Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต้นไม้ของพระราชา เรื่องโดย คุณธนะชัย และคุณนวิษฐา สุนทรเวช จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

ต้นไม้ของพระราชา เรื่องโดย คุณธนะชัย และคุณนวิษฐา สุนทรเวช จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Description: ต้นไม้ของพระราชา

Search

Read the Text Version

หนงั สอื ชดุ ส�ำ หรับเย�วชน : หนังสอื สือ่ ประสมเฉลิมพระเกยี รติ เล่มท่ี ๘ ต้นไม้ของพระราชา คณะกรรมก�รฝ่�ยประมวลเอกส�รและจดหม�ยเหตุ ในคณะกรรมก�รอ�ำ นวยก�รจัดง�นเฉลมิ พระเกียรติพระบ�ทสมเด็จพระเจ�้ อยู่หัว เนอื่ งในโอก�สพระร�ชพธิ มี ห�มงคลเฉลิมพระชนมพรรษ� ๗ รอบ ๕ ธันว�คม ๒๕๕๔



ของตพ้นรไะมร้าชา



ก�ลครั้งหน่ึงน�นม� มีร�ช�ผยู้ ิ่งใหญ่ ทรงปลกู ต้นไมไ้ ว้ แผ่ร่มใบให้พงึ่ พงิ เตบิ โตอย�่ งงดง�ม พรอ้ มดว้ ยคว�มพเิ ศษยิ่ง ผลิผลทุกก�้ นกงิ่ เป็นสิง่ เสริมเพิ่มปัญญ� ๕



ดอกผลเป็นหนงั สือ ส่อื เรียนรอู้ นั มีค่� เด็กเด็กชวนกนั ม� ใชเ้ วล�อ่�นเพลินใจ บ้�งอิงแอบแนบเง� บ�้ งนั่งเล�่ ล้อมวงใหญ่ เรียกข�น “ครูต้นไม้” ผูกพันใจให้จดจำ� ๗



แต่แล้วในวันหนง่ึ เสยี งอือ้ อึงฟ้�มดื คล้ำ� ลมพดั โหมกระหน�่ำ ซำ�้ เตมิ ใหใ้ บรว่ งหลน่ หนงั สอื เลม่ ใหญน่ อ้ ย หลดุ ลอยห�ยไปไกลโพน้ คงไว้เพียงล�ำ ตน้ ฝ่�แรงฝนทนอยยู่ ืน ๙

๑๐

เดก็ นอ้ ยชะเงอ้ รอ เม่ือไรหนอจะกลับฟ้นื ออกดอกใบร่มร่ืน คนื กลับม�ในเรว็ พลนั ผ่�นวันแล้ววันเล่� เพียรม�เฝ�้ อยูอ่ ย�่ งนน้ั ผลัดเปล่ยี นหมุนเวียนกัน ทุกทุกวันดว้ ยห่วงใย ๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

โอบกอดลำ�ต้นกว้�ง สง่ พลังสู่ตน้ ไม้ โน้มตวั กระซิบใกล้ “ห�ยไวไวนะคะคร”ู แล้วลองเล่�นิท�น ทเ่ี คยอ�่ นเคยเรียนรู้ จำ�คว�มไดจ้ �กครู ยังคงอยตู่ ลอดม� ๑๕

๑๖

“เรือ่ งเลา่ ของเจา้ ชาย ผแู้ หวกวา่ ยกลางธารา นานวันผ่านเวลา จนนางฟา้ เห็นความเพียร เม่อื กลบั ขนึ้ สฝู่ ่ัง ทรงก่อตั้งสร้างโรงเรียน สอนคนใหอ้ ่านเขยี น เพยี รทาำ ดมี ศี ลี ธรรม” ๑๗

“เร่อื งราวประทับใจ คงอยใู่ นความทรงจำา สุนขั ผ้เู ลศิ ลำ้า เปี่ยมดว้ ยความกตญั ญู ตอบแทนผู้ชุบเลีย้ ง เปน็ เยยี่ งอย่างนา่ เชดิ ชู ควรคดิ ลองทำาด ู สาำ นึกรบู้ ุญคณุ คน” ๑๘

๑๙

๒๐

จ�กหนึ่งถงึ รอ้ ยพัน แวะเวียนวนั ละหล�ยหน เรื่องร�วบนั ด�ลดล ลว้ นสง่ ผลเพม่ิ แรงใจ ดั่งก�รหม่ันรดน�ำ้ ทุกเช้�ค�่ำ ชมุ่ ฉ่ำ�ไซร้ พรวนดินพร�่ำ เพียรไป ครูตน้ ไม้ได้รบั ฟัง

๒๒

และแลว้ ในวันหน่งึ ถึงเวล�ที่ว�ดหวงั หนงั สอื บ�นสะพร่ัง ดั่งเคยเปน็ เชน่ วนั ว�น ผลแหง่ คว�มอดทน เพร�ะทกุ คนรักก�รอ่�น รอคอยแม้ย�วน�น ก็พน้ ผ�่ นไปง�่ ยด�ย ๒๓

สุดท้�ยคดิ คำ�นึง ยอ้ นถงึ ย�มพ�ยใุ หญ่ หนังสือปลดิ ปลวิ ไป แห่งหนใดใครร่ ู้คว�ม หยงั่ ร�กเริม่ ต้นใหม่ ทัว่ ถิ่นไทยไดง้ อกง�ม เตบิ โตให้ตดิ ต�ม วรรณกรรมของแผน่ ดนิ ๒๔

๒๕

พระปรชี าสามารถดา้ นวรรณศลิ ป์ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช “ภาษาไทยเปน็ เครอื่ งมอื อย่างหน่ึงของชาติ ภาษาทงั้ หลาย เป็นสง่ิ ท่ีสวยงามอย่างหน่ึง เช่น ในทางวรรณคดี เปน็ ตน้ ฉะนน้ั จึงจำาเปน็ ตอ้ งรกั ษาไว้ใหด้ ี... เรามโี ชคดที ่มี ภี าษาของตนเอง แตโ่ บราณกาล จึงสมควรอยา่ งยง่ิ ท่จี ะรักษาไว.้ ..” พระร�ชดำ�ริเม่อื คร้ังเสดจ็ ไปร่วมประชมุ ท�งวิช�ก�รของชมุ นุมภ�ษ�ไทย คณะอักษรศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วทิ ย�ลัย พุทธศักร�ช ๒๕๐๕ หนงั สอื พระร�ชนพิ นธ์และพระร�ชนพิ นธแ์ ปล พระร�ชนพิ นธแ์ ปล พระร�ชนพิ นธแ์ ปล พระร�ชนพิ นธ์ พระร�ชนพิ นธ์ พระร�ชนพิ นธ์ พระร�ชนพิ นธ์ เรื่อง นายอนิ ทร์ เรอ่ื ง ติโต เร่ือง พระมหาชนก เรื่อง พระมหาชนก เรือ่ ง ทองแดง เร่ือง ทองแดง ผ้ปู ดิ ทองหลังพระ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๗ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ฉบับการ์ตนู เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉบับการต์ ูน เม่ือพ.ศ. ๒๕๓๖ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๒ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒๖

แรงบนั ด�ลใจ ‘ต้นไมข้ องพระราชา’ เรอ่ื งร�วของวรรณกรรม ม่งุ เนน้ ก�รถ่�ยทอดคว�มร้แู ละคว�มคดิ อ�่ นผ�่ นตวั หนงั สอื ซ่ึงสื่อออกม�ด้วยดอกผล ของต้นไม้ทเ่ี รม่ิ จ�กเมล็ดเลก็ ๆ แล้วคอ่ ยๆ งอกง�มเตบิ โต แกน่ ของเรื่องจงึ ด�ำ เนินไปโดย ‘ครตู น้ ไม้’ ท่เี ป็นด่ังร่มโพธ์ริ ่มไทร และศนู ย์รวมใจของคนในสังคม บอกเล�่ ผ�่ นเนื้อห�ทเ่ี ป็นบทรอ้ ยกรอง แฝงคว�มหม�ยสอนใจทงั้ เรือ่ งก�รรกั ก�รอ่�น ก�ร ฟนั ฝ่�อุปสรรคของผคู้ นในสงั คมด้วยคว�มส�มคั คี ก�รน้อมน�ำ บทพระร�ชนพิ นธเ์ รอ่ื ง ‘พระมหาชนก’ และ ‘ทองแดง’ ม�เป็นตวั อย�่ งในก�รให้คติเร่ืองคว�มเพยี ร ก�รท�ำ คว�มดมี ีศีลธรรม คว�มกตญั ญูรู้คุณ ตลอดไปจนถงึ ตอนท้�ยของเรื่อง ที่สอดแทรกเร่ืองก�รพฒั น�ก�รเกษตรอย่�งย่งั ยนื ทแี่ ผข่ ย�ยออกไปได้ทว่ั ท้งั แผ่นดนิ ไทย ในฐ�นะที่เป็นผู้แตง่ เรอ่ื งน้ี เร�ท้งั สองร้สู กึ ปล�บปลืม้ ใจว�่ ครง้ั หนง่ึ ในชีวติ ไดใ้ ช้อ�ชีพนกั แต่งนทิ �นทำ�ง�นถว�ย พระองคท์ ่�น เพ่อื แสดงถงึ พระปรีช�ส�ม�รถด้�นวรรณศิลปข์ องพระองค์ให้เดก็ ไทยไดร้ จู้ ัก ธนะชยั - นวษิ ฐ� สนุ ทรเวช เม่ือไดท้ ร�บว่�ตนเองเป็นผหู้ น่ึงทจี่ ะไดว้ �ดภ�พประกอบหนังสอื ส�ำ หรบั เด็กชุดนี้ คว�มร้สู กึ แรกสุด คอื ปล�บปล้มื และดีใจม�ก หลงั จ�กก�รประชุมคยุ ง�นในสว่ นของเน้อื เรื่อง ‘ต้นไม้ของพระราชา’ แลว้ ไมว่ �่ จะเดนิ ท�งไปไหน ผู้ว�ดก็ จะคอยมองห�ตน้ ไม้ใหญๆ่ เสมอ หรอื เมอ่ื ไรทมี่ ีเวล�และโอก�สก็จะออกไปว�ดรูปตน้ ไม้ใหญ่ๆ เพ่ือเก็บเป็นขอ้ มลู ในฐ�นะทเ่ี กดิ ในแผ่นดินไทย เกิดเป็นคนไทย และทีส่ ุดคอื ได้เกดิ ม�อยู่ใต้พระบรมโพธิสมภ�ร เมอ่ื ถึงเวล�ท�ำ ง�น จะรู้สึกว�่ ว�ดภ�พเหล่�นขี้ ้ึนม�เพอื่ พระร�ช�ของเร� พระร�ช�ในชีวติ จริงๆ ของเร�เอง ไม่ใช่พระร�ช�ในนทิ �น ดงั น้นั ก�รว�ดภ�พประกอบหนงั สอื ชดุ น้จี ึงเป็นก�รดงึ เอ�คว�มรู้สึกท่ีมตี ่อพระร�ช�ของเร�ออกม�จริงๆ ตน้ ไม้ใหญท่ ่แี ขง็ แกรง่ แผ่รม่ เง�เปน็ ที่พ่ึงท�งปญั ญ�ให้กับผ้คู น จึงเป็นเสมือนสตแิ ละปญั ญ�ทพ่ี ระร�ช�ได้ พระร�ชท�นแก่ประช�ชนทกุ คนในแผน่ ดินของพระองค์ นนั ทวนั ว�ตะ ๒๗

ตน้ ไมข้ องพระราชา เรือ่ ง โดย ธนะชัยและนวษิ ฐา สนุ ทรเวช ภาพ โดย นันทวัน วาตะ คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำานวยการจดั งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เนอ่ื งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔ จดั พิมพ์ พุทธศักราช ๒๕๕๕ พมิ พ์คร้ังท่ี ๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๕ จำานวน ๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-543-189-7 ท่ีปรึกษา ที่ปรึกษาเลขาธกิ ารพระราชวัง นางสายไหม จบกลศึก ผอู้ ำานวยการสาำ นักงานศิลปวฒั นธรรมรว่ มสมยั นายชาย นครชัย รองผอู้ าำ นวยการสาำ นักงานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมัย นายดำารงค์ ทองสม ผอู้ ำานวยการศูนย์เครอื ขา่ ยสมั พนั ธแ์ ละแหล่งทุน นางสาวนาถนิศา สขุ จิตต์ บรรณาธิการ จัดทำาโดย นางสาวระพีพรรณ พฒั นาเวช สาำ นักงานศลิ ปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวฒั นธรรม กองบรรณาธิการ ๖๖๖ ชัน้ ๑๗ อาคารธนาลงกรณ์ ถนนบรมราชชนนี นางสาวแสงทวิ า นราพชิ ญ์ แขวงบางบาำ หรุ เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ นางกณิกนนั ท์ สวุ รรณปินฑะ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๒๘ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๓๑ นางสาวณุภทั รา จนั ทวชิ www.ocac.go.th นางสาวอมั รา ผางนา้ำ คาำ นายวิชระวิชญ์ อัครสนั ตสิ ุข นางสาวธนั ยช์ นก ยาวลิ าศ ออกแบบปกและรูปเลม่ นางวชริ าวรรณ กาญจนาภา นายกฤษณะ กาญจนาภา