Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์เลี้ยงของฉัน

สัตว์เลี้ยงของฉัน

Published by Chanakan Jitpeerawat, 2021-10-11 11:54:38

Description: รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีและการสื่อสาร ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากการทำ รายงาน ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงของฉัน "ปลาสวยงาม"

ด.ช. ชนกันต์ จิตพีระวัฒน์ ม.2/2 เลขที่ 5

Keywords: ปลาสวยงาม

Search

Read the Text Version

รายงาน ปลาสวยงาม NEW ด.ช. ชนกันต์ จิตพีระวัฒน์ ม.2/2 เลขที่ 5

คำ นำ รายงานฉบั บนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิ ชา เทคโนโลยี และการสื่ อสาร ชั้ น มั ธยมศึ กษาปี ที่ 2/2 โดยมี จุ ดประสงค์ เพื่ อการศึ กษาความรู้ ที่ ได้ จากการ ทำรายงาน ซึ่ งรายงานนี้ มี เนื้ อหาเกี่ ยวกั บสั ตว์ เลี้ ยงของฉั น \"ปลาสวยงาม\" ข้ าพเจ้ าได้ เลื อกเรื่ อง ปลาสวยงาม ในการทำรายงาน เนื่ องมาจากเป็ น สั ตว์ เลี้ ยงที่ ข้ าพเจ้ าได้ เลี้ ยงภายในบ้ าน ข้ าพเจ้ าหวั งว่ ารายงานฉบั บนี้ จะให้ ความรู้ และเป็ นประโยชน์ แก่ ผู้ อ่ านทุ ก ๆ ท่ าน ด.ช.ชนกั นต์ จิ ตพี ระวั ฒน์ ม.2/2 เลชที่ 5 ก

สารบั ญ ก ข เ รื่ อ ง 1 2 คำ นำ 3-4 ส า ร บั ญ 5 บ ท นำ บ ท ที่ 1 ป ร ะ วั ติ บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า บ ท ที่ 3 ช นิ ด ข อ ง ป ล า บ ร ร ณ า นุ ก ร ม ข

บ ท นำ ปลาสวยงาม หรื อ ปลาตู้ (อั งกฤษ: ORNAMENTAL FISH) คื อ ปลาที่ มนุ ษย์ เลี้ ยงไว้ เป็ นสั ตว์ เลี้ ยงเพื่ อความเพลิ ดเพลิ นหรื อเพื่ อ ความสวยงาม ไม่ ใช่ เพื่ อการบริ โภค หรื อสั ตว์ น้ำจำพวกอื่ น ที่ ไม่ ใช่ ปลาแต่ มี การนำมาเลี้ ยงเพื่ อการเดี ยวกั น เช่ น เครย์ ฟิช นิ ยมเลี้ ยงไว้ ในสถานที่ ต่ าง ๆ ในบ้ านพั กอาศั ย อาทิ ตู้ ปลา, บ่ อ หรื อสระ ถื อได้ ว่ า เป็ นส่ วนหนึ่ งของการประมง ความเป็ นอยู่ ของปลามี ความแตกต่ าง จากสั ตว์ บกหรื อสั ตว์ เลื อดอุ่ นค่ อนข้ างมาก การเลี้ ยงสั ตว์ บกสามารถ ปรั บปรุ งคอกเลี้ ยง ทำให้ สามารถทำความสะอาดกำจั ดเศษอาหาร และ มู ลสั ตว์ ออกจากคอกได้ อย่ างง่ ายดายแต่ ปลามี น้ำเป็ นบ้ านอย่ างถาวร และจำเป็ นต้ องอยู่ ร่ วมกั บสิ่ งมี ชี วิ ตต่ างๆอี กหลายชนิ ดคุ ณภาพน้ำอาจ เปลี่ ยนแปลงได้ ทั้ งสาเหตุ จากสภาพแวดล้ อมและจากตั วปลาเอง เพราะปลาก็ มี การขั บถ่ ายอยู่ ตลอดเวลาแต่ ในแหล่ งน้ำธรรมชาติ จะ เกิ ดการปรั บปรุ งหรื อปรั บสภาพให้ น้ำมี คุ ณสมบั ติ ที่ เหมาะสม โดย ขบวนการต่ าง ๆ จากสิ่ งมี ชี วิ ตหลายชนิ ด เพื่ อให้ สิ่ งมี ชี วิ ตทั้ งหลาย ในน้ำอยู่ ร่ วมกั นได้ อย่ างสมดุ ล หน้ าที่ 1

บทที่ 1 ประวั ติ ไม่ มี หลั กฐานใดที่ ยื นยั นแน่ ชั ดว่ า มนุ ษย์ เริ่ มรู้ จั กเลี้ ยงปลามา ตั้ งแต่ เมื่ อใด โดยนั กโบราณคดี ได้ ค้ นพบบ่ อปลาที่ เก่ าแก่ ที่ สุ ดในยุ คสุ เมเรี ยนซึ่ งมี อายุ กว่ า 4,400 ปี มาแล้ ว และปลาชนิ ดแรกที่ เชื่ อว่ าเป็ น ปลาที่ มนุ ษย์ ได้ เลี้ ยงคื อ ปลาคาร์ ป ซึ่ งทั้ งหมดนี้ มี ไว้ เพื่ อการ บริ โภค[1] สำหรั บการเลี้ ยงไว้ เพื่ อความสวยงาม ไม่ มี หลั กฐานแน่ ชั ดว่ าเริ่ มต้ น ขึ้ นเมื่ อใดอี กเช่ นกั น ในประเทศจี นและญี่ ปุ่ นได้ มี การพั ฒนาสายพั นธุ์ ปลาทอง รวมถึ งปลาคาร์ ป ให้ มี รู ปร่ างและสี สั นที่ สวยงามแตกต่ างไป สายพั นธุ์ ดั้ งเดิ มที่ มี อยู่ ในธรรมชาติ มาแล้ วไม่ ต่ำกว่ า 300-400 ปี โดยมี การส่ งออกไปทวี ปยุ โรปตั้ งแต่ ศตวรรษที่ 17 และถู กส่ งมาเป็ น บรรณาการในรั ชสมั ยของสมเด็ จพระนารายณ์ มหาราช ในศตวรรษที่ 19 ด้ วย หน้ าที่ 2

บทที่ 2 หลั กการเลี้ ยงปลา การเลี้ ยงปลาไว้ เพื่ อความเพลิ ดเพลิ นนั้ น มิ ได้ ต่ างไปจากหลั ก การเลี้ ยงปลาเศรษฐกิ จเพื่ อการบริ โภคเท่ าใดนั ก เพี ยงแต่ มี อั ตราส่ วนที่ ย่ อขนาดลงมา โดยอุ ปกรณ์ การเลี้ ยงหลั ก ๆ ได้ แก่[4] ตู้ ปลา คื อ กระจกหรื อพลาสติ กใสที่ ต่ อขึ้ นมา เพื่ อการเลี้ ยงปลา โดยมากจะเป็ นรู ปทรงสี่ เหลี่ ยมผื นผ้ า แต่ ก็ มี รู ปทรงอื่ นๆวางขาย ในท้ องตลาดเช่ นกั น เช่ นสี่ เหลี่ ยมจั ตุ รั ส ทรงกระบอก มี ขนาด หลากหลาย ในตลาดปลาสวยงามของประเทศไทยมั กจะวั ดขนาด ของตู้ ปลาในหน่ วยนิ้ ว ซึ่ งเป็ นการเรี ยกตามหน่ วยวั ดของ อุ ตสาหกรรมกระจกในสมั ยก่ อน โดยเรี ยกด้ านหน้ าตู้ จากมุ มมอง ของผู้ เลี้ ยงว่ าด้ านกว้ าง ระยะจากด้ านหน้ าไปถึ งด้ านหลั งตู้ ว่ าด้ าน ลึ ก และระยะจากด้ านล่ างพื้ นตู้ ไปจนถึ งขอบบนตู้ จะเรี ยกว่ าด้ าน สู ง และมั กจะเรี ยกขนาดของตู้ ปลาอย่ างย่ อ ๆ ตามขนาดของ ด้ านกว้ างเท่ านั้ นเพื่ อความสะดวก เช่ น ตู้ ปลาที่ กว้ าง 23 นิ้ ว สู ง 13 นิ้ ว ลึ ก 12 นิ้ ว ว่ าตู้ 24 นิ้ ว เป็ นต้ น และใช้ หน่ วยวั ดความหนา ของกระจกที่ นำมาใช้ ทำตู้ ปลาเป็ น หุ น แต่ ในปั จจุ บั นเริ่ มที่ จะปรั บ เปลี่ ยนมาใช้ หน่ วยวั ดระบบเมตริ กกั นมากขึ้ นเพราะเป็ นหน่ วยวั ดที่ คนไทยส่ วนใหญ่ คุ้ นเคยกว่ า เข้ าใจได้ ง่ ายกว่ า และตามสิ นค้ าจาก ต่ างประเทศเช่ นประเทศญี่ ปุ่ นที่ มั กจะวั ดขนาดของตู้ ปลาเป็ น เซนติ เมตร ระบบกรองน้ำ เป็ นระบบบำบั ดน้ำโดยการเพิ่ มที่ อยู่ อาศั ยของ จุ ลิ นทรี ย์ย่ อยสลายที่ มี อยู่ ในน้ำ ให้ ปริ มาณจุ ลิ นทรี ย์ นั้ นมี มากพอที่ จะบำบั ดของเสี ยจากปลาได้ เพี ยงพอ ทั้ งนี้ เพราะปลาขั บถ่ ายในน้ำ ซึ่ งจะทำให้ น้ำเน่ าเสี ย ระบบกรองน้ำมี ทั้ งระบบกรองใต้ กรวดทราย ในตู้ ระบบกรองในตู้ ทั้ งแบบติ ดกั บตั วตู้ และแขวนลอย และระบบ ก ร อ ง น อ ก ตู้ ปั๊ มลม หรื อ แอร์ ปั๊ ม เป็ นอุ ปกรณ์ ไฟฟ้าเพื่ อเพิ่ มออกซิ เจนในน้ำ ทำงานโดยการปั๊ มอากาศลงไปในน้ำผ่ านหั วทราย หรื อหั วปล่ อย อากาศที่ มี รู พรุ น ให้ ผุ ดขึ้ นมาเป็ นฟองเล็ ก ๆ จำนวนมากเพื่ อเพิ่ ม พื้ นที่ ผิ วน้ำให้ สั มผั สกั บอากาศและแลกเปลี่ ยนออกซิ เจนได้ มากขึ้ น ทำให้ สามารถเลี้ ยงปลาจำนวนมากในตู้ ที่ มี พื้ นที่ จำกั ดได้ ใช้ ไฟฟ้าใน การทำงาน มี ทั้ งแบบใช้ ไฟฟ้ากระแสสลั บและแบตเตอรี่ หน้ าที่ 3

อาหาร แบ่ งได้ ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ อาหารสด ได้ แก่ อาหารที่ ไม่ ผ่ านกระบวนการเปลี่ ยนแปลง ใดๆหรื ออาหารที่ ยั งมี ชี วิ ต เช่ น ไรแดง, ไรทะเล , ลู กน้ำ, กุ้ งฝอย, ลู กปลาชนิ ดต่ างๆ เช่ น ปลานิ ล, ปลาสอด รวมถึ งแมลงหลาย ประเภท เช่ น จิ้ งหรี ด และตั วอ่ อนแมลง เช่ น หนอนนก, หนอนแดง รวมถึ งเนื้ อสั ตว์ และพื ชประเภทต่ าง ๆ เช่ น เนื้ อกุ้ งสดแช่ แข็ ง, หั วใจ วั ว, หั วใจหมู , ไข่ กุ้ ง ซึ่ งในปั จจุ บั นก็ มี ผู้ ผลิ ตที่ ผลิ ตอาหารสดเหล่ านี้ ใน รู ปแบบสำเร็ จรู ปแช่ แข็ งขายเพื่ อความสะดวกในการใช้ และยื ดอายุ การเก็ บรั กษาอาหารสดของผู้ เลี้ ยง อาหารแห้ ง เป็ นอาหารสำเร็ จรู ปที่ นำวั ตถุ ดิ บประเภทพื ชและ เนื้ อสั ตว์ มาบดผสมกั บวิ ตามิ นและสารปรุ งแต่ งต่ าง ๆ จากนั้ นจึ ง ทำให้ เป็ นเม็ ดหรื อผงหยาบหรื อแผ่ นเกล็ ดและอบแห้ ง ซึ่ งจะสามารถ เก็ บรั กษาได้ นานหลายเดื อนหรื อหลายปี โดยไม่ ต้ องแช่ เย็ น เพิ่ มความ สะดวกให้ ผู้ เลี้ ยงกว่ าอาหารสดมาก โดยมากจะผลิ ตเป็ นเม็ ดกลม ขนาดต่ างกั น เรี ยกว่ า \"อาหารเม็ ด\" หรื อเป็ นแผ่ น เรี ยกว่ า \"อาหาร แผ่ น\" ซึ่ งทั้ ง 2 ประเภทนี้ มี ทั้ งแบบจมน้ำ กึ่ งจมกึ่ งลอย และลอยน้ำ อุ ปกรณ์ ควบคุ มอุ ณหภู มิ ถื อได้ ว่ าเป็ นอุ ปกรณ์ เสริ ม ใช้ สำหรั บ ควบคุ มอุ ณหภู มิ ไม่ ให้ ต่ำหรื อสู งเกิ นไป ทั้ งนี้ เนื่ องจากปลาเป็ นสั ตว์ เลื อดเย็ น หากอุ ณหภู มิ เปลี่ ยนแปลงอย่ างกะทั นหั นจะทำให้ ปลา เจ็ บป่ วยได้ ง่ าย อุ ปกรณ์ เพิ่ มอุ ณหภู มิ เรี ยกว่ า ฮี ทเตอร์ เป็ น อุ ปกรณ์ ที่ ใช้ ขดลวดความร้ อนบรรจุ ในหลอดแก้ วหรื อท่ อโลหะจุ่ ม ลงในน้ำเพื่ อเพิ่ มอุ ณหภู มิ ให้ กั บน้ำในตู้ สามารถตั้ งค่ าอุ ณหภู มิ ที่ ต้ องการได้ เมื่ อฮี ทเตอร์ ทำงานจนถึ งค่ าที่ ตั้ งไว้ ก็ จะตั ดการทำงาน และเมื่ ออุ ณหภู มิ ลดลงมาก็ จะทำงานอี กครั้ ง อุ ปกรณ์ ลดอุ ณหภู มิ เรี ยกว่ า ชิ ลเลอร์ ส่ วนมากจะใช้คอมเพรสเซอร์เช่ นเดี ยวกั บตู้ เย็ น และเครื่ องปรั บอากาศ แต่ ใช้ การนำน้ำในตู้ ไหลผ่ านส่ วนทำความ เย็ นแทน แต่ ก็ มี ชิ ลเลอร์ จากผู้ ผลิ ตหลายรายที่ ใช้เพลเที ยร์ ซึ่ ง เป็ นอุ ปกรณ์ ที่ ใช้ หลั กเทอร์ โมอิ เล็ กทริ ก ในการทำความเย็ นแทน ค อ ม เ พ ร ส เ ซ อ ร์ หน้ าที่ 4

บทที่ 3 ชนิ ดของปลา - ปลาแปลก คื อ ปลาสวยงามจำพวกหนึ่ งที่ มี ลั กษณะพิ เศษแตกต่ าง จากปลาสวยงามปกติ ทั่ วไป โดยมากเป็ นปลาพิ การ แต่ มี ลั กษณะเด่ น เฉพาะตั ว จึ งได้ รั บความนิ ยมจากผู้ เลี้ ยง ปลาแปลกจะมี ราคาที่ ค่ อน ข้ างสู งกว่ าปลาปกติ ในบางประเภทจะแพงกว่ าปลาปกติ หลายเท่ า เช่ น ปลาแพล็ ตติ นั่ ม เป็ นต้ น - ปลาสวยงามในประเทศไทย - ปลาสวยงามในต่ างประเทศ หน้ าที่ 5

บรรณานุ กรม 1. หนั งสื อปลาน้ำจื ดไทย โดย ดร.ชวลิ ต วิ ทยานนท์ (กรุ งเทพ, พ.ศ. 2544) ISBN 974-475-655-5 2. ประวั ติ ปลาสวยงาม 3. \"ปลาทอง\". คลั งข้ อมู ลเก่ า เก็ บจาก แหล่ งเดิ ม เมื่ อ 2008-04-13. สื บค้ น เมื่ อ 2010-11-15. 4. \"หลั กการเลี้ ยงปลาสวยงาม\". คลั งข้ อมู ลเก่ า เก็ บจาก แหล่ งเดิ ม เมื่ อ 2009-02-04. สื บค้ นเมื่ อ 2010-11-15. 5. วั นเดี ยวเที่ ยวจั นทบุ รี โดย วุ ทธิ เดช/นณณ์ คอลั มน์ SCOOP หน้ า 37, นิ ตยสาร SM@RTPET: ปี ที่ 1 ฉบั บที่ 7 เดื อนมิ ถุ นายน 2545 6. \"เกษตรสเปเชี ยล : ปลาแบกเงิ นแบกทอง (ปลาสั้ น)\". ช่ อง 7. 12 AUGUST 2014. สื บค้ นเมื่ อ 6 JUNE 2015.[ลิ งก์ เสี ย] 7. ที่ ปรึ กษา ADVISOR'S, นิ ตยสาร AQUARIUM BIZ ปี ที่ 4 ฉบั บที่ 53: พฤศจิ กายน 2014 8. ALBINO (มั น เผื อก มาก), โดย เวอร์ ริ เดี ยน, ชวิ น ตั นพิ ทยคุ ปต์ คอลั มน์ AQUA KNOWLEDGE หน้ า 70-73. นิ ตยสาร AQUARIUM BIZ ปี ที่ 2 ฉบั บที่ 16: ตุ ลาคม 2011 9. \"พั นธุ์ ของปลากั ด\". คลั งข้ อมู ลเก่ า เก็ บจาก แหล่ งเดิ ม เมื่ อ 2008-09-27. สื บค้ นเมื่ อ 2011-07-16. 10. สี่ แผ่ นดิ น โดย หม่ อมราชวงศ์ คึ กฤทธิ์ ปราโมช สำนั กพิ มพ์ นานมี บุ๊ คส์ จำกั ด ISBN 9789749906200 11. [HTTPS://WEB.ARCHIVE.ORG/WEB/20071218093507/HTTP://W WW.MATICHONBOOK.COM/MAIL.PHP? SEND=2&ID=470426102451 ARCHIVED2007-12-18 ที่ เวย์ แบ็ ก แมชชี น เรื่ อง : ครบเครื่ องธุ รกิ จ ปลาสวยงาม จากมติ ชน] 12. นิ ตยสาร FISHZONE VOL. 3 NO. 24 (พ.ศ. 2545) โดย กิ ตติ พงษ์ จารุ ธาณิ นทร์ 13. สะพานเหล็ ก STAGE สุ ดท้ าย? จากกรุ งเทพธุ รกิ จ 14. คอลั มน์ COLORFUL CYPRINIDS โดย TEENUENG ตอน ปฐมบท ปลาทอง เมื องสยาม หน้ า 62-64 นิ ตยสาร AQUARIUM BIZ ฉบั บที่ 28 ปี ที่ 2: ตุ ลาคม 2012 15. ตลาดปลาสวยงามในประเทศไทย 16. รายการกบนอกกะลา ตอน ปลางามตู้ กระจก: 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2553 17. กระโดดขึ้ นไป:17.0 17.1 17.2 คอลั มน์ AQUA CONTEST โดย น.สพ.คม ศิ ลป์ สหตระกู ล ตอน ตะลุ ยงาน AQUARAMA 2011 ณ ประเทศสิ งคโปร์ หน้ า 78-81 นิ ตยสาร AQUARIUM BIZ ฉบั บที่ 13 ปี ที่ 2: กรกฎาคม 2011 18. คอลั มน์ PRO TALK โดย PRO AQUA CLUB ตอน PRO พาเที่ ยว เที่ ยว กั บ PRO หน้ า 24-29 นิ ตยสาร AQUARIUM BIZ ฉบั บที่ 4 ปี ที่ 1: ตุ ลาคม 2010

อาหาร แบ่ งได้ ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ อาหารสด ได้ แก่ อาหารที่ ไม่ ผ่ านกระบวนการเปลี่ ยนแปลง ใดๆหรื ออาหารที่ ยั งมี ชี วิ ต เช่ น ไรแดง, ไรทะเล , ลู กน้ำ, กุ้ งฝอย, ลู กปลาชนิ ดต่ างๆ เช่ น ปลานิ ล, ปลาสอด รวมถึ งแมลงหลาย ประเภท เช่ น จิ้ งหรี ด และตั วอ่ อนแมลง เช่ น หนอนนก, หนอนแดง รวมถึ งเนื้ อสั ตว์ และพื ชประเภทต่ าง ๆ เช่ น เนื้ อกุ้ งสดแช่ แข็ ง, หั วใจ วั ว, หั วใจหมู , ไข่ กุ้ ง ซึ่ งในปั จจุ บั นก็ มี ผู้ ผลิ ตที่ ผลิ ตอาหารสดเหล่ านี้ ใน รู ปแบบสำเร็ จรู ปแช่ แข็ งขายเพื่ อความสะดวกในการใช้ และยื ดอายุ การเก็ บรั กษาอาหารสดของผู้ เลี้ ยง อาหารแห้ ง เป็ นอาหารสำเร็ จรู ปที่ นำวั ตถุ ดิ บประเภทพื ชและ เนื้ อสั ตว์ มาบดผสมกั บวิ ตามิ นและสารปรุ งแต่ งต่ าง ๆ จากนั้ นจึ ง ทำให้ เป็ นเม็ ดหรื อผงหยาบหรื อแผ่ นเกล็ ดและอบแห้ ง ซึ่ งจะสามารถ เก็ บรั กษาได้ นานหลายเดื อนหรื อหลายปี โดยไม่ ต้ องแช่ เย็ น เพิ่ มความ สะดวกให้ ผู้ เลี้ ยงกว่ าอาหารสดมาก โดยมากจะผลิ ตเป็ นเม็ ดกลม ขนาดต่ างกั น เรี ยกว่ า \"อาหารเม็ ด\" หรื อเป็ นแผ่ น เรี ยกว่ า \"อาหาร แผ่ น\" ซึ่ งทั้ ง 2 ประเภทนี้ มี ทั้ งแบบจมน้ำ กึ่ งจมกึ่ งลอย และลอยน้ำ อุ ปกรณ์ ควบคุ มอุ ณหภู มิ ถื อได้ ว่ าเป็ นอุ ปกรณ์ เสริ ม ใช้ สำหรั บ ควบคุ มอุ ณหภู มิ ไม่ ให้ ต่ำหรื อสู งเกิ นไป ทั้ งนี้ เนื่ องจากปลาเป็ นสั ตว์ เลื อดเย็ น หากอุ ณหภู มิ เปลี่ ยนแปลงอย่ างกะทั นหั นจะทำให้ ปลา เจ็ บป่ วยได้ ง่ าย อุ ปกรณ์ เพิ่ มอุ ณหภู มิ เรี ยกว่ า ฮี ทเตอร์ เป็ น อุ ปกรณ์ ที่ ใช้ ขดลวดความร้ อนบรรจุ ในหลอดแก้ วหรื อท่ อโลหะจุ่ ม ลงในน้ำเพื่ อเพิ่ มอุ ณหภู มิ ให้ กั บน้ำในตู้ สามารถตั้ งค่ าอุ ณหภู มิ ที่ ต้ องการได้ เมื่ อฮี ทเตอร์ ทำงานจนถึ งค่ าที่ ตั้ งไว้ ก็ จะตั ดการทำงาน และเมื่ ออุ ณหภู มิ ลดลงมาก็ จะทำงานอี กครั้ ง อุ ปกรณ์ ลดอุ ณหภู มิ เรี ยกว่ า ชิ ลเลอร์ ส่ วนมากจะใช้คอมเพรสเซอร์เช่ นเดี ยวกั บตู้ เย็ น และเครื่ องปรั บอากาศ แต่ ใช้ การนำน้ำในตู้ ไหลผ่ านส่ วนทำความ เย็ นแทน แต่ ก็ มี ชิ ลเลอร์ จากผู้ ผลิ ตหลายรายที่ ใช้เพลเที ยร์ ซึ่ ง เป็ นอุ ปกรณ์ ที่ ใช้ หลั กเทอร์ โมอิ เล็ กทริ ก ในการทำความเย็ นแทน ค อ ม เ พ ร ส เ ซ อ ร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook