Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันจักรี 6

วันจักรี 6

Description: วันจักรี
ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Search

Read the Text Version

วันจักรี (Chakri Memorial Day) กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นออนไลน์ ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบรุ ี กศน.อาเภอเมอื งชลบรุ ี

วันจักรี (Chakri Memorial Day) ตรงกับวันท่ี 6 เมษายนของทุกปี อันเนอื่ งมาจากเม่ือวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระ พทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช หรอื พระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงเสด็จ ปราบดาภิเษกขนี้ เป็นพระมหากษัตรยิ ์แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นวัน ครบรอบการกอ่ ต้ังราชวงศ์จกั รี ในวนั นี้จงึ ถอื เป็นวนั สาคญั อีกวันหนง่ึ ที่ พวกเราชาวไทยควรให้ความระลกึ ถงึ กว่าจะมาเปน็ สยามไดใ้ นทกุ วนั น้ี

ความสาคัญของวนั จกั รี วันจกั รี (Chakri Memorial Day) คือ วันที่ระลึกถึงมหา จกั รบี รมราชวงศ์ เปน็ วนั ที่ พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดศี รสี นิ ทรมหาจักรี บรมนาถ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช เสด็จปราบดาภเิ ษกข้นึ ครองราชย์เปน็ พระมหากษัตริยพ์ ระองค์แรกแห่งราชวงศจ์ ักรี อีกทงั้ ยังเร่มิ กอ่ สร้างพระนครแห่งใหม่ในนาม กรงุ เทพมหานครบวรรตั นโกสินทร์ ทีน่ ับว่า เปน็ เมอื งหลวงแห่งใหมถ่ ดั จากกรุงธนบุรี ซ่งึ เม่อื คร้งั ท่ีกรุงธนบรุ เี ป็นราชธานี นั้น มีอาณาบริเวณรวมท้ังสองฝ่งั ของแมน่ ้าเจา้ พระยา ทาใหเ้ ป็นเมืองหลวง ทมี่ แี ม่น้าไหลผ่านกลางเมอื ง ต่อมา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ไดท้ รงเปล่ยี นนามใหม่ จาก กรงุ เทพมหานครบวรรตั นโกสินทร์ เป็น กรงุ เทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์ ซึ่งช่วงเวลาตง้ั แตก่ ่อต้ังกรุงเทพมหานคร ฯ เมือ่ ปี พ.ศ. 2325 มักเรียกกนั ว่า สมยั รัตนโกสินทร์ เชน่ เดยี วกนั กบั ที่เคย เรยี กยคุ สมัยท่ผี ่านมาในสยาม โดยพระเจ้าแผ่นดนิ ในสมัยรัตนโกสินทร์น้ีได้ สบื สันตตวิ งศ์ต่อเนือ่ งกันมาในราชวงศ์เดียวกนั จนถงึ ปัจจุบนั มี 10 รชั กาล รวมระยะเวลาแล้วกว่า 238 ปี

พระบรมรูปสมเดจ็ พระบรู พมหากษัตริยาธริ าช ปราสาทพระเทพบดิ ร ในพระบรมมหาราชวัง จากบนั ทึกตามประวัตศิ าสตร์ระบุว่า ในปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหห้ ล่อพระบรมรปู ของบูรพมหา กษัตริย์ 4 พระองค์ (รัชกาลท่ี 1 – รัชกาลที่ 4) ขึน้ ประดิษฐานเอาไว้สาหรบั ให้พระมหากษัตริย์พระองค์ต่อๆ ไป ตลอดจนพระบรมวงศานวุ งศ์ ข้าราชการ และประชาชนทว่ั ไปได้ถวายความเคารพสกั การะ เพอ่ื เปน็ การระลกึ ถึงพระ มหากรณุ าธคิ ุณเปน็ ธรรมเนียมปีละหน่ึงครงั้ และไดโ้ ปรดเกล้าฯ ให้อญั เชญิ ไป ประดิษฐานยังพระท่ีนั่งดุสติ มหาปราสาท ตอ่ มาก็ไดม้ กี ารเปลี่ยนสถานท่ี ประดิษฐานหลายต่อหลายคร้งั

จนมาถงึ ในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 6 พระองค์ได้ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ คลอื่ นย้ายพระบรมรปู ของ บรู พมหากษัตรยิ ์ 4 พระองค์มาไว้ ณ ปราสาทเทพบดิ ร ภายในวัดพระศรี รตั นศาสดาราม พร้อมกับพระบรมรูปของรชั กาลที่ 5 พระชนกนาถ ซง่ึ พระท่ีน่ังสาหรับประดิษฐานพระบรมรปู องค์น้ี รัชกาลที่ 6 ทรงโปรดให้ ซ่อมแซมจากพทุ ธปรางค์ปราสาทเพ่ือการนี้โดยเฉพาะ และได้ พระราชทานพระนามว่า ปราสาทเทพบิดร โดยได้มีการซ่อมแซมและ ประดษิ ฐานพระบรมรูปทัง้ 5 รชั กาลแล้วเสร็จในเดอื นเมษายน พ.ศ. 2461 จากนนั้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว จงึ มีพระบรม ราชโองการประกาศต้ังพระราชพธิ ถี วายบังคมพระบรมรปู ข้ึนในวันท่ี 6 เมษายนปีเดียวกัน อกี ท้ังยังโปรดใหเ้ รยี กวันที่ 6 เมษายนน้วี า่ วนั จักรี

กจิ กรรมทีน่ ยิ มปฏิบัตใิ นวนั จักรี เนือ่ งในวันจักรี 6 เมษายนของทกุ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่ จะเสดจ็ พระราชดาเนินพร้อมดว้ ยพระบรมวงศานวุ งศไ์ ปเป็นประธาน ในพธิ ีทางศาสนาประกอบการบาเพ็ญพระราชกุศลใหก้ ับบรู พมหากษัตริย์ ณ พระอุโบสถ และจะทรงสกั การะพระบรมรปู สมเด็จพระบูรพมหา กษัตริย์ ณ ปราสาทเทพบิดร วดั พระศรีรัตนศาสดาราม ต่อจากนัน้ จะ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงวางพวงมาลา ณ พระบรมราชานสุ าวรยี ์ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ทชี่ านชาลา เชงิ สะพาน พระพุทธยอดฟ้า ในขณะเดียวกนั นายกรฐั มนตรี ข้าราชการชน้ั ผ้ใู หญ่ นิสติ นกั ศกึ ษา หนว่ ยงานรฐั บาลและเอกชน รวมถงึ ประชาชนท่วั ไปจากทุก สาขาอาชพี ต่างพร้อมใจกนั เขา้ ร่วมพิธวี างพวงมาลา และบาเพญ็ กศุ ล ให้กบั พระมหากษัตริย์ ผ้ทู ท่ี รงอทุ ศิ พระองคเ์ พ่ือความสงบสุขของอาณา ประชาราษฎรอยา่ งแทจ้ รงิ

เกรด็ ความรู้ เนื่องในวันจกั รี

ย้อนอดีต 6 เม.ย. 2475 ชมภาพชดุ พิธีเปดิ “สะพาน พทุ ธ” และพระบรมราชานสุ าวรยี ์ ร.1 ขอขอบคุณขอ้ มูลจากมติชนและศลิ ปะวัฒนธรรม

แผ่นสลกั เปน็ รปู ช้างหันขา้ งยนื เหนอื แทน่ ดา้ นหน้าอนสุ าวรีย์ พระบรมรูปนี้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั โปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวัตวิ งศ์ อปุ นายกราช บัณฑติ ยสภา ขณะนัน้ ทรงอานวยการแผนกศิลปากรคิดแบบและอานวยการ กอ่ สร้างเป็นพระบรมรปู ทรงเครอ่ื งขตั ตยิ าภรณ์ เสด็จประทับนง่ั เหนอื พระราช บัลลงั ก์ พระหัตถ์ทรงแตะพระแสงดาบทีว่ างทอดอยอู่ ยู่เหนอื พระเพลา องค์ พระบรมรปู น้ัน ศาสตราจารย์ ศิลป พรี ะศรี แหง่ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นผู้ ปัน้ และหล่อด้วยทองสารดิ มีความสงู ต้งั แต่ฐานตลอดยอด 4.60 เมตร (ต่อมาไดเ้ สริมแท่นสงู ข้ึนไปอกี ประมาณ 1 เมตร) ฐานกว้าง 2.30 เมตร มี ฐานหินออ่ นเป็นทีร่ องรับพระบรมรปู หลอ่ อีกชน้ั หนึ่ง พระบรมรูปฯ ผินพระ พกั ตร์มาทางถนนตรเี พชร

ด้านหลงั อนุสาวรียแ์ ละคาจารึก เบ้อื งหลังก่อเปน็ กาแพงหนิ ออ่ นกั้นตอนกลางเจาะเป็นชอ่ งลึกคล้ายประตู มี เสาหนิ สลัก 2 ข้าง หนา้ บันประดับลายปนู ปนั้ ลานพวงมาลัย เหนือหนา้ บัน สลักรปู อุณาโลม ดา้ นหลังกาแพงเป็นแผ่นจารึกหินอ่อน จารึกความเปน็ มา ของการกอ่ สรา้ ง และภายหลงั ได้มกี ารเสริมกาแพงใหส้ งู ข้ึนไปอีก เบื้องหน้ามี เครือ่ งบูชา พ่มุ ดอกไม้ และพานเคร่ืองประดับ มีน้าพุ อย่ทู ้งั 2 ข้าง บรเิ วณ หน้าฐานเป็นร้ัวคอนกรีตเสากลม ตอนกลางรว้ั เปน็ แผ่นหินอ่อนคล้ายเปน็ ลวดลายไทยวางทอดอยู่ กึง่ กลางแผน่ สลักเปน็ รูปช้างหนั ขา้ งยืนเหนอื แท่น ซ่งึ เป็นตรา “ปฐมบรมราชจักรีวงศ์” ดา้ นข้างพระบรมรูปทัง้ สองด้านมีบนั ไดลาด จากสะพานปฐมบรมราชานสุ รณล์ งมาเปน็ ช้ันๆ จนถงึ พ้นื ด้านลา่ งซึ่งประดับ ด้วยพันธ์ไุ มด้ อกเป็นแนวยาว

รัชกาลที่ 7 ทรงวางศลิ าฤกษ์การก่อสร้างสะพานพุทธ ห่นุ ต้นแบบในการปั้นและหล่อสมั ฤทธ์ิ พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลท่ี 1 โดยศาสตราจารย์ ศิลป์ พรี ะศรี

ประชาชนและข้าราชการภาคสว่ นตา่ งๆ บรเิ วณหนา้ พระบรมราชานสุ าวรยี ์ รชั กาลที่ 1 จาก นสพ.L’ILLUSTATION ของฝร่ังเศส ซึ่งเผยแพรข่ ่าวงานฉลองครบรอบ 150 ปีกรุงรัตนโกสนิ ทร์ เม่ือ พ.ศ. 2475

พธิ เี ปิดผา้ คลมุ พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลท่ี 1 เม่ือวนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2475 สแกนQE Code เพ่ือรบั ชมคลิป ฉลองกรงุ เทพ 150 ปี และเปิดอนสุ าวรยี ร์ ชั กาลท่ี 1 พ.ศ. 2475 ขอบคณุ ขอ้ มลู และภาพถ่ายเกา่ สว่ นหน่งึ จาก “ศูนยข์ ้อมูลกรุงรัตนโกสนิ ทร์” และ “พิพิธภณั ฑเ์ ฉลมิ พระนคร” www.t-h-a-i-l-a-n-d.org/bangkokmuseum



ทีป่ รกึ ษา นายไพรัตน์ เน่ืองเกตุ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมืองชลบุรี นางสาวเอมอร แก้วกลา่ ศรี ครูชานาญการพิเศษ ผูเ้ รียบเรยี ง นายปณั ณวิชญ์ สขุ ทวี บรรณารกั ษป์ ฏิบัติการ นายเสกสรรค์ พรมศกั ดิ์ บรรณารักษอ์ ตั ราจ้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook