Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสนใจ การทำขนมดอกจอก

หลักสูตรกลุ่มสนใจ การทำขนมดอกจอก

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-11-25 02:24:46

Description: หลักสูตรกลุ่มสนใจ การทำขนมดอกจอก

Search

Read the Text Version

หลักสตู รกลุ่มสนใจ การทำขนมดอกจอก จำนวน 5 ชว่ั โมง กลมุ่ อาชพี พาณิชยกรรมและการบริการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชาตติ ระการ สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดพษิ ณโุ ลก สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ การศึกษาด้านอาชีพให้กับประชาชนเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็น การศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพื่อให้บุคคลสามารถ ประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของตนเองได้ โดยพิจารณาถึงความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล ให้ ความสำคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนางานและอาชีพระดับพ้ืนฐาน ระดับกึ่งฝีมือ และระดับฝีมือ ท่ี สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพ หรอื เพิ่มพูนรายได้ ทั้งนใ้ี หม้ ีการพัฒนาหลักสูตรและวธิ ีการท่ีหลากหลายและทันสมัย สามารถ ใหบ้ รกิ ารไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ ในทุกพ้นื ที่ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชาตติ ระการ จึงได้พฒั นาหลกั สตู ร การทำขนมดอกจอกข้ึน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการ แลกเปลยี่ นเรยี นร้ปู ระสบการร่วมกัน และพฒั นาต่อยอดเป็นอาชีพเสริมเพ่มิ รายได้ใหก้ ับประชาชน สุดท้ายนี้ ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชาติตระการ ต้อง ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่านท่ีได้จัดทำข้อมูล เพื่อให้การดำเนินการจัดหลักสูตรกลุ่มสนใจการทำขนม ดอกจอก เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีได้ตั้งไว้ เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับประชาชนต่อไป หากพบ ข้อผิดพลาดมีข้อเสนอแนะที่คิดว่าเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งให้ทางผู้จัดทำทราบด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง เพ่ือจะ ไดน้ ำไปเป็นข้อมลู ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลักสตู รในโอกาสต่อไป กศน.อำเภอชาติตระการ ผูจ้ ดั ทำ

ข หน้า ก สารบญั ข 1 เรอื่ ง 2 คำนำ 2 สารบัญ 2 ความเป็นมา 2 หลกั การของหลักสตู ร 2 จดุ มุ่งหมายของหลักสูตร 3 กลุ่มเปา้ หมาย 3 ระยะเวลา 3 โครงสรา้ งหลกั สตู ร 3 การจดั กระบวนการเรียนรู้ 3 ส่ือการเรยี นรู้ 3 การวัดและประเมนิ ผล 4 การจบหลกั สูตร 6 เอกสารหลักฐานการศึกษา 7 การเทยี บโอน 7 รายละเอยี ดโครงสร้างหลักสตู ร 11 ภาคผนวก 18 รายละเอยี ดเน้ือหาโครงสร้างหลักสตู ร 26 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ช่องทางการประกอบอาชพี 27 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ทักษะการประกอบอาชพี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชพี ความเหน็ ชอบอนุมตั ิหลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง คณะทำงาน

หลกั สูตรการทำขนมดอกจอก จำนวน ๕ ชัว่ โมง กลมุ่ อาชพี พาณชิ ยกรรมและการบรกิ าร ความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพเป็นการแก้ปัญหาว่างงาน และส่งเสริม ความเข็มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ท่ีจะพัฒนา ๕ ศักยภาพ ของพน้ื ทใ่ี น ๕ กลมุ่ อาชีพใหมใ่ ห้สามารถแข่งขันไดใ้ น ๕ ภมู ิภาคหลักของโลก “รู้เขารเู้ ราเท่าทันเพอ่ื แข่งขัด ได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถให้ ประชาชนได้มอี าชีพที่สามารถสร้างรายได้ท่ีมน่ั คงมั่งคั่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพและ การมีงานทำอย่างมีคุณภาพอย่างทั่วถุงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มีงานทำอย่างย่ังยืนและมี ความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล มีการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ คนให้มีคุณภาพ ๓.๕ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สู่ “วิสาหกิจชุมชน” ชุมชนพ่ึงตนเอง ทำได้ขายเป็น ผู้เรียน ความต้องการกลุ่มเป้าหมายผู้ท่ีไม่มีอาชีพหรือผู้ที่มีอาชีพแต่ต้องการพัฒนาอาชีพของตนเองให้ม่ันคง การ จัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ เศรษฐกิจชมุ ชน ขนมไทยมีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทย คือมีความละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรร วัตถุดิบ วิธีการทำท่ีพิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจน กรรมวิธีท่ีประณีตบรรจงเป็นขนมไทยพื้นบ้านนิยมทำเป็นของแจกในหมู่ญาติมิตร และเทศกาลตา่ ง ๆ ขนมไทย สามารถทำรับประทานเองไดเ้ พราะเป็นขนมที่ทำไมย่ าก และหาวตั ถดุ ิบได้งา่ ยตามท้องตลาดท่ัวไป ปจั จุบันคน รุ่นใหม่นิยมรับประทานขนมท่ีจำหน่ายตามร้านซุปเปอร์มาร์เก็ตเป็นจำนวนมาก และให้ความสนใจขนมไทย น้อยลง อีกทง้ั เมอื ไม่งานพิธีตา่ ง ๆ ขนมไทยยงั คงเป็นท่นี ิยม เพ่ือเป็นการตอบสนองนโยบายและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน กศน. ได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษา เก่ียวกับการจัดการศึกษาอาชีพมาสู่การปฏิบัติ เพ่ือจัด การศึกษาการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก ขนมดอกจอก เป็นขนมโบราณ เป็นที่นิยมต้ังแต่สมัยก่อน แต่ในปัจจุบันเริ่มหาทานยาก เด็ก ๆ สมัยนี้อาจจะไม่ค่อยรู้จักกันเท่าไรนัก เน่ืองจากไม่ค่อยเป็นท่ีนิยมจากเด็ก รนุ่ ใหม่ ขนมดอกจอกเป็นขนมที่มีรูปทรงคล้ายดอกจอกทมี่ ีแหล่งกำเนิดอยู่ในน้ำ รูปทรงสวยงามน่ารับประทาน แต่เนื่องจากเป็นขนมที่ต้องใช้น้ำมันพืชปริมาณมากในการทอดจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมกับคนสมัยน้ีที่เน้นเรื่อง สขุ ภาพเปน็ สำคัญ เพราะอาจทำให้มคี อลเรตเตอรอลสูงและทำให้อว้ นได้ ขนมดอกจอก ในสมยั ก่อนเป็นที่นยิ ม มากจะเป็นหน่ึงในขนมที่จัดขึ้นในงานและพิธีการสำคัญต่าง ๆ เช่น งานบวช งานแต่งงงาน งานข้ึนบ้านใหม่ เป็นต้น ไม่แพ้ขนมไทยอย่างทองหยิบ ทองหยอด หรือฝอยทองที่เป็นท่ีนิยมท่ังในอดีตและปัจจุบัน สามารถ สร้างรายได้ได้อย่างมั่นคงให้กับผู้ท่ีไม่มีอาชีพ และผู้ท่ีต้องการพัฒนาอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตตนเอง ชุมชน และสงั คม

2 หลักการของหลักสตู ร หลกั สตู รการศึกษาอาชีพการทำขนมดอกจอก มีหลักการจัดการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. เปน็ การทำหลกั สูตรพาณชิ ยกรรมและบริการที่มีความยดื หยุน่ ดา้ นหลักสูตร การจดั กระบวนการ เรียนรู้การวัดผลและการประเมินผล 2. มุงพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ท่ัวถึงและเท่า เทียมกัน สามารถสร้างรายได้ท่ีมั่นคง เป็นบุคคลที่มีวินัยเป่ียมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความ รับผิดชอบต่อตนเอง ผ้อู ่ืนและสังคม ๓. สง่ เสริมให้มกี ารเทยี บโอนความรเู้ ข้าสูห่ ลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๔. ส่งเสรมิ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายพฒั นาตามศักยภาพ ๕ ด้าน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ๕. มุงเน้นการฝกึ ปฏบิ ตั เิ พ่ือให้เกิดทกั ษะทางอาชีพ สามารถนำไปประกอบอาชีพได้ จุดมงุ่ หมายของหลักสูตร หลักสูตรการทำขนมดอกจอก มงุ่ พัฒนาให้กลุ่มเปา้ หมายมีศกั ยภาพในการประกอบอาชพี และการ เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง จงึ กำหนดจดุ หมายดังต่อไปนี้ 1. มคี วามสามารถในการประกอบอาชพี สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนดั และเหมาะสมกับ ศกั ยภาพของตนเอง 2. มีความสามารถ ทักษะ ในการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก 3. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มทดี่ วี าม ตอ่ การประกอบอาชพี การทำขนมดอกจอก กลมุ่ เปา้ หมาย มี 2 กลุ่มเปา้ หมาย คอื 1. กลุ่มผทู้ ี่ไม่มีอาชีพ และมีความสนใจท่ีจะประกอบอาชพี 2. กลุ่มผู้ท่มี อี าชพี และตอ้ งการพัฒนาอาชพี ระยะเวลา จำนวน ๕ ช่วั โมง - ภาคทฤษฎี ๑ ช่วั โมง - ภาคปฏิบตั ิ ๔ ช่วั โมง โครงสรา้ งหลกั สูตร หลักสตู รการทำขนมดอกจอก ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ ดงั นี้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1. ช่องทางการประกอบอาชีพ จำนวน 30 นาที 1.1 ความสำคัญของประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก 1.2 ความรู้เบือ้ งตน้ ในการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก 1.3 ทิศทางการพัฒนาการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก หน่วยการเรียนรู้ที่ 2. ทักษะการประกอบอาชีพ จำนวน ๔ ช่ัวโมง 2.1 ข้นั ตอนการทำขนมดอกจอก 2.2 วธิ ีการเก็บรักษา

3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3. การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชพี จำนวน 30 นาที ๓.1 การบรหิ ารจดั การ ๓.๒ การจดั การตลาด ๓.๓ การวางแผนการดำเนนิ งาน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การเรยี นร้หู ลักสตู รการทำขนมดอกจอก เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั โดยการเรียนรู้จากเอกสาร/ฝึกปฏิบตั ิ มคี ำแนะนำสำหรบั ผเู้ รยี น ดงั นี้ 1. การสรา้ งความเขา้ ใจในหลักสูตรการทำขนมดอกจอก (ขอ้ มลู จากเอกสาร/สือ่ /การบรรยาย) 2. การฝกึ ปฏบิ ัตริ ว่ มกบั วทิ ยากร ให้ผู้เรยี นฝกึ ฝนดว้ ยตนเองจนเกิดทักษะ 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. การสาธิต 5. การศกึ ษาดูงาน (การเรียนรูด้ ้วยตนเอง/เรียนรูจ้ ากการสาธติ ) สอ่ื การเรียนรู้ 1. สอ่ื เอกสารใบความรู้ในการบรรยายและสาธติ อาชพี 2. ผู้รู้ / ภมู ปิ ัญญา ๓. วตั ถดุ บิ ของจรงิ ท่ีนำมาใช้ในการปฏบิ ตั ิ การวัดและประเมินผล 1. การประเมนิ ความร้ภู าคทฤษฏรี ะหวา่ งเรยี นและจบหลักสูตร 2. การประเมนิ ผลงานระหว่างเรียนจากการปฏบิ ัติ ไดผ้ ลงานที่มคี ุณภาพสามารถสรา้ งรายได้ และ จบหลกั สตู ร การจบหลักสตู ร 1. มีเวลาเรยี นและฝกึ ปฏบิ ตั ิตามหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 3. มีผลงานการทำขนมดอกจอก ท่ไี ด้มาตรฐานเป็นทีพ่ ึงพอใจของลกู คา้ อยา่ งน้อย ๑๐ คน และผ่านการทำแผนธรุ กจิ จึงจะได้รบั วุฒิบัตร เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. ทะเบยี นคุมวฒุ ิบัตร 3. วุฒบิ ตั ร ออกโดยสถานศกึ ษา การเทียบโอน ผู้เรยี นทีจ่ บหลักสตู รน้ีสามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรูก้ ับหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลือกทสี่ ถานศกึ ษาไดจ้ ัดทำข้ึน

รายละเอยี ดโ เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา 1. ช่องทางการ ๑.๑ เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามรทู้ ักษะและ 1. ความสำคญั ของประกอ ประกอบอาชีพ มีความพร้อมด้านการทำขนมดอกจอก ขนมดอกจอก ๑.๒ มคี วามรู้ความเข้าใจเบ้ืองตน้ ใน 2. ความรู้เบ้ืองต้นในการ การประกอบอาชีพการทำขนม การทำขนมดอกจอก ดอกจอก ๑.3 ทศิ ทางการพฒั นาการประกอบ 2.1 ความต้องการของต อาชพี การทำขนมดอกจอก 2.2 การใชแ้ รงงาน 2.3 การจัดหาวัสดอุ ปุ ก 2.4 การเลือกทำเลทตี่ ้งั 2.5 แหลง่ เรียนรู้ 3. ทิศทางการพัฒนาการ การทำขนมดอกจอก 2. ทักษะการ 1. สามารถปฏิบัติตามขัน้ ตอนการทำ 1. ข้ันตอนการทำขนมดอ ประกอบอาชีพ ขนมดอกจอก 1.1 วัสดุ/อปุ กรณ์ 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจวธิ กี ารเกบ็ 1.2 ขน้ั ตอนการทำขนม รักษาขนมดอกจอกอย่างถูกวธิ ี 1.3 การบรรจผุ ลติ ภณั ฑ 2. วิธกี ารเก็บรักษา

โครงสร้างหลักสูตรการทำขนมดอกจอก อบอาชีพการทำ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชัว่ โมง รประกอบอาชีพ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ตลาด ๑. วทิ ยากรอธิบายการเลอื กช่องทางอาชีพใน ๐.๕ - การทำขนมดอกจอก 2. วทิ ยากรอธิบายการเรยี นรู้เบอ้ื งต้นการทำ ขนมดอกจอก กรณ์ ง รประกอบอาชีพ อกจอก วิทยากรอธบิ ายเนอื้ หาตามลำดบั ขั้นตอน - ๔ พร้อมสาธิต และใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริงใน มดอกจอก การทำขนมดอกจอก ฑ์ 4

เรอื่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา 3. การบริหาร 1. สามารถบริหารการทำขนม ๑. การบริหารจัดการ จัดการในการ ประกอบอาชีพ ดอกจอกอยา่ งถกู ต้อง 1.1 การจดั การควบคุม การทำขนม ดอกจอก 2. สามารถจดั การตลาดในการทำขนม 1.2 การลดตน้ ทุนในกา ดอกจอกได้ ดอกจอก 3. สามารถวางแผนการดำเนินงานได้ 1.3 การวางแผนการผล อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 2. การจดั การตลาด 2.1 ข้อมูลความตอ้ งกา 2.2 การกระจายผลิตภ 2.3 การวางแผนการตล 2.4 การออกแบบบรรจ ๓. การวางแผนการดำเน

การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชวั่ โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ วิทยากรอธบิ ายเนอื้ หาตามลำดบั พรอ้ ม ๐.๕ ยกตัวอย่างของจริง สาธติ ให้ดแู ละให้ผ้เู รียน มคณุ ภาพ ปฏิบตั ิเก่ียวกบั การควบคมุ คุณภาพ การ ารทำขนม คำนวณต้นทนุ และการจัดการตลาด ลิต ารของลูกค้า ภณั ฑส์ ูผ่ ้บู ริโภค ลาด จภุ ัณฑ์ นินงาน 5

ภาคผนวก

7 รายละเอยี ดเนอ้ื หาโครงสรา้ งหลกั สตู ร หนว่ ยการเรียนท่ี ๑ เรอ่ื ง ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ เวลา 30 นาที สาระสำคัญ ความสำคญั ของการประกอบอาชีพ ความเป็นไปไดข้ องการประกอบอาชีพ ความต้องการของตลาด การใช้แรงงาน การจัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ ทุน แหล่งเรยี นรู้ ทศิ ทางการประกอบอาชพี ขอบขา่ ยเน้อื หา 1. ความสำคญั ของประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก 2. ความรเู้ บือ้ งต้นในการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก 3. ทศิ ทางการพัฒนาการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก ความสอดคล้องหมวดวิชา วชิ าทกั ษะการพัฒนาอาชพี , วชิ าพฒั นาสังคมและชมุ ชน และวชิ าเลอื ก จดุ ประสงคป์ ลายทาง 1. สามารถอธิบายบอกความสำคัญ และคุณคา่ ทางโภชนาการของการประกอบอาชพี ได้ 2. บอกความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก ได้แก่ การลงทุน การตลาด วสั ดุ อปุ กรณ์ และทำเลท่ีตั้ง 3. บอกและหาแหล่งเรียนรู้ได้ 4. บอกทิศทางการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายให้ความรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธติ 4. การฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ สอ่ื 1. คูม่ อื การเรยี นรู้ 2. แผ่นพบั แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชาตติ ระการ/ ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาติตระการ

8 การวัดผลประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ มในการทำกิจกรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏบิ ัติงาน 4. ชน้ิ งาน/ผลงาน ความสัมพันธ์กบั สาระในหลักสูตร - ด้านการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การเตรียมงาน 1. การเตรยี มเนื้อหาการเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกบั การพฒั นาบุคคล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกจิ กรรม การเตรียมคำถาม 3. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์

9 ใบความรู้ ช่องทางการประกอบอาชีพ 1. ความสำคัญของประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก ขนมดอกจอกเป็นขนมไทยโบราณที่นิยมรับประทานทุกยุคทุกสมัย ช่ือดอกจอกน่าจะมาจากลักษณะ ของขนมท่ีมีลักษณะคล้ายกับดอกจอก ความละเอียดอ่อนประณีตในการทำต้ังแต่วัตถุดิบ วิธีการทำ ที่ กลมกลืน พิถีพิถัน รสชาติ สีสัน ความสวยงาม กล่ินหอม รูปลักษณะชวนน่ารับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีใน การทำ ซึ่งขนมดอกจอกอย่คู ูก่ บั สังคมไทยมาชา้ นาน เป็นอาชพี ท่ีถา่ ยทอดจากภมู ิปัญญาชาวบา้ นจากรนุ่ สูร่ ุ่น 2. ความรูเ้ บื้องต้นในการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอก ขนมดอกจอก ในสมัยก่อนเป็นท่ีนิยมมากจะเป็นหนึ่งในขนมพิธีการสำคัญต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานขนึ้ บ้านใหม่ งานบวช เปน็ ต้น ท่ีเปน็ ที่นิยมทั่งในอดีตและปัจจบุ ันเป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติ ไทยอยา่ งหนึง่ ทีเ่ ปน็ ทร่ี ูจ้ กั กันดี 2.1 ความตอ้ งการของตลาด การบริโภคขนมดอกจอกนั้น มีความนิยมรับประทานทุกยุคทุกสมัย หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด ทัว่ ไป และราคาไม่แพง สามารถเกบ็ ได้นาน 15 วนั 2.2 การใช้แรงงาน การทำขนมดอกจอกสามารถทำเองได้ทีบ่ ้าน หรือรว่ มกลุม่ กันทำได้ 2.3 การจัดหาวสั ดอุ ุปกรณ์ 1) การเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ เชน่ กระทะ แม่พิมพด์ อกจอก ตะหลิว ตะแกรง แกว้ ฝาขวดนำ้ ตะเกยี บยาว เป็นตน้ 2) การเตรยี มส่วนผสม

10 2.4 การเลือกทำเลทตี่ ง้ั การจัดหาหรือสรรหาสถานท่ี สำหรับประกอบธุรกิจให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยคำนึงถึง กำไร ค่าใช้จ่าย พนักงาน ความสัมพันธ์กับลูกค้าความสะดวก ตลอดจนสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีดีตลอดระยะเวลาที่ ประกอบธุรกจิ นน้ั 2.5 แหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนส่งเสรมิ ให้ ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเน่ือง เพื่อ เสรมิ สรา้ งให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ 3. ทิศทางการพัฒนาการประกอบอาชพี การทำขนมดอกจอก สำกรับทิศทางการพัฒนา การลงทุนทำขนมดอกจอกน้ันไม่มาก อุปกรณ์หลักจะมีพิมพ์ทำขนม ดอกจอก ส่วนอุปกณ์อื่น เช่น กระทะ กะละมัง และอื่นๆ ก็ใช้ของใช้ในครัวเรือนได้ การต่อยอดประกอบอาชีพ เสริมทำขนมดอกจอกขาย และการพัฒนารูปแบบการทำเพิม่ รสชาติ สีสันใหน้ า่ รับประทาน

11 รายละเอียดเนอ้ื หาโครงสร้างหลักสูตร หน่วยการเรียนที่ ๒ เรือ่ ง ทกั ษะการประกอบอาชพี เวลา 4 ช่ัวโมง สาระสำคญั การเตรียมการประกอบอาชพี การทำขนมดอกจอกได้ บอกขนั้ ตอนวธิ ีการทำขนมดอกจอกสามารถนำ วัตถดุ ิบในท้องถนิ่ มาปรบั ใชใ้ นการทำขนมดอกจอกได้ ขอบข่ายเนอ้ื หา 1. ข้ันตอนการทำขนมดอกจอก 2. วธิ กี ารเกบ็ รักษา ความสอดคล้องหมวดวิชา วชิ าทักษะการพัฒนาอาชพี , วิชาพฒั นาสงั คมและชุมชน และวิชาเลือก จุดประสงคป์ ลายทาง 1. สามารถอธิบายการเตรียมการประกอบอาชีพการทำขนมดอกจอกได้ 2. สามารถบอกขนั้ ตอนวธิ ีการทำขนมดอกจอกได้ 3. สามารถนำวัตถดุ ิบในท้องถ่ินมาปรับใช้ในการทำขนมดอกจอกได้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. การบรรยายใหค้ วามรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธติ 4. การฝึกปฏิบัตจิ รงิ สอ่ื 1. คมู่ ือการเรยี นรู้ 2. แผ่นพบั แหลง่ การเรยี นรู้ - ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชาติตระการ/ ศนู ย์การเรียนชมุ ชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาติตระการ การวดั ผลประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในการทำกิจกรรม 2. การถาม – ตอบ

12 3. การปฏิบตั ิงาน 4. ชนิ้ งาน/ผลงาน ความสมั พันธ์กบั สาระในหลักสตู ร - ดา้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ การเตรยี มงาน 1. การเตรียมเนือ้ หาการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับการพัฒนาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่นิ 2. การออกแบบกจิ กรรม การเตรียมคำถาม 3. การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์

13 ใบความรู้ ทกั ษะการประกอบอาชีพ 1. ขั้นตอนการทำขนมดอกจอก การทำขนมดอกจอก มวี ธิ ีการทำท่ีไมย่ ุง่ ยาก ขนมกรบุ กรอบอรอ่ ย กินเพลิน หาซื้อไดง้ ่าย ราคาไม่แพง ลงทุนไม่มากสามารถทำขายสร้างรายได้ได้เปน็ อย่างดี 1.1 วัสด/ุ อปุ กรณ์ - แม่พมิ พด์ อกจอก - กระทะ - ตะหลวิ - ถว้ ยตวง - ตะแกรงรอ่ นแปง้ - แก้ว - ฝาขวด - ตะเกยี บยาว - เปน็ ตน้

14 1.2 ขนั้ ตอนการทำขนมดอกจอก วัตถดุ บิ และสว่ นประกอบ 1. แป้งขา้ วเจา้ 350 กรัม 2. แปง้ สาลี 100 กรมั 3. แป้งมนั 50 กรัม 4. น้ำตาลทราย 1 ถว้ ย 5. หัวกะทิ 1 ถ้วย 6. เกลือ (เล็กน้อย) 7. ไขไ่ ก่ 1 ฟอง 8. งาขาว/งาดำ (ตามชอบ) 9. น้ำปนู ใส 1 ถว้ ย 10. นำ้ มนั พืช (สำหรับทอด) วธิ ีทำ 1. ผสมแป้งขา้ วเจ้า แปง้ สาลี แป้งมนั เขา้ ด้วยกัน และใช้ ตะแกรงร่อนแป้งรวมกันอยา่ งนอ้ ย 2 – 3 รอบ เพือ่ ให้ แปง้ นมุ่ เนียน และเบา

15 2. นำน้ำตาลทราย และเกลอื ผสมลงไป และคนใหเ้ ขา้ กนั 3. เติมน้ำปนู ใสและหัวกะทิลงไป ผสมใหเ้ ขา้ กนั เป็นเนื้อ เดียวกัน ใสไ่ ข่ไก่ลงไป 4. กรองสว่ นผสมอีกรอบ เพอื่ ให้ส่วนผสมเข้ากันดีและมี ความละเอียด 5. นำงาขาวและงาดำไปค่ัวใหห้ อม

16 6. เตมิ งาขาวและงาดำลงไปในส่วนผสมขนม 7. ตง้ั ไฟปานกลาง ใส่นำมันลงไปในกระทะ พอน้ำมันรอ้ นนำ พิมพ์ไปแช่ในนำ้ มนั รอจนพิมพร์ อ้ นจดั 8. ยกพมิ พว์ างบนกระดาษซับน้ำมนั จ่มุ พิมพ์ลงในส่วนผสม โดยเวน้ ระยะขอบแม่พิมพ์ไวเ้ ลก็ นอ้ ย เพื่อให้ สามารถถอดออกจากพิมพ์ได้ง่าย (เขยา่ แมพ่ ิมพเ์ ล็กนอ้ ย)

17 9. ทอดต่อจนเหลอื ง แล้วนำขนมมาวางบนกน้ แก้วหรือฝา ขวด เพอ่ื ใหข้ นมเปน็ ดอกสวยงาม 10.นำขนมไปพักไว้ พอเย็นจดั เรียงขนมใส่ถุงแพ็คให้สวยงาม พรอ้ มรับประทาน 1.3 การบรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ จัดเรียงขนมใสถ่ ุงแพ็คใหส้ วยงามตามขนาดของถงุ 2. วธิ ีการเกบ็ รกั ษา ขนมดอกจอกสามารถเก็บไวไ้ ด้นานถึง 15 วนั ข้อควรระวังอยา่ วางขนมทบั ซ้อนกนั มากเกินไป เพราะ จะทำให้ขนมแตกหักได้ง่าย

18 รายละเอยี ดเนอื้ หาโครงสรา้ งหลกั สตู ร หน่วยการเรียนท่ี ๓ เรื่อง การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ เวลา 30 นาที สาระสำคญั การบริหารจดั การในการประกอบอาชพี การทำขนมดอกจอก การจดั การควบคุมคณุ ภาพ การลด ต้นทุนในการทำขนมดอกจอก การวางแผนการผลติ การจัดการตลาด และการวางแผนการดำเนนิ งาน ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ๑. การบรหิ ารจัดการ 2. การจดั การตลาด ๓. การวางแผนการดำเนินงาน ความสอดคล้องหมวดวิชา วชิ าทักษะการพฒั นาอาชพี , วชิ าพฒั นาสังคมและชมุ ชน และวิชาเลอื ก จดุ ประสงคป์ ลายทาง 1. สามารถบรหิ ารการทำขนมดอกจอกอยา่ งถกู ตอ้ ง 2. สามารถจดั การตลาดในการทำขนมดอกจอกได้ 3. สามารถวางแผนการดำเนินงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายใหค้ วามรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธติ ๔. การฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ สอ่ื 1. คู่มือการเรียนรู้ 2. แผน่ พับ แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชาตติ ระการ/ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาตติ ระการ

19 การวดั ผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏบิ ตั ิงาน 4. ชิน้ งาน/ผลงาน ความสัมพันธก์ บั สาระในหลกั สตู ร - ดา้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ การเตรียมงาน 1. การเตรียมเน้ือหาการเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกจิ กรรม การเตรียมคำถาม 3. การเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์

20 ใบความรู้ การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ ๑. การบริหารจัดการ 1.1 การจดั การควบคมุ คุณภาพ ความสำคัญของคุณภาพ ทำให้ผู้ผลิตสินค้าทุกรายต้องให้ความสนใจและคำนึงถึงคุณภาพในการผลิต สินค้าหรือการให้บริการ ท้ังน้ีเพื่อให้สินค้านั้นออกมาดี มีคุณภาพเหมาะสมในการใช้งานสินค้าและการรับ บริการ ฉะน้ันข้ันตอนต่าง ๆ ของการควบคุมคุณภาพน้ันจึงไม่จำกัดอยู่แค่กระบวนการต่างๆ ภายในสถาน ประกอบการเท่านั้น แต่จะคลุมไปถึงการออกแบบสินค้า การกำหนดมาตรฐานการผลิต การตลาด รวมทั้งการ ให้บรกิ ารลูกคา้ อีกดว้ ย 1.2 การลดต้นทุนในการทำขนมดอกจอก การสำรวจและแก้ไขจุดบกพร่องภายในองค์กรธุรกิจ ซึ่งกลยุทธ์น้ีสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพ่ือความ อยู่รอดขององค์กรธุรกิจในยุคที่เศรษฐกิจตกต่ำ และเพ่ือการเพ่ิมศักยภาพของการแข่งขันในยุคที่เศรษฐกิจ รุ่งเรืองโดยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรธุรกิจจะต้องรู้ว่าจะสามารถเพ่ิมรายได้และลดต้นทุนได้อย่างไร ซ่ึง หลักการลดต้นทุนท่ีสำคัญก็คือ ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำท่ีสุด ทำให้ปริมาณน้อยลง หรือตัดงานที่ไม่จำเป็น

21 ออกไป อยา่ งไรกต็ ามการลดตน้ ทนุ ต้องคำนึงถงึ ผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้า และการบริการทม่ี ีผลตอ่ ระดับ ความพึงพอใจของลูกคา้ เป็นสำคญั โดยมแี นวทางสำคัญที่ใช้ในการวิเคราะหเ์ พ่ือลดตน้ ทนุ การผลิต โดยท่ตี น้ ทุนการผลติ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภทหลัก คือ (1) ต้นทนุ ผันแปร หมายถงึ ต้นทุนท่ไี ม่มีการผลติ กไ็ ม่ตอ้ งจ่าย ผลติ มากใช้เงินมากแตต่ ่อหนว่ ยเท่า เดมิ เชน่ คา่ วัตถดุ บิ เช้อื เพลิง ไฟฟา้ นำ้ น้ำมนั ค่าแรงพนักงาน ค่าจา้ งเหมาประจำเดือน ค่าขนส่ง เปน็ ตน้ (2) ต้นทุนคงที่ หมายถึงต้นทุนที่ถึงแม้ว่าจะไม่มีการผลิตก็ต้องจ่าย ซ่ึงหากผลิตได้น้อยกว่าที่ ประมาณการณ์จะทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้น เช่น ค่าติดตั้งเครื่องจักร – อุปกรณ์ ค่าธรรมเนียม ค่าซ่อม บำรุง คา่ เสอื่ มราคา เปน็ ตน้ 1.3 การวางแผนการผลิต การส่งเสริมเสริมสร้างขีดความสามารถการผลิต เสริมสร้างศักยภาพของการรวมกลุ่ม ให้เป็นกลไก หลักในการบริหารจัดการ โดยอาศัยแนวคิดและกระบวนการสหกรณ์เป็นพื้นฐานในการเสริมสร้าง ความ เข้มแข็งให้ครอบคลุมเกษตรกรและประชาชนในทุกพ้ืนที่และขยาย ผลเช่ือมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาดและการเงิน กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และการวางแผนการผลิต เป็นการวางแผนในการจัดการ ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เช่น แรงงาน เคร่ืองจักร วัตถุดิบ กระบวนการผลิต หรือ 4M (Man Machine Machine Method) เพื่อให้ผลการผลิตบรรลุตามเป้าหมายท่ีถูกกำหนดไว้โดยความต้องการของลูกค้า (Customer Demand) ซ่ึงความต้องการของลูกค้านั้นอาจเกิดจากการสั่งซื้อจริงที่เกิดข้ึนแล้ว และการ พยากรณค์ วามต้องการท่จี ะซ้ือสนิ ค้าในอนาคตตามช่วงเวลาตา่ ง ๆ 2. การจดั การตลาด เทคนคิ ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรมีหลายขนั้ ตอน และหลายรูปแบบ แตท่ ่ีสำคญั ผลติ ภณั ฑ์ อาหารแปรรปู นนั้ ๆจะต้องมีความอร่อย ผูบ้ ริโภครบั ประทานแลว้ ต้องตดิ ใจในรสชาติ ซ่งึ ผลิตภณั ฑอ์ าหารแปร รปู สามารถทำรายไดใ้ หแ้ กเ่ กษตรกร และผปู้ ระกอบการ ไม่ว่าจะจำหน่ายในประเทศ หรอื การส่งออกทสี่ ามารถ เปน็ รายไดน้ ำเข้าสปู่ ระเทศ 2.1 ขอ้ มูลความตอ้ งการของลูกคา้ ผู้บริโภคต่างก็มีความจำเป็น ความต้องการ และอุปสงค์ ท่ีสามารถนำไปบริโภคเพ่ือสนองความ ต้องการของตนเอง โดยจะคำนึงถึงผลประโยชนท์ ่ีผลิตภัณฑ์น้ันสามารถสนองความต้องการของตนเองได้ ซึ่งทำ ให้ได้รับผลประโยชน์ในด้านคุณค่า คุณภาพ และความพอใจ โดยผู้บริโภคจะแลกเปลี่ยนหรือทำการค้ากับ เจ้าของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ความสัมพันธ์ก็จะดำเนินการต่อไป การที่มีผู้บริโภคจำนวนมากดำเนินการในลักษณะ ดังกล่าวเราเรยี กว่าเปน็ ตลาด และเรียกกิจกรรมท้ังหมดนี้ว่าการตลาด องค์ประกอบของการตลาด การวิเคราะหเ์ กยี่ วกับความจำเปน็ ความต้องการ และความต้องการซื้อ (อปุ สงค)์ 1) ความจำเป็น เป็นอำนาจพ้ืนฐานที่ทำให้บุคคลต้องการสิ่งใดส่ิงหน่ึง เพื่อสนองความ ต้องการข้ันพ้ืนฐานของร่างกาย ประกอบด้วยความต้องการในปัจจัย 4 ได้แก่อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารกั ษาโรค รวมถึงความต้องการพักผอ่ น และความตอ้ งการทางเพศ 2) ความต้องการ เป็นรูปแบบหน่ึงของความจำเป็นท่ีพัฒนามาจากความจำเป็นขั้นพ้ืนฐาน เป็นความปรารถนาของบุคคลท่ีจะได้รับการตอบสนองความพอใจ ซ่ึงเป็นความต้องการในระดับที่ลึกซึ้งกว่า ความจำเป็น โดยได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมและบุคลิกภาพส่วนบุคคลเกิดจากการเรียนรู้ด้านวัฒนธรรม และสังคม และการยกย่องทางสังคมรวมถึงต้องการประสบความสำเร็จสูงสุดในชีวิต เช่นความต้องการ

22 รับประทานอาหารในร้านหรู ราคาหลายสิบล้านบาท ต้องการท่ีดินทำเลดี เพื่อหวังผลกำไรสูงสุดในอนาคต ฯลฯ มักจะให้ความสำคัญกับความลึกซึ้งของความหมาย เพื่อใช้ประโยชน์ในการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความ ต้องการสินคา้ และบริการ 3) ความต้องการซ้ือ (อุปสงค์) เป็นความต้องการผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หน่ึง ที่ต้องมี ความสามารถในการซอ้ื ซึง่ จะประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 3 ประการ คอื 3.1 ความตอ้ งการหรอื ความจำเป็นในผลิตภัณฑ์ 3.2 ความสามารถในการซือ้ หรอื มีอำนาจซ้อื มีเงนิ พอท่ีจะซอื้ 3.3 ความเตม็ ใจท่ีจะซอื้ สินค้านัน้ ความจำเป็นหรือความต้องการสามารถเปลี่ยนเป็นความต้องการซื้อได้ถ้ามีอำนาจซือ้ และมีความ เต็มใจซื้อมาประกอบกัน ความจำเป็น ความต้องการและความต้องการการซื้อเป็นจุดเริ่มต้นของการตลาด ทำ ให้เกิดความคิดที่จะเสนอสินค้าและผลิตภัณฑ์ เพื่อท่ีจะสนองความต้องการของบุคคล ดังน้ันจุดเริ่มต้นของ การตลาดก็คือการวิเคราะห์และวิจัยถึงความต้องการของบุคคลที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองแล้ว จึงจะพัฒนา ผลิตภัณฑเ์ พอื่ ท่จี ะสนองความตอ้ งการเหล่านนั้ 2.2 การกระจายผลติ ภัณฑส์ ผู่ บู้ ริโภค การกระจายผลิตภัณฑ์แปรรูปไปสู่ผู้บริโภค หรือ การจัดจำหน่ายสินค้า หมายถึง การนำสินค้า จากผู้ผลิตไปถึงลูกค้าผู้บริโภค จึงหมายรวมถึงการขายและซ้ือสินค้าโดยผ่านพ่อค้าคนกลาง ผู้ค้าส่ง และผู้ค่า ปลกี รวมทั้งวธิ กี ารขนส่ง สินค้าแต่ละขนั้ ตอน การจดั จำหนา่ ยโดยท่วั ไปแบ่งออกเปน็ 2 ช่องทาง คือ 1. จากผ้ผู ลิต - ผบู้ ริโภค 2. จากผ้ผู ลิต - คนกลาง - ผบู้ รโิ ภค ช่องทางจำหน่ายสินค้าที่ดีท่ีสุด คือ ช่องทางการจัดจำหน่ายที่ให้ผลกำไรแก่ผู้ผลิตมากที่สุด เพ่ือให้ การขายหรือจำหน่ายสินค้าที่มีปริมาณมากได้รับผลกำไรที่ดี ดังนั้นควรเลือกช่องทางจัดจำหน่ายที่ หลากหลาย อาจมีช่องทางหลักอย่หู นึ่งช่องทาง และช่องทางเสรมิ เพอ่ื ใหก้ ารจำหนา่ ยมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ 2.3 การวางแผนการตลาด การตลาด คือ กลุ่มเป้าหมายของการขายผลิตภัณฑ์ซึ่งหมายถึงลูกค้าซึ่งมีศักยภาพท้ังหมดที่มี ความจำเป็น และความต้องการผลิตภัณฑ์ซึ่งอาจมีความเต็มใจและความสามารถที่จะแลกเปล่ียนเพื่อสนอง ความจำเป็นหรือความต้องการให้ได้รับความพอใจของตน โดยใช้เงินในการจ่ายซื้อความพึงพอใจเหล่านั้น องค์ประกอบทั้ง 5 ประการเป็นกระบวนการทางการตลาด (marketing process) ซ่ึงเร่ิมจากการกำหนดและ วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าและส่ิงแวดล้อม การวางแผนส่วนประสมการตลาด การปฏิบัติตามแผนและ การควบคุมให้เป็นไปตามแผนถือว่าเป็นกระบวนการตลาดมาประยุกต์ใช้กับปัญหาทางธุรกิจ ทั้งด้านการ วางแผนและการควบคุม ส่วนใหญ่ข้อมูลที่ได้มักได้มาจากแบบจำลอง (model) ท่ีใช้เทคนิคความรู้ทางธุรกิจ และทางการตลาดขั้นสูงสร้างข้ึนมา แล้วนำเอาความรู้ทางสถิติไปพิจารณาหาความสัมพันธ์ของข้อมูล และ วทาดงสแอผบนคแวลาะมแนก่า้ไเขชส่ือถถาือนขกอางรขณ้อ์ทมาูลงดธ้วุรยกิจขไ้อดม้ ูเลชท่นี่ไดก้จาารกพแัฒบนบาจผำลลิตอภงัเณหฑล่์าใหนม้ีจ่ะกเปาร็นกปำรหะนโดยชรานค์ใานกกาารรตวัดางสแิน2ผใ3นจ การตลาด การตลาดอาจถูกมองว่าเป็นหน้าที่ขององค์การและกลุ่มกระบวนการเพื่อการผลิต การส่งสินค้า และการส่ือสารคุณคา่ ไปยงั ลูกค้า และการจัดการความสัมพันธ์ต่อลูกค้า ในทางท่ีเป็นประโยชน์แก่องค์การและ

ผู้ถือหุ้น การจัดการการตลาดถือเป็นส่ิงสำคัญในการเลือกตลาดเป้าหมาย ตลอดจนการได้มาและการรักษา ลูกคา้ ผ่านทางการจัดหาคุณค่าของลูกค้า 2.3.1 การศกึ ษาความตอ้ งการของตลาด ประโยชน์ของการศกึ ษาความต้องการของตลาด 1) ชว่ ยในการวางแผนการผลิต/จำหน่าย 2) ลดตน้ ทุนการผลิต 3) ตดิ ตามสถานการณ์เพอื่ วางแผนการจำหน่าย 2.3.2 ข้อมูลการตลาดท่จี ำเป็นสำหรับผ้ปู ระกอบการ 1) คน้ พบความตอ้ งการทางการตลาด 2) เลอื กสินค้าหรือบริการท่นี ำไปเสนอขายแลว้ สนองความต้องการของลกู ค้าได้ 3) ตง้ั ราคาขายและดำเนนิ การขาย 4) ทำการโฆษณาสนิ ค้า และส่งเสรมิ ใหม้ ผี ู้สนใจซือ้ มากขน้ึ 5) นำสนิ คา้ ออกเสนอขายและจดั จำหน่ายให้ทว่ั ถงึ 6) ทำให้เกิดผลกำไรจากการขายสนิ คา้ หรอื บรกิ ารข้นึ มา ตัวอย่างการคิดราคาขาย การทำแหนม 1 กโิ ลกรมั ใชต้ น้ ทุนท้งั หมด 100 บาท ต้องการกำไรรอ้ ยละ 5 กำไรตอ่ 1 กิโลกรมั 50 x = 50 บาท ต้องตั้งราคาขายกิโลกรัมละ 150 บาท การคิดราคาขายจะมีการยืดหยุ่นได้ตามราคาของวัตถุดิบ และคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา 2.4 การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ การออกแบบ บรรจภุ ณั ฑ์กล้วยกวน ในการอบรมครง้ั น้ีชาวบา้ นได้รู้ถึงความสำคัญของบรรจภุ ณั ฑ์ ทม่ี ีตอ่ ตัวสินค้า การเพิม่ คุณคา่ สนิ คา้ ดว้ ยบรรจุภัณฑ์อกี ทงั้ ได้เรยี นรกู้ ระบวนการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การบรรจุหีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การจัดนำผลผลิตที่ผ่านการทำความสะอาด การคัด ขนาดและคุณภาพแล้วบรรจุลงในภาชนะที่เตรียมไว้ โดยภาชนะน้ันสามารถป้องกันการกระทบกระแทกและ ความเสยี หายได้ เพ่ือนำผลผลติ ออกจำหนา่ ยแกผ่ บู้ ริโภค ความสำคญั ของการบรรจุหีบหอ่ มีดงั น้ี 1. เพ่ือรวบรวมผลผลิตมาบรรจุรวมกันเป็นหน่วยเดียว ซ่ึงทำให้ขนส่งได้รวดเร็วและเก็บรักษา ง2่าย4 2. เพ่อื ป้องกันการสญู เสียท่ีอาจเกิดข้ึนระหวา่ งการขนส่ง 3. เพอ่ื แจ้งรายละเอยี ดของผลผลติ 3. การวางแผนการดำเนนิ งาน การวางแผน เป็นงานที่สำคัญและจำเป็นต่อการบริหารขององค์การ เป็นภารกิจท่ีผู้บริหารต้องกระทำ เป็นดำดับแรกของการบวนการบริหาร การดำเนินการใด ๆ ถ้ามีการวางแผนที่ดีมีข้นั ตอนการปฏิบัติท่ีจัดเจนก็

เช่ือได้ว่า งานนั้นย่อมประสบผลสำเร็จและบรรลุเป้าหมาย โดยเฉพาะการพัฒนางาน การป้องกันความ ผิดพลาดทำได้โดยการวิเคราะห์ ขั้นตอนการทำงานและปัจจัยการดำเนินงาน องค์การไม่มีแผนงานย่อมมี โอกาสท่ีประสบกับความล้มเหลวได้ง่าย ด้ังน้ัน องค์การจึงต้องมีการวางแผนเพ่ือให้กระบวนการปฏิบัติงาน เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยใช้กระบวนการ PDCA ภาพวงจรเดมม่งิ 1. Plan (วางแผน) การวางแผน ( Planning ) เป็นกระบวนการกำหนดวัตถุประสงค์สิ่งท่ีจะต้องกระทำเพ่ือที่จะทำให้ บรรลุถึงวัตถุประสงค์ท่ีกำหนด การวางแผนผังเป็นกาตัดสินใจล่วงหน้าเก่ียวกับงานท่ีจะทำในอนาคตเป็นการ คิด วิเคราะห์ และตัดสินใจก่อนลงมือกระทำ เป็นการมุ่งป้องกัน ปัญหามากกว่าการคอยแก้ปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น จะเห็นได้ว่าการวางแผนเป็นการเชื่อมโยงจากปัจจุบันท่ีเป็นอยู่ไปสู่จุดมุ่งหมายท่ีต้องการวางแผน จึงเป็น กระบวนการในการคิด วิเคราะห์ เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ท่ี ตอ้ งการให้เกิดขน้ึ ท้งั นี้จะต้องมกี ารคิดพิจารณาถึงรายละเอียดของสิ่งท่ตี ้องทำพร้อมกับการระบุผลสำเร็จต่าง ๆ ทต่ี ้องการ ซึง่ จะนำไปสู่วตั ถปุ ระสงค์ตามทีไ่ ด้ต้งั ไว้ 2. Do (ปฏบิ ตั ติ ามแผน) การทำตามแผนที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ด้วยความต้ังใจ มุ่งม่ันพยายามทั้งน้ี การปฏิบัติเป็นการลงมือ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ซึ่งต้องตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติ น้ันว่าได้ดำเนินไปในทิศทางที่ตั้งใจหรือไม่ พร้อมกับสื่อสารให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทราบ และติดตามการปฏิบัตินั้น อย่างสม่ำเสมอ เพ่อื ศึกษาถึงความเป็นไปไดแ้ ละหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นระหวา่ งการปฏิบตั ิ เพ่ือจะม่ันใจได้วา่ การปฏิบัติตามแผนที่วางไว้นั้นเกิดความผิดพลาดน้อยท่ีสุดประโยชน์ของการปฏิบัติตามแผน ชว่ ยให้ทราบขัน้ ตอน วิธีการและสามารถเตรยี มงานได้ล่วงหนา้ ดังนั้น การปฏบิ ัติงานก็จะเป็นไปตามเป้าหมาย ทกี่ ำหนดไว้ โดยไมม่ ปี ัญหาหรอื อุปสรรคเกดิ ขนึ้

3. Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน) การประเมินเป้าหมายชีวิตท่ีวางแผนไว้ว่าสามารถปฏิบัติได้สำเร็จหรือไม่ และต้องปรับปรุงหรือ แก้ไขอย่างไรบ้างจึงจะทำให้ประสบความสำเร็จในชีวติ ทังน้ี การตรวจสอบเป็นการประเมินผลท่ีได้รับจากการ ปฏิบัติ (DO) โดยการตรวจสอบทำให้ทราบว่าในการปฏิบัตินั้นสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้ กำหนดไว้หรือไม่ ส่ิงสำคัญกค็ ือ ตอ้ งรูว้ า่ จะตรวจสอบอะไรบ้างและมคี วามสม่ำเสมอมากน้องเพียงใด ข้อมูลท่ีได้ จากการตรวจสอบจะเป็นประโยชนใ์ นขน้ั ตอนตอ่ ไป 4. Act (ปรับปรงุ แกไ้ ข) การนำเอาผลการประเมินมาปรบั ปรุง และ/ หรือพัฒนาวิธกี ารทำใหช้ ีวติ ประสบความสำเร็จมากข้ึน ทั้งน้ี เป็นการดำเนินงานให้เหมาะสมซึ่งจะพิจารณาผลท่ีได้จากการตรวจสอบซ่ึงมี 2 กรณี คือ ผลที่เกิดข้ึน เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ ถา้ ผลทีเ่ กิดข้ึนเปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ก็จะนำแนวทาง หรือกระบวนการปฏิบัติ (DO) น้ันมาจัดทำให้เป็นมาตรฐานพร้อมท้ังหาวิธีการท่ีจะปรับปรุงให้ดียิ่งข้ึน ซ่ึง อาจจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม รวมท้ังทำให้คุณภาพดีย่ิงข้ึนก็ได้ ถ้าหากไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ก็ควรจะนำขอ้ มูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์ และพิจารณาว่าควรจะดำเนินการ อยา่ งไรตอ่ ไป การจดั ทำบญั ชี การจัดทำบญั ชี หมายถึง การจดบันทึกรายการซื้อขายทุกอย่างท่มี ีข้ึนในการประกอบธุรกิจ ซึ่งเรา สามารถกำหนดค่าออกมาเป็นตวั เงนิ ไวเ้ ปน็ ฐานได้ การทำบัญชีรายรับรายจ่ายนัน้ เป็นสงิ่ บนั ทกึ จำเป็นอยา่ ง ยงิ่ ในการลงทุนประกอบอาชีพ เพราะทำให้ได้ทราบถึงตน้ ทนุ กำไร รวมถึงปริมาณการผลติ และการขาย สนิ ค้า

26

27 คณะทำงาน ท่ีปรึกษา กันตง ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชาติตระการ 1. นางพรสวรรค์ ภาศรี ครชู ำนาญการ 2. นายรงุ้ ภธู ร ลว้ นมงคล ครผู ชู้ ว่ ย 3. นางสาวชมพูนชุ คณะทำงาน ลว้ นมงคล ครูผู้ช่วย 1. นางสาวชมพูนชุ วันช่ืน ครอู าสาสมัครฯ 2. วา่ ที่ พ.ต.บญุ สง่ ยศปญั ญา ครอู าสาสมัครฯ 3. นางสาวภาณมุ าศ บญุ ประกอบ ครอู าสาสมัครฯ 4. นางสาวประยรู แต่งเนตร ครู กศน.ตำบลบา้ นดง 5. นางสาวสภุ าพร พระคำสอน ครู กศน.ตำบลชาติตระการ 6. นางสาวนิภาพร มัน่ หยวก ครู กศน.ตำบลสวนเมีย่ ง 7. นางสาวกัญญณชั พ่วงปิน่ ครู กศน.ตำบลป่าแดง 8. นายอัษฎาพร แสงสีบาง ครู กศน ตำบลท่าสะแก 9. นางสาวเปียทิพย์ ฟองจางวาง ครู กศน.ตำบลบ่อภาค 10. วา่ ท่รี อ้ ยตรหี ญิงสุธาสนิ ี โคกนอ้ ย ครู ศรช.ตำบลป่าแดง 11. นางสาวพรพนา แฟงวัชรกุล บรรณารักษ์อตั ราจา้ ง 12. นางสาวน้ำอ้อย ผู้เรยี บเรยี ง/จัดพิมพร์ ปู เล่ม/ออกแบบปก 1. นางสาวเปียทิพย์ แสงสบี าง ครู กศน.ตำบลทา่ สะแก ครู กศน.ตำบลชาติตระการ 2. นางสาวนภิ าพร พระคำสอน ครอู าสาสมัครฯ 3. นางสาวประยรู บุญประกอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook