่ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน - การจดั เตรยี มเอกสารการเรียนการสอน - ตดิ ต่อสถานท่ี - ติดตอ่ วิทยากร - อนื่ ๆ 2. ติดต่อประสานงานเครือขา่ ย - จดั การอบรมกล่มุ วิชาชพี ตามแผนท่วี างไว้ 1. ลงทะเบียนผเู้ ข้าร่วมการกจิ กรรมการเรียนการสอน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ เร่ืองหลกั สูตรการทายาดมสมุนไพร 3. จดั กิจกรรมกล่มุ ยอ่ ย 4. สรุปกิจกรรมย่อย 5. ปิดการอบรม - สรปุ รายงานผลการจัดกิจกรรมกลมุ่ สนใจ การทายาดมสมนุ ไพร เป็นรูปเลม่ - รายงานผลการจัดกจิ กรรมกล่มุ สนใจ การทายาดมสมนุ ไพร ใหผ้ ู้ที่เกี่ยวข้อง รบั ทราบ 3.2 ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมหลักสตู รการทายาดมสมนุ ไพร จานวน ๑๐ คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญิง จานวน ๑๐ คน ผจู้ ดั กจิ กรรม จานวน 1 คน 3.3 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรม - ขอ้ มูลปฐมภูมิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม - ขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ข้อมลู ต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปเปน็ ประเดน็ ที่สาคัญ สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ค่าเฉล่ยี โดยใช้สูตรดังน้ี 3.4.1 คา่ รอ้ ยละ (%) P = F  100 n เม่ือ p แทน รอ้ ยละ F แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้งั หมด 3.4.2 ค่าเฉล่ยี ( x ) x = x n เมื่อ x แทน ค่าเฉล่ีย  x แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนทงั้ หมด 3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูล 1.00 – 1.50 หมายถงึ นอ้ ยทสี่ ดุ 1.51 – 2.50 หมายถงึ น้อย 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก 4.51 – 5.00 หมายถงึ มากที่สุด ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนวชิ าชีพกลุ่มสนใจ การทายาดมสมุนไพร ได้มีการ สารวจความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีมีต่อรปู แบบการจดั กจิ กรรม จานวน ๑๒ คน โดยวธิ กี ารตอบ แบบสอบถาม จึงได้มีการนาเสนอข้อมลู ในรูปตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นบุคคล ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนการสอน) ตอนที่ 3 สรปุ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเดน็ ทส่ี าคัญ

3.1 ตอนที่ 1 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = ๑๐ ) ร้อยละ ชาย - - หญิง ๑๐ ๑๐๐ รวม ๑๐ 100 จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มอบรมท้ังหมด เป็น เพศหญิง คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ตารางที่ 2 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = ๑๐ ) ร้อยละ 15 – 39 ปี - - 40 – 59 ปี ๗ ๗๐ 60 ปขี น้ึ ไป ๓ ๓๐ ๑๐ รวม 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญ่ คอื ชว่ งอายุระหว่าง 40 – 59 ปี คิดเป็นร้อยละ ๗๐ รองลงมาช่วง 60 ปีขึ้นไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๐ ตารางที่ 3 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามระดับการศึกษาสงู สดุ ระดบั การศึกษาสงู สดุ จานวน ( n = ๑๐ ) ร้อยละ ประถมศึกษา ๒ ๒๐ - - มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๑ ๑๐ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๗ ๗๐ ๑๐ ๑๐๐ อนื่ ๆ รวม จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญม่ รี ะดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับอ่ืนๆ คดิ เป็นร้อยละ ๗๐ รองลงมาคือ ประถมศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐

ตารางท่ี 4 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอาชพี อาชีพ จานวน ( n = 10 ) ร้อยละ เกษตรกร ๑๐ ๑๐๐ รับจา้ ง - คา้ ขาย - - นกั เรยี น/นักศึกษา - - - - อ่ืนๆ ๑๐ - รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ข้าร่วมอบรมท้งั หมดประกอบอาชีพเกษตรกร คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ตารางท่ี 5 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามรายได้ต่อเดือน รายไดต้ อ่ เดอื น จานวน ( n = ๑๐ ) รอ้ ยละ ตา่ กว่า 50000 บาท ๑๐ ๑๐๐ 50000 – 100000 บาท - 100001 – 200000 บาท - - มากกวา่ 200000 บาท - - ๑๐ - รวม 100 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมส่วนใหญ่ มรี ายได้ 50000 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

3.2 ตอนที่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู เกี่ยวกับความพึงพอใจในการจดั กิจกรรม ตารางที่ 6 แสดงจานวน ร้อยละ และคา่ เฉลี่ยของความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมอบรมที่มตี ่อการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน รายการ ระดับความพงึ พอใจ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย คา่ เฉลย่ี อยใู่ น ทีส่ ุด ระดบั 1.เนอื้ หาวิชาที่จดั การเรียนร/ู้ ฝกึ อบรมตรง ๗ ๒ ๑ - - 4.๓๐ มาก ตามความตอ้ งการของทา่ นเพียงใด (๗๐%) (20%) (10%) 2.วทิ ยากรมาใหค้ วามรตู้ รงตามเวลา ๘ ๑ ๑ - - 4.๔๐ มาก (๘๐%) (10%) (10%) 3.วิทยากรมาให้ความร้คู รบตามหลักสตู ร ๗ ๓ - - - 4.๗๐ มาก กาหนด (๗๐%) (30%) ที่สดุ 4.ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของ ๘ ๑ ๑- - ๔.๔๐ มาก วทิ ยากร (๘๐%) (10%) (10%) 5.จานวนสือ่ /อุปกรณก์ ารฝึกประกอบการ ๗ ๓ - - - 4.๗๐ มาก เรียนเพยี งพอเพยี งใด (๗๐%) (30%) ทส่ี ดุ 6.ท่านไดร้ ับความรแู้ ละสามารถฝกึ ทกั ษะได้ ๙ ๑ - - - 4.๙๐ มาก ตามท่คี าดหวงั มากน้อยเพยี งใด (๙๐%) (10%) ทส่ี ดุ 7.ความรู้ทักษะทไี่ ดส้ ามารถนาไปใช้ ๘ ๒ - - - ๔.๘๐ มาก ประกอบอาชีพได้เพยี งใด (๘๐%) (20%) ทส่ี ดุ 8.สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพยี งใด ๘ ๒ - - - ๔.๘๐ มาก (๘๐%) (20%) ทส่ี ุด 9.ท่านได้รบั โอกาสในการเรียนร้เู ท่าเทยี มกนั ๙ ๑ - - - 4.๙๐ มาก เพยี งใด (๙๐%) (10%) ทส่ี ุด 10.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรม ๘ ๒ - - - ๔.๘๐ มาก เหมาะสมเพยี งใด (๘๐%) (20%) ทสี่ ดุ 11.ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั คุม้ คา่ กับเวลาและความ ๘ ๒ - - - ๔.๘๐ มาก ต้งั ใจเพยี งใด (๘๐%) (20%) ที่สดุ 12.ทา่ นพึงพอใจต่อหลกั สูตรนเ้ี พยี งใด 10 - - - - 5.00 มาก (100%) ทส่ี ดุ รวมท้ังสนิ้ ๙๗ ๒๐ 3 - - 4.71 มาก ค่าเฉลย่ี ถว่ งนา้ หนัก (๘๐.83%) (๑๖.67%) (2.50%) ทส่ี ดุ ๔.๗๑ มากทส่ี ดุ

จากตารางที่ 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจต่อการจัดการเรียนการ สอนหลกั สตู รกลุ่มสนใจ การทายาดมสมนุ ไพร โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( x = 4.๗๑) โดยมรี ะดบั ความพึง พอใจมาก ในเร่ือง ท่านพงึ พอใจต่อหลักสูตรน้เี พยี งใด คดิ เปน็ ( x = ๕.๐๐ ) ระดบั ความพึงพอใจรองลงมา คือ ท่านได้รบั ความรูแ้ ละสามารถฝกึ ทกั ษะได้ตามที่คาดหวงั มากน้อยเพยี งใดและท่านได้รับโอกาสในการเรยี นรเู้ ทา่ เทยี มกันเพียงใด คิดเป็น ( x =4.๙๐ ) และระดับความพงึ พอใจระดบั ตา่ ที่สุด คอื เน้ือหาวิชาทจ่ี ดั การเรียนรู้/ ฝกึ อบรมตรงตามความตอ้ งการของท่านเพียงใด คดิ เป็น ( x = ๔.๓๐) ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ - หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะทค่ี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากขึ้นไป

บทที่ 4 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนกลุ่มสนใจหลกั สูตรการทายาดมสมนุ ไพร มจี ุดประสงค์ใน การจัดกจิ กรรมดงั นี้ 1. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับกลุ่มสนใจ การทายาดมสมนุ ไพร 2. เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลีย่ นแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั แนวทางการ จดั กจิ กรรม 3. เพอ่ื เปน็ การลดรายจ่ายในครอบครัว และเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูเ้ ข้าร่วม กิจกรรมให้ดยี ่งิ ขึ้น 4. เพ่ือส่งเสริมความรว่ มมือและการจัดกิจกรรมการเรียนร้กู ารศึกษาอาชีพของผเู้ รยี น ผรู้ บั บรกิ ารกบั สถานศกึ ษา 5. เพื่อรว่ มวเิ คราะห์ และสังเคราะหร์ ปู แบบ กระบวนการจัดและผลสาเร็จทีเ่ กดิ ขน้ึ จาก โครงการตามตัวช้ีวดั ทก่ี าหนดเปน็ ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ ตามกลุ่มเปาู หมายจากการ ประเมนิ เบ้ืองตน้ 6. เพือ่ ศกึ ษาผลการดาเนนิ งาน ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลในการจดั การศึกษาอาชพี การดาเนินการจดั กจิ กรรม 4.1 ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมหลกั สูตร การทายาดมสมนุ ไพร จานวน ๑๐ คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญงิ จานวน ๑๐ คน ผู้จัดกจิ กรรม จานวน 1 คน 4.2 เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการอบรม - ขอ้ มูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม - ขอ้ มลู ทุติยภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง 4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละสว่ น ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นท่สี าคัญ 4.4 วิธีการวเิ คราะหข์ ้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้จัดได้ดาเนินการ 2 ลักษณะ คือ 4.4.1 การสังเคราะห์เชงิ คุณลกั ษณะ ผู้จดั กิจกรรมทาการสังเคราะหโ์ ดยใชว้ ิธีการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ 3 ด้าน คอื ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน และขอ้ เสนอแนะ

4.4.2 การสังเคราะห์การอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กิจกรรมเชงิ ปรมิ าณ ผจู้ ัดกจิ กรรมแยกออกเป็น คุณลกั ษณะตา่ ง ๆ ในการสงั เคราะหข์ ้อมูลดงั น้ี 1. ข้อมูลเก่ยี วกบั เพศ / อายุ 2. ข้อมลู ระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ข้อเสนอแนะ โดยเปรยี บเทยี บจานวนคนคิดเปน็ ร้อยละในแต่ละส่วนของข้อมูลการอบรม พรอ้ ม การบรรยายประกอบ สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกลุ่มสนใจ การทายาดมสมนุ ไพร โดยใช้วิธีการ วิเคราะห์ สังเคราะห์จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และรูปแบบการจัด กจิ กรรม สามารถสรุปได้ดงั น้ี 1. การสังเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทัง้ หมดเปน็ เพศหญิง เนอ่ื งจากกลมุ่ สนใจ การทายาดมสมุนไพร เป็นงาน จกุ จิกวัสดุอุปณ์ ส่วนผสมมากมายและมีกลิ่นหอมสดชน่ื ซึ่งเป็นงานทผ่ี ู้หญิงชอบและสามารถทาเป็นอาชีพ เสริมไดเ้ พ่ิมรายได้เพ่ือลดคา่ ใช้จ่ายในครัวเรอื นได้อีก ทาใหร้ อ้ ยละทัง้ หมดเป็นเพศหญิง 1.1 ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญเ่ ป็นมอี ายุอยู่ระหวา่ ง ๔๐ – ๕๙ ปี เน่ืองจากเปน็ ชว่ ง วยั ท่วี า่ งจากการทางานหลักคือการเกษตร และสว่ นมากเป็นกลุ่มผนู้ า คอื อสม. ซึ่งเหมาะกบั งานแบบน้ีมาก จงึ มีผลทาให้การหาค่ารอ้ ยในชว่ งนส้ี ูงกว่าชว่ งอนื่ ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจานวนของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม จานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ วิชาชีพมีอยู่ จากดั สว่ นใหญ่ผู้เรียนจะมาเรยี นตามทกี่ าหนด ไม่มีผูเ้ รยี นเกนิ จากเปูาหมายที่กาหนด ผลการคานวณอาจมี ความคาดเคล่อื นได้ ถ้าหากมีผ้เู รียนเพมิ่ ขนึ้ อกี จากกลมุ่ เปาู หมายปกติ และงบประมาณการฝึกอบรมกม็ ีอยอู่ ย่าง จากดั จากการศึกษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นการสอนหลักสตู ร กลมุ่ สนใจ การทายาดมสมนุ ไพร โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก ( = 4.๗๑) โดยมีระดับความพงึ พอใจมาก ในเรอื่ ง ท่านพงึ พอใจตอ่ หลักสตู รนีเ้ พียงใด คิดเปน็ ( = ๕.๐๐ ) ระดบั ความพึงพอใจรองลงมา คือ ทา่ นไดร้ บั ความรู้ และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่คาดหวงั มากน้อยเพยี งใดและท่านไดร้ บั โอกาสในการเรียนร้เู ท่าเทยี มกันเพียงใด คดิ เปน็ ( =4.๙๐ ) และระดับความพงึ พอใจระดับต่าทีส่ ดุ คือเนื้อหาวิชาที่จัดการเรยี นรู้/ ฝึกอบรมตรงตาม ความต้องการของท่านเพียงใด คดิ เปน็ ( = ๔.๓๐) อภปิ รายผล จากการดาเนินการกลุ่มวชิ าชพี พบประเดน็ สาคัญที่สามารถนามาอภปิ รายผลได้ดังน้ี 1. ด้านกล่มุ เปาู หมาย 1.1 กลุม่ เปูาหมายสว่ นใหญต่ ้องการเพยี งนาความร้ทู ่ีได้รบั จากการอบรมไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั 1.2 จากการดาเนินการพบว่ากลุม่ เปูาหมายสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ เนอ่ื งจากเป็น งานทแ่ี ม่บ้านทั้งหลายมีความสนใจมาก

2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดาเนนิ งานพบวา่ ค่าวสั ดุ อปุ กรณ์ไม่ค่อยเพยี งพอตอ่ ความต้องการของ กล่มุ ผูเ้ ข้ารบั การอบรม แตไ่ ด้มกี ารใช้อย่างอ่นื ทดแทน 3. ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน 3.1 จากการดาเนินงานพบว่ากิจกรรมหลักสตู ร การทายาดมสมนุ ไพร ได้ เนื่องมาจากปัญหาเร่ืองงบประมาณน้อยราคาวัตถดุ ิบสูง 3.2 จากการดาเนนิ งานพบวา่ กิจกรรมต้องยืดหยุ่นตามสภาพกล่มุ เปูาหมาย เน่อื งมาจากสภาพชวี ิตความเป็นอยูข่ องกลุม่ เปาู หมายมสี ่วนสาคัญตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ด้านสถานที่ 4.1 การดาเนนิ การอบรม ด้านสถานทส่ี ามารถมกี ารเปลยี่ นแปลงไปได้ตามความ ตอ้ งการ และความเหมาะสมของผู้เข้าร่วมการอบรม 4.2 ควรมีการใช้สถานท่ีของสว่ นรวม เพื่อใหเ้ กิดความเชอื่ มโยง สัมพนั ธก์ ันระหวา่ ง กศน. และชมุ ชน ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การกลุ่มวชิ าชพี คร้ังต่อไป 1. ควรทาการศกึ ษาปัญหาความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมาย โดยใชเ้ คร่ืองมือท่ีหลากหลาย รปู แบบ เพื่อให้ได้ข้อมลู ทีถ่ ูกต้อง ตรงตามความต้องการของผ้เู รยี นมากท่สี ดุ 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเปูาหมายในดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีต้องการรบั บริการจาก กศน. เพอ่ื ใหท้ ราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของทอ้ งถ่ินได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กลุ่มเปาู หมาย และชมุ ชน 4. ควรเกบ็ ขอ้ มูลของผู้เขา้ รับการอบรมหลังการอบรมดว้ ยทุกคร้งั ข้อมูลความตระหนกั ในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ หลกั สูตร การทายาดมสมุนไพร ของ สถานศึกษามงุ่ ใหเ้ กิดความสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรียน/ผ้รู บั บรกิ ารเป็นสาคัญ โดยมุ่งเนน้ ความ ต้องการของผ้เู รียน/ผรู้ บั บริการเป็นแนวทางในการดาเนินงาน และได้มีการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้บุคลากรใน สถานศกึ ษาเหน็ ความสาคัญของการจดั หลักสูตรวิชาชีพแต่ละหลักสูตร และปฏบิ ัติงานอยา่ งเปน็ ระบบอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ แต่การดาเนินการบางอย่างไม่สามารถทาใหบ้ รรลตุ ามแผนทีว่ างไวไ้ ด้ จงึ ทาใหข้ ้อมูลบางอย่าง เกิดความคลาดเคล่ือน ข้อมูลการปฏิบตั ิ (ความพยายาม) เมือ่ บุคลากรได้รับแนวทาง และนโยบายทางการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาอาชีพแล้ว ไดด้ าเนนิ การ สารวจหาความต้องการของกลุ่มเปูาหมายทแี่ ท้จรงิ แต่เนื่องจากการเก็บข้อมูลไมเ่ ปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ทาให้ ไม่สามารถดาเนนิ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี ตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผู้รบั บรกิ ารได้ท่วั ถึงทุกกล่มุ ทาให้ความพงึ พอใจของผู้สนใจน้อยลง

จดุ เดน่ ของกลุ่ม 1. มีความต้องการ เหมือนกัน 2. กลมุ่ เปาู หมายมคี วามรบั ผิดชอบ 3. กล่มุ เปูาหมายมีความสามัคคี 4. กลมุ่ เปาู หมายมคี วามสนใจในกิจกรรมการเรยี นการสอนเป็นอย่างดี 5. กลุ่มรู้จกั ประยุกตใ์ ช้วสั ดุ อุปกรณ์ และวตั ถดุ ิบทดแทนกนั จุดควรพัฒนา (จุดด้อย) 1. การรวมกลมุ่ เป็นกล่มุ อาชพี 2. มผี ู้เขา้ ร่วมการอบรมบางส่วนเอาเปรียบผู้ร่วมการอบรมคนอื่น แนวทางการพฒั นา 1. ควรจัดหางบประมาณเพ่ิมเติม หรือการขอความสนับสนุนจากแหล่งต่าง ๆ ในเรื่องการ จดั หาอุปกรณใ์ นการเรยี นรู้และปฏบิ ัติ วธิ กี ารพัฒนา 1. สรา้ งความเข้าใจท่ดี ีในการใช้วัตถุดบิ ทมี่ ีอยูใ่ นท้องถ่นิ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอน ใหผ้ ูเ้ รยี น/ผูร้ ับบริการเห็นความสาคญั 2. ปรับวธิ กี ารจัดกจิ กรรมให้เหมาะสมกับผ้เู รยี น/ผู้รบั บริการ ใหม้ ีความยืดหยนุ่ โดยไมเ่ น้น หน่วยการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร แต่ให้ยึดตัวผูเ้ รียนเป็นสาคัญ แลว้ จึงนาผลการดาเนนิ งานมาปรับปรงุ หลักสตู ร การทายาดมสมุนไพร ในครั้งตอ่ ไป

ภาคผนวก - เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง - ภาพประกอบกจิ กรรม

ภาพกจิ กรรม กลุ่มสนใจ การทายาดมสมุนไพร จานวน ๓ ชม. วันที่ ๑๗ มนี าคม 2564 ณ วัดนาจาน หมู่ ๔ บา้ นนาจาน

จัดทำโดย ท่ีปรึกษา ผอ.กศน.อาเภอชาตติ ระการ 1.นางพรสวรรค์ กันตง ครู ๒.นายรุ้งภธู ร ภาศรี ครผู ชู้ ่วย ๓.นางสาวชมพนู ุช ลว้ นมงคล ---------------------------------------------------------------- สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรม 1.นางสาวภาณมุ าศ ยศปญั ญา ครอู าสาสมคั รฯ ๒.นางสาวประยรู บุญประกอบ ครอู าสาสมคั รฯ ------------------------------------------------------------ ผรู้ ับผิดชอบ/ ผู้เรียบเรยี ง/ ผูจ้ ัดพมิ พ์รูปเลม่ / ออกแบบปก นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook