Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ช่างเชื่อม

ช่างเชื่อม

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-05-26 07:36:56

Description: ช่างเชื่อม

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การสรุปผลการจัดกิจกรรมอาชีพหลักสูตรช่างพื้นฐาน ช่างเช่ือม เป็นการจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลการอบรมกลุ่มวิชาชีพ เพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ต่อประชาชนผู้สนใจ เป็นการสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใน กระบวนการเรียนรู้จะแตกต่างออกไปตามพื้นที่ในแต่ละพื้นท่ี กลุ่มเป้าหมาย วิถีการดาเนินชีวิต ท่ีดีข้ึน สภาพแวดล้อม ล้วนแต่ส่งผลต่อการเรียนรู้ทั้งสิ้น กระบวนการเรียนรู้จะประกอบด้วย ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะในการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้สามารถ นาความรู้และประสบการณท์ ่ีไดไ้ ปปรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ติ ต่อไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มน้ี ทางผู้ดาเนินงานได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อสรุปผลการจัด กิจกรรมกลุ่มอาชีพช่างพ้ืนฐาน ช่างเชื่อม และได้ใช้ความพยายามอย่างดีที่สุดแล้ว แต่ก็ยังไม่ มั่นใจว่าข้อบกพร่องต่าง ๆ มกั เกดิ ขน้ึ ไดเ้ สมอ ดังนน้ั จึงใครข่ อความกรุณาจากผู้ใช้ทุกท่าน หาก พบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะท่ีคิดว่าจะเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วยจัก ขอบคุณยิ่ง ท้ังนี้ก็เพ่ือจะได้นาไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขการสรุปผลการจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาอาชพี ในโอกาสตอ่ ไป นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ ผ้จู ัดทา มีนาคม ๒๕๖๔

ข สำรบัญ เรอื่ ง รายงานผลการจัดกจิ กรรมหลักสตู รช่างพ้นื ฐาน ช่างเชอื่ ม หนา้ คำนำ หลักสูตรและเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ก สารบัญ การดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ข บทที่ 1 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ 1 บทที่ 2 ๓ บทท่ี 3 ๖ บทที่ 4 1๓ ภาคผนวก 1๗ จัดทาโดย ๑๘

รำยงำนผลกำรจัดกิจกรรม บทท่ี 1 หลักสูตรช่างเช่อื ม จานวน 40 ช่วั โมง กลุ่มวชิ าอาชีพอุตสาหกรรม ความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศ ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความ เข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน สภาพสังคมปัจจุบันระบบสาธารณูปโภค มีความจาเป็นและสาคัญในการ ดารงชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีอาชีพช่างเช่ือมเพื่อรองรับความต้องการ ของประชาชนที่ไม่มีความรู้เรื่องช่างเช่ือมด้วยระบบไฟฟูา เพ่ือความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตนเอง ในขณะเดียวกันการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อการว่างงานของประชาชน อาชีพช่างเช่ือมจึง เป็นอาชีพท่เี ปน็ ทางเลอื กในการสรา้ งอาชพี หนง่ึ ช่างเช่ือมเป็นงานท่ีต้องอาศัยทักษะและความชานาญอย่างมาก อีกทั้งในการฝึกฝนฝีมือให้เกิดความ ชานาญน้ันต้องใช้เวลาและความอดทนอย่างสูง ผู้ท่ีผ่านการฝึกฝนจนชานาญสามารถนา ความรู้ไปใช้ ประโยชนไ์ ด้จริงในชีวิตประจา วนั สามารถประกอบอาชพี เพือ่ การพึ่งพาตนเอง สนองความต้องการของชุมชน สังคมได้ เป็นอย่างดี ขอ้ ดีของการทาช่างเชื่อมเป็นอาชีพ เป็นอาชีพท่ีสามารถทา ให้เกิดรายได้อย่างดี ปัจจุบัน มีการขยายตวั ของสังคมเมอื งอยา่ งรวดเร็ว มกี ารกอ่ สรา้ ง การซอ่ มแซม ดังน้ันช่างเชื่อมจึงมีความจา เป็นอย่าง มากในสงั คมปัจจุบัน แต่ช่างท่ีมีความชานาญในการเป็น ช่างเช่ือมท่ีได้มาตรฐานและคงลวดลายท่ีสวยงามหา ได้ยาก ซึ่งต้องยอมรับว่าตลาดยังขาดแคลนช่างฝีมืออยู่มาก เพราะช่างด้านนี้ส่วนใหญ่ยังขาดทักษะความรู้ ความชานาญอย่างเป็นระบบ ส่วนมากจะทากันแบบครูพักลักจา ทาให้คุณภาพช่างเชื่อมออกมาไม่ได้ มาตรฐานและขาดความปลอดภยั ทีด่ ีพอ ด้วยเหตนุ ้ี กศน.ชาติตระการจึงจัดทาหลักสูตรช่างเช่ือมให้กับผู้สนใจ ที่ต้องการเข้าสู่อาชีพน้ี และเป็นการยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็นการสร้างโอกาส ใหก้ บั ประชาชนในการประกอบอาชีพ สรา้ งงาน สร้างรายได้แก่ตนเองและครอบครวั ต่อไป สถานที่ ณ วัดนาจาน หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก วนั / ระยะเวลาท่ีจดั กจิ กรรม - ระหวา่ งวันท่ี 1 – ๙ มนี าคม พ.ศ.๒๕๖4 - เวลา 09.00 น. – 15.00 น. - หลกั สตู ร ๔๐ ชวั่ โมง - จานวน ๑๘ คน วิทยากร นายเสง่ยี ม หล่ออนิ ทร์ ผ้รู ับผดิ ชอบ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวนภิ าพร พระคาสอน

บทที่ 2 หลักสูตรและเอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้กาหนด บทบาทในการสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องรฐั และสถานศึกษาต่าง ๆ ดงั น้ี 1. รัฐต้องส่งเสรมิ การดาเนนิ งาน และการจัดตัง้ แหลง่ การเรียนรู้ตลอดชวี ิตทุกรปู แบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้ อย่างเพียงพอ และมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ให้คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือ การศกึ ษาตอ่ 3. ใหส้ ถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มหี นา้ ท่จี ัดทาสาระของหลกั สูตรในสว่ นท่ีเกีย่ วขอ้ งกับ สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือเป็นสมาชิกท่ีดีของ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 4. หลักสูตรการศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ ตอ้ งมลี กั ษณะหลากหลายเหมาะสมกับแตล่ ะระดับ โดยมงุ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคล สาระของหลกั สูตร ท้ังที่เป็นวิชาการ วิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความ สมดลุ ท้ังด้านความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดงี าม และความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 5. ใหส้ ถานศึกษารว่ มกบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วน ท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพ่ือให้ชุมชนมีการจัดการศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนา ชุมชนในสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนให้มีการเปล่ียนแปลง ประสบการณก์ ารพฒั นาระหว่างชมุ ชน 6. ใหส้ ถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนท่มี ีประสทิ ธภิ าพ รวมทัง้ การ ส่งเสรมิ ให้ผสู้ อนสามารถวจิ ัยเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกับผู้เรียนในแตล่ ะระดบั การศึกษา การศึกษาประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีมีส่วนช่วยเหลือเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน แนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพียงอย่างเดียวไม่สามารถทาให้การจัดการศึกษาดาเนิน ไปได้อย่างราบรื่น ต้องอาศัยการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ด้วย การจัดการศึกษาที่ เก่ยี วข้องกับภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นต้องสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการของแตล่ ะท้องถิน่ ดว้ ย แนวคิดของการศึกษาตลอดชีวิต เป็นการศึกษาที่มีความจาเป็นสาหรับบุคคลในทุกช่วงชีวิต ต้ังแต่เกิดจนตาย บุคคลมีความสามารถที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต การศึกษา มิได้ส้ินสุดเม่ือบุคคลจบจาก โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาการศึกษาตลอดชีวิตเน้นความเสมอภาคคว ามเท่าเทียมกันในโอกาสทาง การศึกษาการศึกษาตลอดชีวิตควรมีความยืดหยุ่นหลากหลายรูปแบบ และวิธีการเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคน เรียนรู้สามารถเลือกวิธีเรียนที่เหมาะสมกับความสามารถของตนการศึกษาตลอดชีวิตมุ่งให้บุคคลได้พัฒนา อย่างเต็มศักยภาพพัฒนาคุณภาพชวี ติ และพ่ึงตนเองได้ สิ่งทใี่ ห้บุคคลเรยี นรูค้ วรสมั พนั ธ์เก่ียวข้องกับวิถีชีวิต ซึ่ง บุคคลควรได้รับความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ รวมทั้งทักษะในการ แสวงหาความรู้ หรือมีเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ต่อไป การศึกษาตลอดชีวิตเป็นภาพรวมของการศึกษา

ทั้งหมดครอบคลุมการศึกษาทุกประเภท ทุกระดับท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างระบบการศึกษาที่จัด สัดส่วนของการศึกษาไว้ 3 ประเภท คอื 1. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงือ่ นไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศึกษาท่ีมีความยดื หยนุ่ ในการกาหนดจดุ มงุ่ หมาย รูปแบบ วิธีการจดั การศกึ ษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซ่งึ เปน็ เง่ือนไขสาคญั ของการสาเร็จ การศกึ ษา โดยเนอ้ื หาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ บคุ คลแต่ละกล่มุ ตวั อย่าง เช่น การจัดกลุ่มเรียนตามความสนใจของผเู้ รยี น การเรยี นหรือการฝึกอบรม หลักสูตรระยะส้นั เปน็ ต้น 3. การศกึ ษาตามอัธยาศัย เปน็ การศึกษาท่ีใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรดู้ ้วยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม สอ่ื หรอื แหลง่ ความร้อู ื่น ๆ เชน่ การฝกึ ฝนและปฏิบัติงานกบั พ่อแม่ หรือ สถานประกอบการ การศึกษาด้วยตนเองจาก หนงั สือและส่ือต่าง ๆ เป็นต้น ปจั จุบนั ภารกิจของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ขยายออกไปอย่าง กว้างขวาง สามารถแบ่งภารกิจหลกั ได้ 3 ประเภท คือ 1. ส่งเสริมการศึกษาในระบบโรงเรยี น โดยจดั กิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนใน ระบบโรงเรยี นในรูปแบบของการใชส้ ือ่ เทคโนโลยกี ารศึกษา สอ่ื รายการวิทยุ โทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษา สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และการจัดนทิ รรศการวิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา 2. จัดการศึกษานอกโรงเรียน โดยมุ่งจัดการศึกษาให้กับประชาชนและผู้ด้อยโอกาสท่ีอยู่ นอกระบบโรงเรียนให้ได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อ่านออก เขียนได้ รวมท้ังการจัดการศึกษาสายสามัญ และ สายอาชีพในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒน าคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มเปูาหมาย 3. ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับวิถีชีวิตอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีจาเป็นและทันสมัย รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกท่ี เป็นไปอยา่ งรวดเร็วในยุคโลกาภวิ ัฒน์ สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตจากแหล่ง ต่าง ๆ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน ที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ การศึกษา และรายการวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้นโดยสรุปภารกิจท้ังหมดดังกล่าว ก็เพื่อจัดการศึกษาตลอดชีวิต ให้แก่ประชาชนท่ีอยู่ทั้งในและนอกระบบโรงเรียนให้มีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และ ข่าวสารข้อมลู ทท่ี ันสมัยในทกุ ชว่ งเวลาทีต่ อ้ งการ ในรูปแบบของการศึกษาตลอดชวี ติ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะใน การประกอบอาชีพของบุคคลและกลมุ่ บุคคล ซึง่ มีจดุ มงุ่ หมายในชวี ติ ทีต่ า่ งกนั โดยมีสาระดังน้ี 1. การเรียนรู้อาชีพแบบองค์รวมที่ประชาชน ครู กศน.และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เพอื่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจชมุ ชน 2. การออกแบบการเรียนรู้งานอาชีพตามลักษณะของการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพใน รปู แบบการฝึกทกั ษะอาชีพ การเขา้ สูอ่ าชพี การพฒั นาอาชพี และการพัฒนาอาชพี ด้วยเทคโนโลยี 3. การเรียนรจู้ ากการปฏบิ ัติจริงท่ีบูรณาการกับวิถีชีวิต โดยใช้วงจรกระบวนการคิด ทา จา แก้ปัญหาและพัฒนา 4. การจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาอาชีพท่ีพัฒนาศักยภาพของบุคคลและชุมชนที่สอดคล้องกับ วิถีชีวิต โดยส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างเครือข่ายอาชีพ มีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้และ

ประสบการณ์ การทาอาชีพภายใต้วัฒนธรรมของชุมชน มีกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันของชุมชน เป็นชุมชนที่ใช้ เทคโนโลยใี นการบริหารจดั การและพฒั นาอาชพี กศน.อาเภอชาติตระการ ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนมีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน แสดงถึงภาพสาเร็จในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนการสอนมุ่งเน้นประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงต้อง จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น มีนิสัยรักการเรียนรู้ และเกิดการใฝุ เรียนอยา่ งต่อเน่อื งตามแนวคดิ ของการศึกษาตลอดชีวิต

บทที่ 3 การดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผู้ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหลกั สูตรอาชพี ชา่ งพ้ืนฐาน ช่างเช่อื ม ได้ ดาเนนิ การในการอบรม เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลดังน้ี 3.1 การดาเนินการจดั กิจกรรม 1. เตรียมการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน - ประชมุ วางแผนรปู แบบการจัดกจิ กรรม - เลือกหลกั สูตรวิชาชีพที่จะจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานใหบ้ ุคลากรที่เกีย่ วข้อง - ตดิ ตอ่ ประสางานในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 2. วธิ กี ารดาเนินงาน - เขียนขออนุญาตจัดตั้งกลุ่มวิชาชีพ - เสนอขออนญุ าตจดั ตั้งกลมุ่ วชิ าชีพ - เตรียมการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. เตรยี มการกอ่ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน - การจัดเตรียมเอกสารการเรียนการสอน - ติดตอ่ สถานที่ - ตดิ ตอ่ วิทยากร - อื่น ๆ 2. ติดต่อประสานงานเครือข่าย - จดั การอบรมกล่มุ วชิ าชีพตามแผนทว่ี างไว้ 1. ลงทะเบยี นผู้เขา้ รว่ มการกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2. วิทยากรให้ความรู้ เร่ืองหลักสูตรอาชีพช่างพืน้ ฐาน ช่างเช่ือม 3. จัดกจิ กรรมกลุ่มยอ่ ย 4. สรปุ กจิ กรรมยอ่ ย 5. ปิดการอบรม - สรุปรายงานผลการจดั กิจกรรมกลุ่มสนใจหลักสตู รอาชีพชา่ งพนื้ ฐาน ช่างเชือ่ ม เปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจดั กิจกรรมกลุ่มสนใจหลักสตู รอาชีพช่างพ้นื ฐาน ชา่ งเชอื่ ม ใหผ้ ้ทู ่ี เกย่ี วขอ้ งรบั ทราบ 3.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมหลกั สูตรอาชีพชา่ งพืน้ ฐาน ชา่ งเชอ่ื ม จานวน ๑๘ คน - เพศชาย จานวน ๑๘ คน - เพศหญงิ จานวน - คน ผู้จัดกจิ กรรม จานวน 1 คน 3.3 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการจดั กจิ กรรม - ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม - ข้อมลู ทุติยภูมิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้อง

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละสว่ น ดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบุคคล ตอนที่ 2 ประเมินความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 สรุปข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเด็นทส่ี าคัญ สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลยี่ โดยใชส้ ตู รดงั น้ี 3.4.1 ค่ารอ้ ยละ (%) P = F  100 n เมอ่ื p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้งั หมด 3.4.2 คา่ เฉล่ีย ( x ) x = x n เมอ่ื x แทน คา่ เฉลยี่  x แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้ังหมด 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1.00 – 1.50 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด 1.51 – 2.50 หมายถงึ น้อย 2.51 – 3.50 หมายถงึ ปานกลาง 3.51 – 4.50 หมายถงึ มาก 4.51 – 5.00 หมายถึง มากท่สี ดุ ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ าชีพหลกั สตู รอาชพี ชา่ งพ้ืนฐาน ช่างเชอื่ ม ได้มีการ สารวจความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมที่มตี ่อรปู แบบการจัดกจิ กรรม จานวน ๑๘ คน โดยวิธีการตอบ แบบสอบถาม จึงได้มกี ารนาเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปเปน็ ประเดน็ ทีส่ าคัญ

3.1 ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = ๑๘ ) ร้อยละ ชาย ๑๘ ๑๐๐ หญงิ - - รวม ๑๘ 100 จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า ผูเ้ ข้าร่วมอบรมท้ังหมด คอื เพศชาย คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ตารางท่ี 2 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = ๑๘ ) รอ้ ยละ ต่ากวา่ 15 ปี - - 15 – 39 ปี ๗ 40 – 59 ปี ๘ ๓๘.๘๙ 60 ปขี นึ้ ไป ๓ ๔๔.๔๔ ๑๘ ๑๖.๖๗ รวม 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ คือ ชว่ งอายุระหว่าง 40 – 59 ปี คดิ เป็นร้อยละ ๔๔.๔๔ รองลงมา คอื ชว่ งอายุระหว่าง 15 – 39 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๘.๘๙ ตารางท่ี 3 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามระดบั การศึกษาสูงสดุ ระดับการศกึ ษาสงู สุด จานวน ( n = ๑๘ ) ร้อยละ ประถมศกึ ษา 5 ๒๗.๗๘ 4 ๒๒.๒๒ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 6 ๓๓.๓๓ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 ๑๖.๖๗ ๑๘ 100 อ่ืนๆ รวม จากตารางท่ี 3 ผลการศึกษาพบว่า ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญ่มีระดบั การศึกษาสูงสดุ คือ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๓.๓๓ รองลงมา คอื ประถมศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๗.๗๘

ตารางที่ 4 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอาชพี อาชีพ จานวน ( n = ๑๘ ) รอ้ ยละ เกษตรกร ๑๔ ๗๗.๗๘ รับจา้ ง ๔ ๒๒.๒๒ คา้ ขาย - นักเรียน/นกั ศึกษา - - - - อื่นๆ ๑๘ - รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เขา้ ร่วมอบรมส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกร คิดเปน็ ร้อยละ ๗๗.๗๘ รองลงมา คือ อาชพี รบั จ้าง คิดเปน็ ร้อยละ ๒๒.๒๒ ตารางท่ี 5 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามรายไดต้ ่อเดือน รายไดต้ อ่ เดอื น จานวน ( n = ๑๘) ร้อยละ ตา่ กวา่ 5,000 บาท ๑๕ ๘๓.๓๓ 5,000 – 10,000 บาท ๓ ๑๖.๖๗ 10,001 – 20,000 บาท - มากกว่า 20,000 บาท - - ๑๘ - รวม 100 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่ มรี ายได้ 5,000 บาท คดิ เป็นรอ้ ย ละ ๘๓.๓๓ รองลงมา มรี ายได้ 5,000 – 10,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๖.๖๗

3.2 ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรม ตารางที่ 6 แสดงจานวน รอ้ ยละ และค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารว่ มอบรมที่มตี อ่ การจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอน รายการ มากทส่ี ดุ มาก ระดับความพึงพอใจ คา่ เฉลยี่ อยใู่ น ๔.๕๖ ระดับ 1.เนอื้ หาวิชาทีจ่ ดั การเรยี นรู้/ ฝึกอบรม ๑๔ ๓ ปานกลาง น้อย นอ้ ย ๔.๓๓ มาก ตรงตามความตอ้ งการของท่านเพยี งใด (๗๗.๗๘%) (๑๖.67%) ท่สี ดุ ๔.๕๐ ทส่ี ุด 2.วิทยากรมาใหค้ วามรูต้ รงตามเวลา ๔.๗๒ มาก ๑๔ ๒ ๑ -- 3.วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลักสตู ร (๗๗.๗๘%) (๑๑.๑๑%) (๕.๕๕%) ๔.๒๐ มาก กาหนด ทส่ี ุด 4.ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ๑๓ ๔ ๒- - มาก ของวทิ ยากร (๗๒.๒๒%) (๒๒.๒๒%) (๑๑.๑๑%) ท่ีสดุ 5.จานวนสอ่ื /อุปกรณ์การฝึกประกอบการ ๑๓ ๕ ๑ - - มาก เรยี นเพยี งพอเพยี งใด (๗๒.๒๒%) (๒๗.๗๘%) (๕.๕๕%) ๑๒ ๔ - -- (๖๖.๖๗%) (๒๒.๒๒%) ๒- - (๑๑.๑๑%) 6.ทา่ นไดร้ บั ความรู้และสามารถฝึกทกั ษะ ๑๕ ๒ ๑ - - ๔.๖๑ มาก ไดต้ ามทคี่ าดหวงั มากน้อยเพยี งใด (๘๓.๓๓%) (๑๑.๑๑%) (๕.๕๕%) ที่สุด 7.ความรู้ทักษะที่ได้สามารถนาไปใช้ ๑๖ ๒ - - - ๔.๘๙ มาก ประกอบอาชีพได้เพยี งใด (๘๘.๘๗%) (๑๑.๑๑%) ทส่ี ุด 8.สถานทีเ่ รยี นเหมาะสมเพียงใด ๑๔ ๔ - - - ๔.78 มาก (๗๗.๗๘%) (๒๒.๒๒%) ที่สดุ 9.ท่านไดร้ บั โอกาสในการเรยี นร้เู ทา่ เทยี ม ๑๖ ๑ ๑ - - ๔.๖๗ มาก กันเพยี งใด (๘๘.๘๗%) (๕.๕๕%) (๕.๕๕%) ทสี่ ดุ 10.ระยะเวลาในการเรยี น/กิจกรรม ๑๖ ๑ ๑ - - ๔.๖๗ มาก เหมาะสมเพยี งใด ที่สุด (๘๘.๘๗%) (๕.๕๕%) (๕.๕๕%) 11.ความรทู้ ี่ได้รับคุ้มค่ากับเวลาและความ ๑๕ ๒ ๑ - - ๔.๖๑ มาก ตงั้ ใจเพยี งใด (๘๓.๓๓%) (๑๑.๑๑%) (๕.๕๕%) ที่สุด 12.ทา่ นพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด ๑๗ ๑ - - - ๔.๙๐ มาก ทสี่ ดุ (๙๔.๔๔%) (๕.๕๕%) รวมทงั้ สน้ิ ๑๗๕ ๓๑ ๑๐ - - 4.๖๓ มาก (๘๑.๐๙%) (๑๔.๓๕%) (๔.6๓%) ทส่ี ุด คา่ เฉล่ียถ่วงน้าหนกั 4.๖๓ ระดับความคดิ เห็นมากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดการเรยี น การสอนหลักสูตรอาชีพช่างพ้ืนฐาน ชา่ งเชื่อม โดยรวมอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ( x = 4.๖๓ ) โดยมีระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด คือ ท่านพงึ พอใจต่อหลกั สูตรน้ีเพยี งใด คิดเปน็ ( x =4.๙๔ ) ระดับความพงึ พอใจ รองลงมา คือ ความรู้ทักษะที่ไดส้ ามารถนาไปใช้ประกอบอาชพี ไดเ้ พยี งใด คิดเป็น ( x =4.๘๙ ) และระดับ ความพึงพอใจระดับตา่ ที่สดุ คือ จานวนสือ่ /อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด คดิ เป็น ( x = ๔.๒๐) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ - หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะท่ีความพึงพอใจอย่ใู นระดับมากขนึ้ ไป

บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สูตรอาชีพชา่ งพืน้ ฐาน ชา่ งเชื่อม มีจดุ ประสงค์ในการ จดั กจิ กรรมดงั นี้ 1. เพื่อให้ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมเกดิ ความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักสูตรอาชพี ช่างพื้นฐาน ช่าง เช่อื ม 2. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั แนวทางการ จดั กิจกรรม 3. เพ่อื เป็นการลดรายจ่ายในครอบครัว และเป็นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของผเู้ ข้ารว่ ม กจิ กรรมใหด้ ียิ่งขน้ึ 4. เพือ่ ส่งเสรมิ ความร่วมมือและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาอาชพี ของผเู้ รยี น ผรู้ ับบรกิ ารกับสถานศกึ ษา 5. เพอ่ื รว่ มวเิ คราะห์ และสังเคราะห์รปู แบบ กระบวนการจดั และผลสาเรจ็ ท่เี กดิ ข้ึนจาก โครงการตามตัวชี้วดั ทก่ี าหนดเปน็ ตวั ช้ีวดั ความสาเรจ็ ตามกลมุ่ เปูาหมายจากการ ประเมินเบื้องตน้ 6. เพอ่ื ศกึ ษาผลการดาเนนิ งาน ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลในการจดั การศึกษาอาชีพ การดาเนนิ การจดั กิจกรรม 4.1 ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมหลกั สูตรอาชพี ชา่ งพืน้ ฐาน ช่างเชอ่ื ม จานวน ๑๘ คน - เพศชาย จานวน ๑๘ คน - เพศหญิง จานวน - คน ผ้จู ดั กจิ กรรม จานวน 1 คน 4.2 เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการอบรม - ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง 4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละส่วน ดังนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเดน็ ทส่ี าคัญ 4.4 วิธีการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมลู ผ้จู ดั ได้ดาเนนิ การ 2 ลกั ษณะ คือ 4.4.1 การสงั เคราะหเ์ ชงิ คุณลกั ษณะ ผู้จดั กิจกรรมทาการสังเคราะห์โดยใช้วิธกี ารวิเคราะห์ สงั เคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมูลท่ัวไป ขอ้ มูลความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และข้อเสนอแนะ 4.4.2 การสังเคราะหก์ ารอบรมเชิงปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กิจกรรมเชงิ ปรมิ าณ ผู้จัดกิจกรรมแยกออกเป็น

คณุ ลักษณะตา่ ง ๆ ในการสงั เคราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 1. ข้อมลู เกีย่ วกับเพศ / อายุ 2. ขอ้ มูลระดับความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 3. ข้อเสนอแนะ โดยเปรยี บเทยี บจานวนคนคดิ เป็นร้อยละในแตล่ ะสว่ นของข้อมูลการอบรม พร้อม การบรรยายประกอบ สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหลกั สตู รอาชีพช่างพนื้ ฐาน ชา่ งเชอื่ ม โดยใช้วิธีการ วเิ คราะห์ สังเคราะหจ์ ากแบบประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และรปู แบบการจัด กิจกรรม สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี 1. การสังเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทง้ั หมดเปน็ เพศชาย เน่อื งจากหลกั สตู รอาชพี ชา่ งพน้ื ฐาน ชา่ งเชื่อม เปน็ งานท่เี ก่ียวกับผู้ชายอย่างมากเพราะต้องใช้แรงและความแม่นยาและสามารถทาเปน็ อาชพี เสริมได้เพ่ือลด ค่าใชจ้ า่ ยโดยลดคา่ ชา่ งได้อีก ทาให้รอ้ ยละส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 1.1ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสว่ นใหญเ่ ป็นมอี ายุอยูร่ ะหว่าง ๔๐ – ๕๙ ปีขึน้ ไป เน่ืองจาก เปน็ ช่วงวัยของผ้ใู ช้แรงงาน ซ่ึงเหมาะกบั วัยน้ีมาก จึงมีผลทาใหก้ ารหาคา่ ร้อยในช่วงน้ีสูงกวา่ ชว่ งอืน่ ๆ ผลการสงั เคราะห์ทางจานวนของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม จานวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่มวิชาชีพมี อยู่จากดั สว่ นใหญ่ผ้เู รียนจะมาเรียนตามท่ีกาหนด ไมม่ ผี ู้เรียนเกนิ จากเปูาหมายที่กาหนด ผลการคานวณอาจ มีความคาดเคลื่อนได้ ถา้ หากมีผู้เรยี นเพม่ิ ขนึ้ อีกจากกล่มุ เปูาหมายปกติ และงบประมาณการฝึกอบรมก็มอี ยู่ อยา่ งจากัด 2. การวิเคราะห์ข้อมลู เกีย่ วกบั ความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน จากการศึกษาพบว่า ผเู้ ข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนการสอน หลักสูตรอาชพี ชา่ งพ้นื ฐาน ชา่ งเช่อื ม โดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด ( x = 4.๖๓ ) โดยมีระดับความพึง พอใจมากท่สี ดุ คือ ท่านพึงพอใจต่อหลกั สูตรน้เี พยี งใด คดิ เปน็ ( x =4.๙๔ ) ระดับความพงึ พอใจรองลงมา คือ ความรทู้ กั ษะทีไ่ ด้สามารถนาไปใชป้ ระกอบอาชีพได้เพยี งใด คดิ เป็น ( x =4.๘๙ ) และระดับความพงึ พอใจ ระดับต่าท่สี ุด คอื จานวนสอื่ /อปุ กรณ์การฝึกประกอบการเรยี นเพียงพอเพยี งใด คดิ เปน็ ( x = ๔.๒๐) อภปิ รายผล จากการดาเนินการกลุ่มวชิ าชีพพบประเดน็ สาคัญทส่ี ามารถนามาอภิปรายผลไดด้ ังน้ี 1. ดา้ นกล่มุ เปาู หมาย 1.1 กลมุ่ เปาู หมายสว่ นใหญ่ตอ้ งการเพียงนาความรู้ท่ีไดร้ ับจากการอบรมไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั 1.2 จากการดาเนนิ การพบว่ากล่มุ เปาู หมายท้งั หมดเป็นเพศชาย เนอ่ื งจากเป็น งานทเ่ี กย่ี วกบั ชา่ งโดยตรง 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดาเนินงานพบว่าคา่ วัสดุ อุปกรณ์ไม่คอ่ ยเพียงพอตอ่ ความต้องการของ กลมุ่ ผ้เู ข้ารับการอบรม แต่ได้มกี ารใชอ้ ย่างอนื่ ทดแทน

3. ด้านกจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.1 จากการดาเนนิ งานพบวา่ กิจกรรมหลักสูตรอาชพี ช่างพื้นฐาน ชา่ งเชอื่ ม ได้ เนือ่ งมาจากปัญหาเร่ืองงบประมาณน้อยราคาวัตถดุ บิ สูง 3.2 จากการดาเนนิ งานพบวา่ กิจกรรมต้องยดื หยุ่นตามสภาพกลุ่มเปูาหมาย เนื่องมาจากสภาพชวี ติ ความเป็นอยขู่ องกลุ่มเปาู หมายมสี ่วนสาคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ด้านสถานท่ี 4.1 การดาเนนิ การอบรม ด้านสถานท่ีสามารถมกี ารเปล่ยี นแปลงไปไดต้ ามความ ต้องการ และความเหมาะสมของผู้เข้ารว่ มการอบรม 4.2 ควรมีการใช้สถานท่ขี องสว่ นรวม เพอ่ื ให้เกิดความเชอื่ มโยง สมั พนั ธ์กันระหว่าง กศน. และชุมชน ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การกล่มุ วชิ าชีพครั้งตอ่ ไป 1. ควรทาการศกึ ษาปัญหาความต้องการของกล่มุ เปาู หมาย โดยใช้เครื่องมือทหี่ ลากหลาย รูปแบบ เพ่อื ให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการของผ้เู รยี นมากทสี่ ุด 2. ควรศกึ ษาความต้องการของกลุม่ เปาู หมายในด้านต่าง ๆ ท่ีตอ้ งการรับบรกิ ารจาก กศน. เพื่อใหท้ ราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลกั สูตรให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถ่ินได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการศึกษาจาก กลุ่มเปูาหมาย และชุมชน 4. ควรเก็บขอ้ มลู ของผ้เู ขา้ รับการอบรมหลงั การอบรมดว้ ยทกุ ครง้ั ข้อมูลความตระหนัก ในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี หลักสตู รอาชีพช่างพืน้ ฐาน ช่างเชอื่ ม ของ สถานศึกษามงุ่ ให้เกดิ ความสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ ารเป็นสาคัญ โดยมุง่ เน้นความ ต้องการของผเู้ รยี น/ผูร้ ับบริการเป็นแนวทางในการดาเนินงาน และได้มีการส่งเสริม สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรใน สถานศกึ ษาเหน็ ความสาคัญของการจัดหลักสตู รวชิ าชพี แต่ละหลักสตู ร และปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเป็นระบบอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ แต่การดาเนนิ การบางอยา่ งไม่สามารถทาใหบ้ รรลุตามแผนที่วางไว้ได้ จงึ ทาให้ขอ้ มลู บางอย่าง เกิดความคลาดเคลื่อน ขอ้ มูลการปฏิบตั ิ (ความพยายาม) เม่อื บคุ ลากรได้รับแนวทาง และนโยบายทางการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพแลว้ ได้ดาเนินการ สารวจหาความต้องการของกลุ่มเปาู หมายท่ีแทจ้ ริง แตเ่ นื่องจากการเก็บข้อมลู ไม่เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ทา ให้ไมส่ ามารถดาเนินการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผู้รับบรกิ ารได้ทว่ั ถึงทุก กลุ่ม ทาให้ความพงึ พอใจของผู้สนใจนอ้ ยลง จดุ เด่นของกลุ่ม 1. มีความตอ้ งการ เหมือนกัน 2. กลมุ่ เปูาหมายมคี วามรบั ผิดชอบ 3. กลมุ่ เปูาหมายมีความสามัคคี 4. กลุม่ เปูาหมายมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี 5. กลมุ่ รู้จกั ประยกุ ต์ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวัตถุดิบทดแทนกนั

จุดควรพัฒนา (จุดด้อย) 1. การรวมกลมุ่ เปน็ กลมุ่ อาชีพ 2. มผี ูเ้ ขา้ ร่วมการอบรมบางสว่ นเอาเปรยี บผู้รว่ มการอบรมคนอื่น แนวทางการพฒั นา 1. ควรจัดหางบประมาณเพ่ิมเติม หรือการขอความสนับสนุนจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ในเร่ืองการ จัดหาอปุ กรณใ์ นการเรียนรู้และปฏิบัติ วธิ กี ารพัฒนา 1. สร้างความเขา้ ใจที่ดีในการใชว้ ัตถุดบิ ที่มีอยู่ในท้องถิน่ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ สอน ให้ผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ ารเห็นความสาคญั 2. ปรับวธิ กี ารจดั กจิ กรรมให้เหมาะสมกับผเู้ รียน/ผรู้ บั บริการ ใหม้ ีความยืดหยุ่นโดยไม่เนน้ หนว่ ยการเรียนรูต้ ามหลักสูตร แตใ่ หย้ ดึ ตัวผเู้ รยี นเป็นสาคญั แล้วจึงนาผลการดาเนินงานมาปรบั ปรุงหลกั สูตร อาชีพชา่ งพื้นฐาน ช่างเช่อื มในคร้ังตอ่ ไป

ภำคผนวก - เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง - ภาพประกอบกจิ กรรม

ภำพกิจกรรม อำชีพชำ่ งพ้ืนฐำน ชา่ งเช่ือม จานวน 40 ชม. ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – ๙ มนี าคม พ.ศ.๒๕๖4 ณ วัดนาจาน หมู่ ๔ บา้ นนาจาน ตาบลชาตติ ระการ



จดั ทำโดย ทปี่ รกึ ษา ผอ.กศน.อาเภอชาติตระการ 1.นางพรสวรรค์ กนั ตง ครู 2.นายรุ้งภธู ร ภาศรี ครผู ูช้ ่วย 3.นางสาวชมพูนชุ ล้วนมงคล ---------------------------------------------------------------- นางสาวภาณมุ าศ ยศปัญญา ครูอาสาสมคั รฯ สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดกิจกรรม -------------------------------------------------- ผรู้ บั ผดิ ชอบ/ ผูเ้ รียบเรยี ง/ ผู้จัดพมิ พ์รูปเลม่ / ออกแบบปก นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook