Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดูแลสุขภาพฟันและช่องปากเจ้าตัวเล็ก ฟ ฟัน สนุกจัง ผู้เขียน ทันตแพทย์หญิงหยาดฤทัย โก้สกุล จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

คู่มือดูแลสุขภาพฟันและช่องปากเจ้าตัวเล็ก ฟ ฟัน สนุกจัง ผู้เขียน ทันตแพทย์หญิงหยาดฤทัย โก้สกุล จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Description: คู่มือดูแลสุขภาพฟันและช่องปากเจ้าตัวเล็ก ฟ ฟัน สนุกจัง

Search

Read the Text Version

คูม่ อื ดูแลสุขภาพฟนั และช่องปากเจ้าตวั เล็ก ประกอบหนงั สอื นทิ านภาพ ชุด ˹ѧÊÍ× à´Ô¹·ª´Ø Ò§¿ÊÿҌ §¹˜ ÊØ¢Ê๾ءÍè× ¨à´§Ñ ç¡»°ÁÇÑ ˹ѧÊ×Íà´Ô¹·Ò§ÊÃÒŒ §ÊØ¢à¾èÍ× à´ç¡»°ÁÇÂÑ ªØ´ ¿ ¿˜¹ ʹ¡Ø ¨§Ñ Ê¿¹¿Ø¡¨˜¹§Ñ àÃ×èͧ ¨¹Ñ ·Ãà¾Þç ÊÔ¹Ê͹ ÀÒ¾ ªÒÞÈÅÔ »Š ¡ÔµµÔ⪵ԾҳªÔ  à»ÁàÔ¡Ã×èÍÒ§áÅÐàÀÃÒ¾Í× §Â§èÔ Ë¹§Ñ Ê×Íà´¹Ô ·ªÒ´Ø§Ê¿ÃÒŒ §¿Ê˜¹Ø¢àʾ¹Íè× Ø¡à´¨¡ç§Ñ »°ÁÇÂÑ ÀàÃÒèÍ×¾§ª¨ªÑ ¹¹Ñ ѹ··Ãà ¾»çÞÃÐÊʾ¹Ô ÇʧÍȹ โดย ทันตแพทยห์ ญิง หยาดฤทัย โกส้ กลุ

สารบัญ ๔ ๖ แม่ตงั้ ครรภ์ เร่ืองฟนั ตอ้ งดูแล ๗ แมจ่ ๋าหนไู ม่อยากกนิ ขา้ ว เพราะหนูปวดฟนั ๘ - ฟนั ผุเกิดจากอะไร ๙ - ความเสีย่ งในการเกิดฟันผุ ๑๐ - รอยผรุ ะยะเร่ิมตน้ ท่ี ไมค่ วรมองขา้ ม ๑๑ ขนมดี ฟันดี สขุ ภาพดี ๑๑ แปรงฟนั ลูกไมย่ ากหากเริ่มต้ังแต่ฟนั ยงั ไมข่ ้นึ ๑๒ - การท�ำความสะอาดช่องปากทารก ๑๖ - การแปรงฟันใหเ้ ด็ก ๑๗ ๑๘ - ตรวจความสะอาดฟันของลกู นอ้ ย ๑๙ ลกู ติดขวดนม สาเหตุหนง่ึ ของฟนั ผุ ๒๒ - ผลรา้ ยจากการติดขวดหลงั ๑ ปี ๒๔ - การเตรียมตวั เลกิ ขวดนม ฟนั นำ้� นมจะขึ้นและหลดุ ตอนไหน เหตุไมค่ าดฝัน เมอื่ ฟนั หลดุ ฟนั หัก

“ฟนั ” และ “พัฒนาการ” เกยี่ วข้องกนั อยา่ งไร จากการศกึ ษาพบวา่ “เด็กที่มฟี ันผุ จะมีพัฒนาการและการเจริญเตบิ โตชา้ กว่าเดก็ ที่มีสุขภาพฟนั ดี” ฟนั นำ้� นมของเดก็ ๆ ตอ้ งถูกใชง้ านไปจนถึงอายุ ๖-๑๓ ปี ดงั นั้นการดูแลฟนั น�้ำนมจงึ จำ� เป็นสำ� หรับเดก็ ๆ ไมแ่ พฟ้ นั แทเ้ ลยทีเดียว เพราะ ระหว่างที่ฟนั แท้ยงั ไม่ข้ึน เด็ก ๆ ต้องใช้ฟนั นำ�้ นมเคีย้ วอาหาร หากปล่อยใหเ้ ดก็ ๆ ฟนั น�้ำนมผเุ ป็นรูใหญ่ เดก็ ๆ จะได้รับความเจบ็ ปวดจากอาการฟันผุ ตดิ เชื้อ และเปน็ หนอง จนไมส่ ามารถเคยี้ วอาหารได้ตามปกติ ท�ำให้ได้รับสารอาหารไม่ เพียงพอ เม่อื เดก็ ๆ ปวดฟนั กจ็ ะนอนไมห่ ลบั หรือหลับ ๆ ต่ืน ๆ จนกระทบ การหล่ังสารกระตุน้ การเจริญเตบิ โตในสมอง (Growth Hormone) และการกนิ ไมไ่ ด้ นอนไมพ่ อ สามารถส่งผลกระทบตอ่ พัฒนาการของเด็กโดยตรง คมู่ ือ ดแู ลสุขภาพฟันและช่องปากเจา้ ตัวเลก็ “ฟ ฟนั สนกุ จงั ” เล่มนี้ เป็น แนวทางอย่างงา่ ยในการดูแลฟันตงั้ แต่แมต่ ง้ั ครรภ์ จนกระทั่งเดก็ มฟี ันแท้

แมต่ งั้ ครรภ์ เร่ืองฟันต้องดูแล การเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขน้ึ อย่างมากมายในช่วงตัง้ ครรภ์ ท�ำให้คุณแมม่ ี ความเสย่ี งต่อการเกิดโรคปริทันต์และฟันผุมากข้นึ ฮอร์โมนท่ีเปลย่ี นแปลง ส่งผล ใหเ้ หงอื กและเน้อื เยอ่ื ท่ีรองรับฟันออ่ นแอ คณุ แม่จึงมีเหงือกอกั เสบไดง้ ่ายขึน้ ใน บางราย โรคเหงือกอักเสบจะลกุ ลามจนเกดิ เป็นโรคปริทันต์อักเสบ ทำ� ให้ฟันโยก และมโี อกาสสญู เสยี ฟนั ได้ นอกจากนี้โรคปริทนั ตอ์ าจเปน็ ปัจจยั เส่ียงของการคลอด กอ่ นก�ำหนด และเด็กมีนำ้� หนักแรกคลอดต่ำ� ฟันผจุ ะพบไดม้ ากขน้ึ จากการละเลย การท�ำความสะอาดฟัน การกนิ อาหารจุบจิบมากขึ้น อีกทั้งการอาเจยี นบอ่ ยในชว่ ง แรก และกรดไหลยอ้ นช่วงทา้ ยของการตัง้ ครรภ์ ท�ำให้ฟันกรอ่ นและเสยี วฟนั ได้ ที่ ส�ำคัญ คือคณุ แมท่ ี่มีฟนั ผุเป็นรู จะมโี อกาสถ่ายทอดเช้ือก่อโรคฟันผไุ ปสชู่ ่องปากลกู ผา่ นทางน�ำ้ ลายจากการเปา่ อาหารใหเ้ ยน็ การใชช้ อ้ นรว่ มกัน เป็นต้น ท�ำให้ลกู มี ความเสย่ี งในการเกิดฟนั ผุสงู ข้นึ ๔

สง่ิ ทคี่ ุณแม่ควรท�ำระหว่างตั้งครรภ์ เพื่อลูกรักและคุณแมฟ่ ันดี • ตรวจสขุ ภาพฟนั ต้ังแตเ่ มื่อทราบว่าตั้งครรภ์ การรักษาปกตมิ ักจะท�ำในชว่ ง ตัง้ ครรภเ์ ดือนที่ ๔-๖ แตถ่ ้าคณุ แม่ปวดฟัน เหงือกบวมเปน็ หนอง ควรรีบไปพบ หมอฟนั เพ่อื รับการรักษาเร่งดว่ น เพราะการตดิ เชื้อขณะตั้งครรภจ์ ะลกุ ลามได้ รวดเร็ว มีผลต่อความปลอดภยั ของแมแ่ ละทารกในครรภ์ • รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนค์ รบ ๕ หมู่ อย่างเพยี งพอ เพอ่ื ให้ฟันของลูก สรา้ งได้อย่างสมบูรณ์ แข็งแรง และคณุ แม่ควรเลย่ี งการกินอาหารท่ีมแี ป้งและ น�ำ้ ตาลบ่อย ๆ เพราะจะท�ำใหฟ้ ันผุงา่ ย • แปรงฟันวันละ ๒ ครง้ั เช้าและกอ่ นนอน ดว้ ยยาสฟี นั ผสมฟลอู อไรด์ โดยบบี ความยาวเต็มหน้าตัดแปรงและใช้ไหมขัดฟันทุกวัน • หลงั อาเจียน ไม่ควรแปรงฟันทันที ให้เว้นระยะเวลาประมาณ ๑ ชว่ั โมง เพ่ือ ลดการกัดกร่อนของฟนั แนะน�ำให้ใช้นำ�้ ๑ แก้ว ผสมผงฟู (เบคก้ิงโซดา) ๑ ชอ้ นชา อมบว้ น เพอ่ื ชว่ ยลดความเป็นกรดในปาก หรือใชน้ �้ำยาบว้ นปากผสมฟลอู อไรด์ ๕

แม่จา๋ หนไู ม่อยากกินขา้ ว เพราะหนปู วดฟัน คงไม่มพี อ่ แมค่ นไหนอยากเห็นลูกปวดฟัน ไม่ยอมกินอะไรเลย รอ้ งไห้ท้ังคนื ไม่ไดน้ อนเพราะปวดฟนั ความสนใจในการเรียนรู้ลดลง และเปน็ สาเหตทุ ี่ท�ำให้ เดก็ ต้องขาดเรียน โรคฟนั ผุจึงมีผลกระทบต่อสุขภาพกายและคณุ ภาพชีวิตของเดก็ มาก เด็กท่ีมีฟันผุจะเคี้ยวอาหารไมล่ ะเอยี ด ไม่อยากกินอาหาร หรือกนิ อาหารได้ นอ้ ยลง ไดร้ ับสารอาหารไม่ครบ ๕ หมู่ และหากฟนั มีการติดเช้ือเป็นเวลานาน จะมีผลตอ่ น้ำ� หนักและสว่ นสูง เนื่องจากได้รับสารอาหารท่ี ไม่เพียงพอตอ่ การ เจริญเตบิ โต นอกจากนห้ี ากตอ้ งเสยี ฟันน�้ำนมไปตัง้ แต่อายนุ ้อย ๆ จะส่งผลต่อ พัฒนาการพดู และความเช่ือม่ันในตนเองอีกดว้ ย การท�ำความสะอาดฟันน�้ำนมเป็นประจ�ำด้วยความช่วยเหลือจากผู้ปกครอง พาไปพบทันตแพทย์ต้ังแตฟ่ นั ซแ่ี รกข้ึน หรือไม่เกนิ อายุ ๑ ปี และไปพบตอ่ เนอ่ื ง เปน็ ประจำ� ทุก ๖ เดอื น จึงเปน็ ส่ิงส�ำคัญท่ีจะทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ มีฟันสวยตง้ั แต่ฟัน น�้ำนมไปจนถงึ ฟันแท้ ๖

ฟันผุเกิดจากอะไร ฟนั ผุเกิดจากหลายสาเหตุ หลกั ๆ คอื แปรงฟันไมส่ ะอาด และกิน ขนมหวาน นำ�้ หวาน ถ่ี ๆ บอ่ ย ๆ เมื่อเช้ือโรคสะสม เกาะกนั เปน็ คราบข้ีฟันสีขาวเหลืองและเหนยี ว หรือท่ี เรียกว่าแผ่นคราบจุลนิ ทรีย์ ซึ่งเหนยี วเกาะแนน่ กับฟันมาก บว้ นน�ำ้ ก็ไมอ่ อก ต้องกำ� จัดดว้ ยการแปรงฟันและใช้ไหมขดั ฟนั เท่าน้ัน เมื่อเชื้อโรคได้รับนำ้� ตาลท่ี เดก็ ๆ กิน รวมถึงคราบนมท่ีคา้ งในปากยามที่เด็ก ๆ หลบั จะผลติ กรดออกมา ท�ำให้ฟนั ผุ เช้ือโรคเหลา่ นส้ี ว่ นหนึง่ พบว่า เป็นเช้ือโรคที่ ไดร้ ับมาจากพ่อแมแ่ ละผู้เล้ยี งดู ผา่ นทางนำ้� ลาย เชน่ จากการเป่าอาหารของลูก การใชช้ อ้ นรว่ มกัน เป็นต้น ถ้า พ่อแมห่ รือผเู้ ล้ียงดูมีฟันผุในชอ่ งปาก เดก็ กจ็ ะไดร้ ับเช้ือโรคท่ีพร้อมเพิ่มจ�ำนวน ในปากเด็ก ๆ และทำ� ใหเ้ กดิ ฟันผุไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ดังนั้น หากพอ่ แม่และผดู้ ูแล มีฟนั ผุกค็ วรไปพบทันตแพทย์เพ่อื ตรวจและรักษา เพื่อจะไดล้ ดการส่งต่อเชื้อโรค ฟนั ผุให้ลกู ๗

ความเสย่ี งในการเกดิ ฟันผุ ถ้าพบปัจจยั เหลา่ น้ี ระวังให้ดี ลกู รกั จะฟันผุได้ ๑. แม่ หรือ ผดู้ ูแลหลกั มฟี ันผุ ๒. ลกู กินขนมหรือเครื่องดมื่ ท่ีมนี ้�ำตาลนอกมอื้ อาหารหลกั ตง้ั แต่ ๓ คร้ังขึน้ ไป ๓. ลกู หลบั คาขวดนม ไม่วา่ จะเปน็ นมจดื นมผง นมหวาน หรือนมแม่ ๔. ลูกแปรงฟันเอง (เพราะเด็กนอ้ ยแปรงฟันเองได้ไม่สะอาด ผู้ปกครองตอ้ ง แปรงฟันให)้ ๕. ไมใ่ ชย้ าสฟี นั ผสมฟลูออไรด์ ๖. พบรอยผุระยะเร่ิมตน้ ๗. ไม่ไดพ้ บทันตแพทยอ์ ยา่ งสม�ำ่ เสมอทกุ ๖ เดอื น ๘. คราบข้ีฟนั (คราบจุลินทรีย)์ สขี าวหรือเหลืองท่ีฟันเห็นไดช้ ดั เจน ถ้าพบปัจจัยใดปจั จัยหน่งึ ถือวา่ ลกู มคี วามเส่ียง ในการเกิดฟันผสุ ูง ควรรีบปรับเปลีย่ นพฤติกรรม และไปพบทันตแพทยก์ อ่ นจะสายไปนะคะ รอยผุระยะเริ่มตน้ มลี กั ษณะเป็นรอยด่างสขี าวที่คอฟัน ๘

รอยผรุ ะยะเริ่มตน้ ที่ไม่ควรมองข้าม เม่อื ปลอ่ ยใหม้ คี ราบข้ีฟันเกาะคอฟันเปน็ เวลานาน จะท�ำใหผ้ ิวฟันถกู ทำ� ลาย และกลายเปน็ สีขาว เมอื่ พบรอยโรคนี้ หากแปรงฟันให้สะอาดด้วยยาสฟี ันผสม ฟลูออไรด์ความเข้มข้น 1,000 ppm เป็นประจำ� และรีบไปพบทันตแพทย์ กจ็ ะ สามารถหยุดการลกุ ลามของโรคได้ หากปล่อยทิ้งไว้ไมย่ อมแปรงฟนั และกนิ ขนมหวาน ติดนมขวดอีก โรคฟันผุกจ็ ะลุกลามจนท�ำใหฟ้ ันเปน็ รู เด็กจะเริ่มเสียวฟนั และปวดได้ การลุกลามของฟนั ผุ ๓ ระยะ เจอแบบน!้ี !! รีบไปหาหมอฟนั กนั เถอะคะ่ รอยขาวขนุ่ ที่คอฟัน ทาฟลูออไรดว์ านชิ เร่ิมผแุ ล้ว ผุเป็นรู เดก็ เสยี วฟนั อุดฟัน หรือทาสารหยดุ ยงั้ ฟันผุ กินอาหารได้น้อยลง ผทุ ะลปุ ระสาทฟนั ถอนฟนั รักษารากฟนั รว่ มกับครอบฟนั ติดเช้ือ เป็นหนอง เดก็ ปวดฟนั ๙

ขนมดี • ถา้ เด็กอดใจไม่ไหวจริง ๆ กต็ อ้ งเลอื ก ฟนั ดี กินขนม นำ�้ หวานอย่างเหมาะสม เพ่อื ลด ความเสีย่ งในการเกิดฟนั ผุใหม้ ากท่ีสดุ สขุ ภาพดี - กนิ ในมอ้ื อาหาร ไมก่ ินจุบจิบ เด็กเล็กมีกระเพาะอาหารเล็ก ขณะที่ ระหว่างมือ้ เพราะ ๑ ครั้ง ท่ี รา่ งกายก�ำลังเจริญเติบโต หวิ บ่อย ควรมี กนิ แปง้ หรือน�้ำตาล จะเกิด อาหารว่างเตรียมไว้ให้ ถ้าเป็นขนมหวาน กรดยาวนานถงึ ๒๐-๔๐ นาที น�้ำหวาน เดก็ ๆ คงฟันผุแน่ แตก่ ม็ ีขนม ถ้ากนิ เขา้ ปากหลาย ๆ ครั้ง อาหารว่างหลายอย่างที่มีประโยชน์ต่อฟัน ก็เหมอื นฟันแช่อยู่ในกรด ไมท่ �ำให้เกิดฟันผุ เช่น ตลอดเวลา • นม โยเกิร์ตรสจืด มีแคลเซยี ม และ ฟอสฟอรัส : ชว่ ยในการสรา้ งกระดกู - เลีย่ งขนมท่ีต้องอยู่ในปากนาน ๆ และฟนั แต่ตอ้ งกนิ แบบไมห่ วาน ไม่กิน เช่น ลกู อม ขนมที่เหนยี วติดฟัน จากขวด และไมเ่ กิน ๒-๓ กล่องต่อวัน ขนมกรุบกรอบ คกุ ก้ี • โปรตีน : สำ� คญั ต่อการสรา้ งกระดกู ฟนั เช่นกนั เชน่ เนื้อสตั ว์ เน้ือถ่วั ตา่ ง ๆ ถงึ กินเสร็จแลว้ รีบแปรงฟนั • ผักและผลไม้ : อาหารท่ีมเี สน้ ใยจะ ก็อาจจะไมท่ ัน เพราะฟนั แช่ ช่วยกระตนุ้ การหลั่งนำ้� ลาย ช่วยลดกรด อยู่ในกรดตอนกนิ อาหาร ท่ีเกิดข้ึนจากเชื้อโรคได้ เช่น ผกั ต้ม กลว้ ย เกิดการกัดกรอ่ นฟันไปแล้ว ฝร่ัง มันแกว แตงกวา ๑๐

แปรงฟนั ลูกไม่ยาก หากเริ่มตงั้ แต่ฟนั ยงั ไมข่ น้ึ การทำ� ความสะอาดชอ่ งปากใหล้ ูกตั้งแตฟ่ ันยังไม่ขึน้ เป็นการสร้างความคุน้ ชนิ กบั การมีส่ิงไมค่ ุน้ เคยเข้าไปในปาก และเพือ่ กำ� จัดคราบนมท่ีหมักหมม ซงึ่ เป็น สา เหตุของการเกิดเช้ื อราในช ่องปากท่ี มักพ บ เป็น คราบขาวเกาะติดท่ี ลิ้นหรื อ บริเวณอ่ืน ๆ ถ้ามีคราบเช้ือราสะสมหนา จะท�ำให้เดก็ เจบ็ ลนิ้ มากจนไมอ่ ยากดูดนม การท�ำความสะอาดชอ่ งปากทารก ๑. ลา้ งมอื คณุ พ่อคณุ แม่ให้สะอาดด้วยสบู่ ๒. ใชผ้ า้ ออ้ มสะอาดหรือผา้ กอ๊ ซพันท่ีนวิ้ ชี้ของคุณแม่ จุม่ นำ�้ ตม้ สกุ ท่ีเย็นแลว้ หรือ นำ�้ สะอาดสำ� หรับเดก็ ดืม่ ให้พอชื้น ๓. แทรกนวิ้ มอื เข้าไปในปากเดก็ เช็ดเหงอื ก กระพุง้ แก้ม และลิ้น ใหท้ ั่วท้ังปาก ทำ� วนั ละ ๒ คร้ัง เชา้ และก่อนนอน เปิดวิดโี อสอน เชด็ เหงือกทางนคี้ ่ะ ๑๑

แปรงเสรจ็ ใชผ้ า้ เชด็ ออก ไม่ตอ้ งบ้วนนำ้� นะครับ การแปรงฟนั ใหเ้ ดก็ เมื่อฟันขึ้นแล้วให้คุณพ่อคุณแม่แปรงฟัน ให้ลูกด้วยแปรงสีฟันและยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ บีบในปริมาณที่เหมาะสมกับอายุ ปริมาณยาสีฟันทีเ่ หมาะสมสำ� หรับลูกน้อย แปรงฟันใหล้ กู ตัง้ แตซ่ ่ีแรก ดว้ ยยาสฟี นั ผสมฟลูออไรด์ (1,000 ppm) ฟันซ่แี รกถึงน้อยกว่า ๓ ปี ๓ ปี ถึงน้อยกว่า ๖ ปี ๖ ปี ข้ึนไป แตะขนแปรงพอเปยี ก เท่าความกวา้ งของแปรง เท่าความยาวของแปรง รายช่ือยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 1,000 ppm ๑๒

แปรงให้ง่ายแปรงให้ดี เร่ิมแปรงทีซ่ ี่แรก • เร่ิมให้ดีดว้ ยการอา่ นนทิ านภาพเกีย่ วกบั การดูแลสุขภาพฟนั ตัง้ แตล่ กู เล็ก ๆ • เร่ิมแปรงฟนั ตง้ั แตซ่ แ่ี รก ซงึ่ จะใช้เวลาไม่นาน นบั ๑-๑๐ ฟันก็สะอาดแล้ว เมอื่ ฟนั เยอะ ขึน้ ก็ยังนับ ๑-๑๐ เหมือนเดิม แต่ให้นาน ๆ ขน้ึ หน่อย ลูกจะเริ่มชนิ ว่าพอนับถงึ ๑๐ ก็แปรง เสรจ็ แลว้ • สรา้ งบรรยากาศสนกุ สนานขณะแปรงฟัน เช่น รอ้ งเพลง หยอกลอ้ เลน่ กบั ลูก ใหเ้ ลน่ ของเลน่ ที่ลูกชอบไปด้วย • ส�ำคญั คอื ขณะแปรงฟนั คุณพอ่ คุณแม่ต้องใจเย็น (มาก ๆ) พูดคุยอธิบายด้วยเสียงนมุ่ นวล ไม่หงดุ หงดิ ไปกบั เสียงรอ้ งของลกู เพราะการรอ้ งไห้ระหวา่ งแปรงฟนั ของเดก็ ๆ เปน็ เรื่อง ธรรมชาติ (มาก ๆ) ไม่ใช่เพราะกลวั หรือเจบ็ แต่เพราะถกู ขดั ใจและอยากต่อต้านบา้ งตามวัย อยา่ เพ่ิงท้อแท้ไปก่อนนะคะ • อยา่ ใหก้ ารแปรงฟันเป็นเหมอื นการท�ำโทษลูก ไม่ใชค้ วามรุนแรง เชน่ ลากเด็กไปแปรงฟัน ทั้ง ๆ ท่ีเด็กยังเลน่ อยา่ งอื่นอยู่ • สร้างวินัยท่ีดี ในการแปรงฟนั โดยแปรงฟันใหล้ ูกเวลาเดมิ ทุกวนั ถ้าทำ� บา้ งไมท่ ำ� บ้างเดก็ จะคิดว่าไม่ใช่สงิ่ จ�ำเปน็ ไมต่ อ้ งแปรงก็ได้ เชน่ แปรงฟันหลงั อาบนำ�้ หรือแปรงฟันก่อนอ่าน นทิ านก่อนนอน มีเพลงน่ารัก ๆ มาฝาก ลองเปดิ ระหว่างแปรงฟัน ไปกบั ลูกกนั นะ ๑๓

การแปรงฟนั ใหเ้ ดก็ วางขนแปรงบริเวณคอฟันให้ต้ังฉาก กบั ตัวฟัน ถแู ปรงสั้น ๆ ในแนวนอนประมาณ ๑๐ คร้ัง ตอ่ ฟนั ๓ ซ่ี ตอ้ งใชน้ ว้ิ แหวกกระพุง้ แกม้ และริมฝปี าก จะได้เหน็ ฟันชัด และแปรงโดนบริเวณคอฟนั การแปรงฟันในเด็ก การแปรงฟนั ในเดก็ อายุ ๖-๑๘ เดอื น อายุ ๑๘ เดอื น ขึ้นไป ๑๔

ทา่ ท่เี หมาะในการแปรงฟนั ให้เดก็ เล็ก ท่าท่ีเหมาะในการแปรงฟันให้เด็กเล็ก คอื ให้ลูกนอนและแม่น่ังแปรงให้ เป็นท่าที่ ท�ำให้ศีรษะของเด็กอยู่นง่ิ กว่าท่าท่ีเด็กน่ังหรือ ยืน ชว่ ยลดอันตรายจากแปรงไปกระแทกกบั กระพุ้งแก้มหากเด็กสะบัดหนา้ หนี ที่ส�ำคญั คือ ทา่ นอนทำ� ให้คุณแม่เห็นฟนั ลกู ไดช้ ดั เจน ทั่วทกุ ซี่ ทั้งฟันบนและฟนั ล่าง และไมพ่ ลาดไปกระแทก เหงือก กระพุ้งแกม้ จนท�ำให้ไม่ยอมใหแ้ ปรงฟัน อกี ให้ลกู นอนตอนแปรงฟนั ผปู้ กครองใช้ นวิ้ แหวกกระพุง้ แกม้ และแปรงให้โดน คอฟันนะคะ ๑๕

ตรวจความสะอาดฟนั ของลูกนอ้ ย สังเกตปริมาณคราบ ทตี่ ิดมากับหลอด ดว้ ยอปุ กรณ์เสริม “หลอดดูดน้�ำ” น้อย = สะอาด ตดั หลอดเฉยี ง ๆ ตัดหลอดใหม้ น ขูดเบา ๆ บริเวณคอ มาก = ไม่สะอาด ฟันตามแนวขอบเหงือก ถ้าเด็กให้ความร่วมมือในการแปรงฟัน ควรแปรงฟนั เป็นขน้ั ตอนตามล�ำดบั โดยแปรงฟันด้านตดิ กระพุง้ แก้ม ตามดว้ ยแปรงฟนั ดา้ นตดิ ลิ้นและด้านบดเคยี้ ว เพอ่ื ใหส้ ะอาดท่ัวถงึ ไมล่ ืมบริเวณใดบริเวณหนึ่ง แต่หากเดก็ ไมย่ อมใหค้ วามรว่ มมือ ในการแปรงฟัน อาจจะต้องช่วงชิงเวลาทองตอนท่ีเดก็ ร้องและอา้ ปากแปรงฟนั ดา้ นบดเค้ยี วและดา้ นติดลิ้นก่อน ช่วงที่เด็กกดั ฟนั แน่น ไม่ยอมอา้ ปาก เป็นเวลา ท่ีดี ในการเเปรงฟนั ดา้ นติดแกม้ อยา่ ลมื แปรงล้นิ เมื่อแปรงเสรจ็ ใหเ้ ช็ดฟองออก ด้วยผ้าสะอาดชุบน้ำ� หมาด ๆ โดยไมต่ ้องบ้วนนำ�้ จะได้มฟี ลูออไรด์ค้างอยูเ่ พอ่ื ปอ้ งกัน ฟันผุ ๑๖

ลูกติดขวดนม สาเหตุหนงึ่ ของฟนั ผุ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยแนะน�ำให้เลิกขวดนมเม่ืออายุ ๑๒-๑๘ เดอื น เหตผุ ลท่ีควรเลิกนมขวดในชว่ งนี้ เน่อื งจาก • เด็กมพี ัฒนาการของกล้ามเน้อื สามารถจับแกว้ ดม่ื ได้เอง และดดู จากหลอด ได้ ดีแลว้ • เดก็ ๑ ปี เช่ือฟงั วา่ นอนสอนงา่ ยกว่าเด็กช่วง ๒ ปี ซึ่งมคี วามเปน็ ตัวของตัวเอง และยึดตัวเองเป็นหลัก มกั จะไมย่ อมเลิกนมขวดงา่ ย ๆ • เด็กท่ีตดิ นมขวด มกั จะพบวา่ กินนมมากเกินความจำ� เป็น เมื่ออม่ิ นมแล้วก็ไม่ ยอมทานอาหารอ่ืน ๆ ทำ� ให้ได้สารอาหารไม่ครบ ๕ หมู่ ๑๗

ผลร้ายจากการติดขวดหลงั ๑ ปี • ฟันผุ : การมนี มค้างในช่องปาก โดยเฉพาะชว่ งกลางคนื ที่เดก็ หลับ ทำ� ใหเ้ กดิ กรดยาวนาน กัดกรอ่ นฟนั จนท�ำให้ผุ และจะยง่ิ แย่ไปอีก ถ้าในขวดนมนั้นเป็น นมหวาน น้�ำผลไม้ หรือน�ำ้ หวาน • กินแต่นม ไมย่ อมกินขา้ ว : เด็กอายุ ๑ ปี ควรไดอ้ าหารหลัก ๓ มือ้ และ นม วนั ละ ๒-๓ กล่อง ผลไม้ ๑-๓ คร้ัง ถ้าเด็กกินนมจากขวดมาก ๆ จะอิ่มนม จนไม่ ยอมกนิ ขา้ ว และมกั คุ้นกับของเหลว ๆ ทำ� ให้ไมช่ อบอาหารที่เค้ียว สง่ ผลให้เด็กกินยาก เลอื กอาหาร อมข้าว • เดก็ ทีต่ ิดขวดนมมกั จะได้รบั ธาตุเหลก็ ต�่ำ เน่อื งจากในนมมแี คลเซยี มมาก หาก ได้รับเกินพอดจี ะยบั ยงั้ การดดู ซึมธาตเุ หล็ก และเม่อื กินนมมากเกนิ ไปกจ็ ะไมร่ ับประทาน อาหารชนดิ อื่น หากในชว่ ง ๑-๓ ปี เดก็ ได้รับธาตเุ หล็กไมเ่ พียงพอ จะส่งผลใหส้ มอง พัฒนาการช้า ไมก่ ระฉับกระเฉง เฉอ่ื ยชา ไม่พร้อมส�ำหรับการเรียนรู้ • ลดโอกาสในการพฒั นาการพดู การบดเคีย้ ว และการใชม้ อื ในการเรียนร้สู ง่ิ ตา่ ง ๆ ๑๘

การเตรียมตวั เลกิ ขวดนม • สว่ นมากเด็กจะพร้อมเลกิ ขวดนม • เด็กอายุ ๔-๖ เดือน สามารถนอน เม่ือน่ังไดม้ ่ันคง กนิ ข้าวได้เองจากช้อน กลางคืนได้นาน ๕-๖ ชว่ั โมง ดงั น้นั จงึ เริ่มสนใจอาหารที่แข็งข้นึ และรับ ควรค่อย ๆ ลดนมมือ้ ดกึ ลง ฝกึ ใหเ้ ดก็ ประทานอาหารตามม้อื เป็นเวลา เมื่อ แยกเวลากินกบั เวลานอนให้ได้ เดก็ ที่ คุณพ่อคุณแม่ตัดสินใจแล้วว่าถึงเวลา ตื่นมาร้องตอนกลางคืนอาจไม่ใช่เพราะ เลกิ นมขวด ตอ้ งอธบิ ายผู้ใหญ่รอบตัว หวิ อยา่ งเดียว เด็กอาจจะต่ืนเพราะผวา เดก็ ทุกคนใหเ้ ข้าใจ และจ�ำไว้วา่ ความ ฝนั ร้าย หรืออาจจะปัสสาวะ การที่เดก็ สม�่ำเสมอเป็นสิง่ ที่สำ� คญั ท่ีสุด น อ น ห ลั บ ไ ด ้ ส นิท จ ะ ท� ำ ให ้ ผลิ ต • เมื่ออายุ ๓-๖ เดอื นให้เดก็ ทำ� ความ ฮอร์ โมนท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญ คนุ้ เคยกบั แก้วนำ�้ ก่อน โดยยงั ไมต่ ้อง เตบิ โตไดด้ ี ใสน่ ำ�้ • เลือกเวลาที่เร่ิมงดขวดนมในชว่ งที่ • เม่ือเดก็ นง่ั ได้ม่ันคง เร่ิมใหเ้ ดก็ หัด เด็กไม่มีความเครียด คงไมด่ ีแนถ่ า้ ด่ืมจากถ้วย ใช้แก้วหดั ด่มื ๒ หู ถงึ หก พยายามเลกิ ในช่วงที่เดก็ มีน้องเลก็ ๆ เลอะเทอะในช่วงแรกก็ไมเ่ ปน็ ไร ถือเปน็ เพ่งิ เกิด หรือชว่ งย้ายไปบา้ นใหม่ โอกาสอนั ดีที่เด็กจะได้เรียนรู้สิง่ ใหม่ ๆ ดว้ ยตนเอง ซง่ึ สง่ ผลตอ่ พัฒนาการที่ดี ๑๙ กระตุ้นให้มีความยืดหยุ่นทางความคิด ฝึกกลา้ มเนื้อ และเพิม่ ความเชื่อม่ันใน ตนเอง

หลากหลายวธิ เี ลกิ นมขวด ๑. วธิ แี บบค่อยเป็นค่อยไป : เหมาะกบั เดก็ ท่ีตดิ ขวดแลว้ ๑.๑ เมอื่ อายุ ๘-๑๐ เดือน ใหเ้ ด็กใชแ้ ก้ว ๑.๕ หากเดก็ ยังงอแง อาจใชว้ ิธีขยาย แทนขวดนมในม้ืออาหารม้ือใดม้ือหนึ่ง จุกนมใหร้ กู ว้างข้นึ เพือ่ ให้เดก็ ระมดั ระวัง ควรเปน็ มื้อท่ีเด็กกินไมม่ าก ไมใ่ ชม่ อื้ หลกั การดดู มากข้นึ ไม่สามารถนอนดดู สบาย ๆ ของวัน ทำ� อยา่ งสม่ำ� เสมอเป็นเวลาเดิม เหมือนกอ่ น แตต่ อ้ งไม่กว้างจนเด็กสำ� ลัก ในทกุ วัน ประมาณ ๑ สปั ดาห์ ๑.๖ ระหวา่ งการหยา่ ขวดนม อาจดึงดูด ๑.๒ ทกุ ๆ สปั ดาห์ให้เด็กใชแ้ กว้ ในม้ือ ความสนใจเด็กโดยให้เลอื กแก้ว หรือ อ่ืน ๆ มากข้ึน และคอ่ ย ๆ ลดจ�ำนวน ตกแต่งแก้วเอง อาจใชห้ ลอดดดู รปู ร่าง คร้ังที่ใชข้ วดนม น่ารักนา่ สนใจ เปิดเพลงเบา ๆ กอ่ นนอน ๑.๓ ช่วยเดก็ ใหด้ ืม่ ไดท้ ีละนดิ เริ่มจากน�้ำ กอดหมอนตกุ๊ ตาท่ีเด็กรัก และใชเ้ วลา ปริมาณนอ้ ย ๆ และในมื้อที่เดก็ กินจาก โอบกอดกนั ให้มากขึน้ ใหเ้ ดก็ รสู้ ึกสบาย แกว้ ได้แล้ว ห้ามกลบั ไปใชน้ มจากขวดอีก มากข้นึ นะคะ จ�ำไว้ว่าจะเลิกสำ� เรจ็ ได้ตอ้ งมีความ ม่ันคง และสมำ�่ เสมอ ๑.๔ ในมอื้ ดึกมักจะเลิกได้ยากกว่า ให้ ค่อย ๆ ลดปริมาณนมในม้อื ดกึ จาก ๘ ออนซ์ ใหล้ ดปริมาณนมลงทุก ๆ ๕-๗ วัน จนงดได้ในท่ีสดุ ๒๐

๒. วธิ เี ลกิ แบบทนั ทีทนั ใด-หกั ดิบ : เหมาะกับเด็กที่ ยอมเลกิ ขวดนมบ้างแลว้ และไม่ค่อยสนใจขวดนม เช่น ดูดขวดเพยี งวนั ละ ๑-๒ ม้อื หรือใชว้ ิธีคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปไมไ่ ดผ้ ล จะใช้วธิ ีหกั ดิบ ๒.๑ บอกใหเ้ ดก็ รู้ลว่ งหน้า ๑ สัปดาห์ ๒.๖ ใหเ้ ดก็ มีตัวแทนขวดนม อาจเปน็ โดยบอกวา่ หนูโตแลว้ เลกิ ดดู ขวดนม ตุ๊กตาหรือของเล่นที่ชอบเอาไว้กอดเมื่อ ได้แลว้ คดิ ถึงขวดนม ๒.๒ บอกเด็กทุกวนั อีกไม่นานหนูจะไม่ ต้องใช้ขวดนมอกี แล้ว ถา้ ทำ� ทุกวิธแี ล้วลูกยังเลิกไมไ่ ด้ กอ็ าจใช้ ๒.๓ เกบ็ ขวดนมใหพ้ น้ มือเด็ก หรือให้ วิธเี ลกิ แบบ “ทันทที นั ใด” (หกั ดิบ) เด็กช่วยเก็บขวดนมใส่ถุงไปท้ิงหรือบริจาค เก็บอุปกรณ์เก่ียวกับการกินนมขวดออก เพ่อื ให้เดก็ ตดั ใจจากขวดนมจริง ๆ จากบ้าน แมเ้ ดก็ จะงอแงสกั พักแตจ่ ะ ๒.๔ เตรียมน�้ำเปล่าหรือนมจดื ใสแ่ ก้ว ปรับตัวได้เอง อย่าลืมเคล็ดลับ ช่ืนชมลูก พรอ้ มส�ำหรับเด็กดม่ื เมอ่ื เด็กรอ้ งหา ดว้ ยถา้ ลกู ทำ� ได้ ระหว่างการฝึก ควรอดทน ขวดนม และกอดเด็กเพิม่ เปน็ พเิ ศษ เนอ่ื งจากเดก็ ๒.๕ ให้รางวลั เด็กที่ ไมด่ ดู ขวดนม เช่น อาจหงดุ หงดิ รอ้ งไหง้ อแง และตอ้ งขอ พดู ชมเชย การกอด อา่ นนทิ านเล่มโปรด ความร่วมมือจากสมาชิกในบ้านให้ปฏิบัติ ใหฟ้ งั พาออกไปท�ำกิจกรรมพเิ ศษ เป็นตน้ ในแนวทางเดียวกัน ๒๑

ฟันน�ำ้ นมจะข้ึนตอนไหน ฟนั ตดั ซข่ี ้าง ฟันตัดซ่กี ลาง ฟนั ตัดซ่ีกลาง ฟนั เขย้ี ว อายุ ๖-๑๐ เดือน ฟันกรามซที่ ่ี ๑ ฟนั บน ฟันกรามซ่ีที่ ๒ ฟันตดั ซ่ขี า้ ง อายุ ๘-๑๒ เดอื น ฟันเขย้ี ว อายุ ๑๖-๒๐ เดอื น ฟันกรามซที่ ี่ ๑ อายุ ๑๑-๑๘ เดือน ฟนั กรามซ่ที ่ี ๒ อายุ ๒๐-๓๐ เดือน ฟนั กรามซี่ที่ ๒ ฟันล่าง ฟนั ตดั ซกี่ ลาง ฟันกรามซ่ีที่ ๑ อายุ ๕-๘ เดอื น ฟันเขี้ยว ฟันตดั ซก่ี ลาง ฟันตัดซ่ีขา้ ง ฟันตดั ซ่ขี า้ ง อายุ ๗-๑๐ เดือน ๒๒ ฟนั เขย้ี ว อายุ ๑๖-๒๐ เดือน ฟนั กรามซี่ที่ ๑ อายุ ๑๑-๑๘ เดอื น ฟนั กรามซท่ี ่ี ๒ อายุ ๒๐-๓๐ เดือน

ฟนั น้�ำนมจะหลุดตอนไหน ฟันตัดซก่ี ลาง ฟนั ตดั ซกี่ ลาง ฟันตัดซข่ี า้ ง อายุ ๗-๘ ปี ฟันเขย้ี ว ฟันตัดซีข่ ้าง ฟันบน ฟนั กรามซี่ท่ี ๑ อายุ ๘-๙ ปี ฟันกรามซท่ี ี่ ๒ ฟนั เขีย้ ว อายุ ๑๑-๑๒ ปี ฟันกรามซ่ที ่ี ๑ อายุ ๙-๑๑ ปี ฟนั กรามซที่ ี่ ๒ อายุ ๙-๑๒ ปี ฟนั ตดั ซี่กลาง ฟนั ล่าง ฟนั กรามซี่ท่ี ๒ อายุ ๖-๗ ปี ฟันกรามซที่ ี่ ๑ ฟนั ตดั ซข่ี ้าง ฟันตดั ซ่กี ลาง ฟันเขีย้ ว อายุ ๗-๘ ปี ฟันตัดซ่ขี า้ ง ฟนั เขย้ี ว ๒๓ อายุ ๙-๑๑ ปี ฟนั กรามซ่ีท่ี ๑ อายุ ๑๐-๑๒ ปี ฟนั กรามซ่ที ่ี ๒ อายุ ๑๑-๑๓ ปี

เหตไุ มค่ าดฝัน เมอ่ื ฟนั หลดุ ฟนั หกั เป็นธรรมดาเม่อื เด็กหัดเดนิ ไดเ้ องมกั เจออบุ ัตเิ หตุ แต่การหลน่ หรือกระแทกกบั ของแขง็ อาจทำ� ใหฟ้ นั ซเ่ี ลก็ ๆ ของเด็ก ๆ หกั หรือหลุดออกมา หากไม่ไดร้ ับการรักษาที่ เหมาะสม อาจท�ำใหเ้ กดิ การตดิ เชื้อได้ และเมอ่ื เกดิ เหตุการณ์ไม่คาดฝัน เด็กท่ีพบหมอฟัน เป็นประจำ� จะกลัวน้อยกว่า และร่วมมอื ในการรักษามากกว่า การไปพบหมอฟนั ตง้ั แต่ฟัน ซแ่ี รกขึ้น เป็นส่ิงจ�ำเป็นต่อการสรา้ งทัศนคติท่ีดี ในการทำ� ฟันครั้งตอ่ ๆ ไป การดแู ลเบื้องตน้ ส�ำหรับฟนั หกั ฟนั หลุด • ตอ้ งตั้งสติ ส�ำรวจความรุนแรง จดจ�ำเวลา และลกั ษณะการเกิดเหตุ • ถา้ ศรี ษะกระแทก มอี าการมึนงง หมดสติ คลื่นไส้ อาเจียน ใหร้ ีบไปพบแพทย์ • หากมเี ฉพาะแผลในปาก ลา้ งแผลด้วยน้�ำสะอาด กดหา้ มเลือดหรือประคบเย็น เพ่อื ช่วยลดการไหลของเลอื ดและลดการบวม • หากฟนั น้ำ� นมหลุด โดยท่ัวไปทันตแพทย์จะไม่ยึดฟันกลับเข้าไปเพราะจะทำ� อันตรายตอ่ หน่อฟนั แท้ แต่ถา้ เป็นฟันแท้ ให้รีบหาฟันและหยิบท่ีตวั ฟนั เทา่ นน้ั ห้ามหยิบท่ีรากฟนั เพราะจะทำ� ใหผ้ ิวฟนั และเน้ือเยื่อถูกท�ำลายได้ หากสกปรกให้ลา้ ง ด้วยน�้ำเย็นอยา่ งรวดเรว็ ไม่เกิน ๑๐ วินาที แลว้ ใสก่ ลับเข้าไปในเบา้ ฟันและกดั ผ้าไว้ เบา ๆ จะดีที่สุด แตถ่ า้ ใสก่ ลบั ไม่ได้ เช่น หมดสติ ให้แช่น�้ำนม หรือ น�ำ้ เกลือสะอาด ส�ำหรับล้างแผล • รีบไปพบทันตแพทย์ให้เร็วท่ีสุดเพือ่ รับการรักษาท่ีถกู ต้อง แมว้ า่ อุบัตเิ หตจุ ะดู เลก็ น้อยกต็ าม ๒๔

รวมเพลง การเช็ด แปรงฟันเดก็ ๆ ทำ� ความสะอาด รายช่อื ยาสีฟัน ช่องปากทารก ผสมฟลูออไรด์ ฟันสวยฟา้ ผา่ 1,000 ppm วธิ ีแปรงฟันเดก็ รวมความรู้ อายุ ๖-๑๘ เดือน สขุ ภาพฟนั การแปรงฟนั ในเดก็ เพจฟันน�ำ้ นม อายุ ๑๘ เดอื น พูดคุยแลกเปล่ียน เร่ืองการดแู ลฟนั ลูก ขึน้ ไป แปรงสีฟันตดิ ดาว แปรงสฟี ันมาตรฐาน ส�ำหรบั เดก็ ๒๕

คุยสรา้ งสุข เพอื่ การอา่ นสร้างสขุ สถานการณ์การเกดิ ฟนั ผุในฟนั น�้ำนมของเด็ก ๆ ยงั คงเพ่ิมขน้ึ โดยเฉพาะในเขตชนบท เด็ก ๓ ขวบ ประมาณ ๗ ใน ๑๐ คน มฟี ันผุในช่องปาก โดยเฉลย่ี พบฟนั ผุอย่างน้อย ๔ ซี่ ในเด็ก ๑ คน บางพืน้ ท่ีพบรอ้ ยละ ๑๐๐ และรอ้ ยละ ๙๐ ยงั ไม่เคยได้รับการรักษา หากปลอ่ ยใหเ้ ด็ก ๆ อย่กู ับฟันผตุ ั้งแตป่ แี รก ๆ ขาดการดูแลอนามยั ในช่องปาก ท�ำให้ คราบจุลินทรีย์สะสมหนาตวั มาก เชอ้ื โรคกจ็ ะอยู่ในปากเด็ก ๆ ไปอกี กวา่ ๑๐ ปี จนกว่าจะมี ฟนั แทข้ ึน้ ครบทดแทนทงั้ ปาก ซงึ่ โอกาสฟันผจุ ะมมี ากขึน้ ด้วย สง่ ผลทำ� ให้เกดิ วงจรรา้ ย อาทิ ปวดฟันก็ไม่อยากแปรงฟัน ทำ� ใหไ้ ม่อยากกินผกั ผลไม้ เป็นต้น งานวิจัยท้งั ของตา่ งประเทศและ การศึกษาของประเทศไทยพบว่า ฟนั ผุมีความสัมพนั ธก์ ับความสงู ภาวะน�้ำหนักนอ้ ย แคระแกร็น (Stunt) ของเดก็ และอาจสง่ ผลต่อภาวะการเจริญเตบิ โตของสมองและรา่ งกายดว้ ย ขอขอบคุณทกุ ความรว่ มมือในการสร้างสรรคห์ นังสือชดุ ฟ ฟัน สนกุ จัง เพอ่ื จูงใจเดก็ ๆ สู่การเรียนรแู้ ละปอ้ งกนั ฟันผอุ ย่างมีความสขุ หวังว่า คมู่ อื และหนงั สือนทิ านชดุ น้ี จะเปน็ สื่อท่ที รงพลัง มปี ระสทิ ธภิ าพ และมชี ีวิตชวี า เปน็ เคร่ืองมอื ใหพ้ อ่ แม่ ผแู้ วดล้อมเด็ก บุคลากรสาธารณสุข ครศู นู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ฯลฯ จะได้ สรา้ งความร้คู วามเข้าใจและเฝา้ ระวงั ทำ� ใหเ้ ด็ก ๆ ของเรามสี ขุ ภาพช่องปาก สขุ ภาพฟนั ดีอยา่ ง ถ้วนทัว่ ตอ่ ไป สุดใจ พรหมเกิด ผู้จัดการแผนงานสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น สสส. ๒๖

ทนั ตแพทย์หญงิ หยาดฤทัย โก้สกุล ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นทันตกรรมส�ำหรับเดก็ เป็นชาวนนทบุรี แต่มักมคี นเขา้ ใจผิดวา่ เปน็ คนเหนือ จงึ มักตอบกลบั ไปว่า เป็นคนเหนือคะ่ เหนอื กรุงเทพไปนดิ หน่งึ จบการศึกษาช้นั มัธยมจาก รร.สาธติ จุฬา ฯ และเลือกเขา้ ศึกษาตอ่ ที่คณะ ทันตแพทยศาสตร์ จุฬา ฯ ขณะเรียนวิชาชุมชนในชัน้ ปี ๑ เปน็ จุดเร่ิมตน้ ของความฝนั ที่อยากเหน็ เด็กไทยไม่มีฟันผุ เมื่อเรียนจบและไปท�ำงานที่จังหวดั ชุมพร พบว่าเดก็ ๆ มฟี ันผเุ ยอะมาก จงึ เปน็ แรงผลกั ดนั ให้สอบเข้าเรียนตอ่ สาขาทันตกรรมสำ� หรับเดก็ ปจั จุบนั ทำ� งานดา้ นส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กปฐมวยั กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ และคลินกิ ทันตกรรมเดนต้าแลนด์ และ สมารท์ สมาย เดนทัล เพลซ ๒๗

เอกสารอ้างอิง ๑. กองทันตสาธารณสุข. (๒๕๕๑) คู่มือการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากแมแ่ ละเดก็ . กรุงเทพฯ: สำ� นักงานกิจการโรงพมิ พ์ องคก์ าร สงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . ๒. ทันตแพทย์หญงิ กมลชนก เดียวสุรินทร์. (๒๕๕๓) ลูกฟนั สวย สขุ ภาพฟนั ดี พ่อแม่เสกได้. กรุงเทพ: อมรินทรส์ ุขภาพ. ๓. “ลูกรักฟันดีท่ีซแี่ รก ปฏบิ ตั กิ ารนเ้ี พอ่ื ลกู ” ใน คอลัมภ์ สุขประจำ� ฉบับ. จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบบั สร้างสขุ ปที ี่ ๑๔ ฉบับที่ ๑๙๗ มนี าคม ๒๕๖๑. ๔. Logan WHG, Kronfeld R. Development of the human jaws and surrounding structures from birth to the age of fifteen years. J Am Dent Assoc 1933; 20 (4): 379-427 Copyright 1933 American Dental Association. All rights reserved. Adapted 2003 by permission. ๕. Davies GN. Early childhood caries-a synopsis. Community dentistry and oral epidemiology. 1998; 26 (1 Suppl): 106-16. คมู่ ือ ดูแลสุขภาพฟนั และช่องปากเจา้ ตวั เลก็ ประกอบหนังสอื นทิ านภาพ ชุด เร่ือง ทันตแพทยห์ ญิง หยาดฤทัย โกส้ กุล บรรณาธิการ ระพีพรรณ พัฒนาเวช สุดใจ พรหมเกดิ กองบรรณาธกิ าร หทัยรัตน์ พันตาวงษ์ นันทพร ณ พัทลงุ สิราภรณ์ ชาวหนา้ ไม้ นติ ยา หอมหวาน ปนัดดา สงั ฆทพิ ย์ ตัรมีซี อาหามะ นศิ ารัตน์ อ�ำนาจอนนั ต์ สธุ าทพิ ย์ สรวยลำ�้ จันทมิ า อินจร ออกแบบและจัดหน้า นำ้� ฝน ประสานงานการผลติ สิริวัลย์ เรืองสรุ ัตน์ พิมพค์ รั้งที่ ๑ : เมษายน ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๕,๐๐๐ เลม่ จดั พมิ พ์และเผยแพร่โดย แผนงานสรา้ งเสริมวัฒนธรรมการอา่ น ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พิมพ์ที่ : บริษทั แปลน พร้ินทต์ ้งิ จำ� กัด โทรศัพท์ : ๐ ๒๒๗๗ ๒๒๒๒ แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน บริหารงานโดย “มูลนธิ ิสร้างเสริมวฒั นธรรมการอ่าน” ไดร้ บั การสนับสนนุ จากสำ� นักงานกองทุน สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดำ� เนนิ งานด้านประสานกลไก นโยบาย และปัจจัยขยายผลจากทั้งภาครฐั ภาคประชาสงั คม และ ภาคเอกชน ให้เออื้ ตอ่ การขับเคล่ือนการสร้างเสริมพฤติกรรมและวฒั นธรรมการอา่ นใหเ้ ข้าถงึ เดก็ เยาวชน และครอบครัว โดยเฉพาะกลุม่ ที่ ขาดโอกาสในการเขา้ ถึงหนงั สือ และกลมุ่ ที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ ร่วมสนบั สนนุ การขบั เคลอ่ื นนโยบาย โครงการ และกจิ กรรมสร้างเสริมวัฒนธรรมการอา่ นเพอื่ สรา้ งสงั คมสุขภาวะไดท้ ี่ ๔๒๔ หมบู่ า้ นเงาไม้ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางพลดั กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ : ๐ ๒๔๒๔ ๔๖๑๖ โทรสาร : ๐ ๒๘๘๑ ๑๘๗๗ Email : [email protected] Website : www.happyreading.in.th http://www.facebook.com/Happyreadingnews (วฒั นธรรมการอ่าน Happyreading)