Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ (พิมพ์ครั้งที่ 3)

คู่มือสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ (พิมพ์ครั้งที่ 3)

Published by Department of Religious Affairs, 2022-01-18 06:49:58

Description: คู่มือสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ
(พิมพ์ครั้งที่ 3)
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ (พิมพ์ครัง้ ท่ี ๓) สำ� นักพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๔

คมู่ อื การสวดมนตห์ มู่สรรเสริญพระรตั นตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ (พมิ พค์ รั้งท่ี ๓) ผจู้ ัดพมิ พ์ : กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม จัดพิมพค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๙ จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม่ จดั พิมพ์คร้งั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐ จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ เลม่ จัดพมิ พค์ ร้งั ที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๔ จ�ำนวน ๙,๐๐๐ เล่ม ทปี่ รึกษา อธิบดกี รมการศาสนา นายเกรียงศักดิ์ บญุ ประสิทธ ิ์ รองอธบิ ดกี รมการศาสนา นายสำ� รวย นักการเรยี น ท่ีปรกึ ษากรมการศาสนา นายมานสั ทารัตนใ์ จ ที่ปรึกษากรมการศาสนา นายชวลิต ศิรภิ ิรมย์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั พัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม นางสาวฐติ ิมา สภุ ภคั รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการกองศาสนูปถัมภ์ นายพจนาถ ปัญญาศิลป์ เลขานุการกรม นางสรุ ีย์ เกาศล รวบรวมและเรยี บเรียง พระราชปญั ญามุนี อดีตเลขาธกิ าร สำ� นกั งานบริหารการศกึ ษา พระพุทธศาสนาวันอาทติ ยแ์ ห่งประเทศไทย คณะท�ำงาน ผ้อู �ำนวยการกลมุ่ ส่งเสรมิ งานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม นายประภาส แกว้ สวรรค ์ ส่วนภูมภิ าคและทอ้ งถ่ิน นักวชิ าการศาสนาช�ำนาญการ นางสาวจริ ฐา ป่ินเวหา นกั วิชาการศาสนาช�ำนาญการ นางสาวหัทยา คุณโณ นักวชิ าการศาสนาปฏบิ ัตกิ าร นางสาวรวพิ ร ภกั ดีสมยั นักวชิ าการศาสนา นางสาวนนั ทิยา อายวุ ัฒนะ เจ้าหน้าท่ีวิเคราะหโ์ ครงการ นายนรภัทร วรศิ รานนท์ เจ้าหนา้ ที่วเิ คราะห์โครงการ นายอมร เฟอ่ื งผล ออกแบบปก เจ้าหนา้ ทว่ี ิเคราะหโ์ ครงการ นายวทิ ยา ก่อกศุ ล พมิ พท์ ี่ หา้ งหนุ้ ส่วนจ�ำกัดโรงพิมพ์อกั ษรไทย (น.ส.พ.ฟ้าเมอื งไทย) ๘๕, ๘๗, ๘๙, ๙๑ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๔๐ ถนนจรญั สนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ โทร.๐-๒๔๒๔-๔๕๕๗ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๒๘๕๘

คำ� น�ำ การประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรัย ท�ำนองสรภัญญะ เป็นกจิ กรรมทส่ี ำ� คญั ในงานสปั ดาหส์ ง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนาเนื่องในวนั วิสาขบูชามาตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ซง่ึ ทางรฐั บาล รว่ มกับคณะสงฆ์ได้ดำ� เนนิ งานต่อเนื่องเป็นประจ�ำทกุ ปี ทง้ั นี้ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ร่วมกับส�ำนักงานบริหารการศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งประเทศไทย วัดอนงคาราม ศูนย์ส่งเสริมศีลธรรมวัดชัยชนะสงคราม ได้พัฒนารูปแบบการประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญ พระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ และสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจในการด�ำเนนิ งานร่วมกับเครือข่ายตา่ ง ๆ เพ่ือให้การประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ทุกระดับ มีมาตรฐาน ทีถ่ ูกตอ้ ง โดยดำ� เนินการจดั พมิ พห์ นังสือคู่มอื สวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ ครั้งท่ี ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐ เพ่ือเผยแพรอ่ งค์ความรไู้ ปยังกลมุ่ เป้าหมาย และผู้เก่ียวข้อง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ น้ี กรมการศาสนาร่วมกับส�ำนกั งานบริหารการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา วันอาทิตย์ แห่งประเทศไทย ได้จัดพิมพ์หนังสือคู่มือการสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำ� นองสรภัญญะ (พมิ พ์ครั้งที่ ๓) ขึ้น สำ� หรบั ให้สถานศกึ ษา ครูผฝู้ ึกสอน คณะกรรมการตัดสนิ ฯ และส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ใช้เป็นคู่มือฝึกฝนอบรมนักเรียนได้สวดมนต์หมู่ฯ อย่างถูกต้อง ทงั้ อกั ขระวธิ ี และทว่ งทำ� นอง รวมถงึ สง่ เสรมิ องคค์ วามรู้ สรา้ งความเขา้ ใจในกระบวนการดำ� เนนิ งาน ประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ให้ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ ท่ีส�ำคัญเพ่ือสนับสนุนให้การสวดมนต์หมู่ฯ ในสถานศึกษา คงอยู่อย่างต่อเน่ืองแพร่หลาย เป็นกุศโลบายในการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงพระรัตนตรัย ปลูกฝังให้เกิดสามัคคีธรรม ขันติธรรม ในหมู่เด็กและเยาวชน และเป็นแนวทางร่วมกันจรรโลงส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ไปสูเ่ ยาวชนในสงั คมไทยอย่างยั่งยนื ตลอดไป (นายเกรยี งศกั ดิ์ บญุ ประสทิ ธ์)ิ อธิบดกี รมการศาสนา



สารบญั บทท่ี ๑ ประวัตกิ ารสวดมนต ์ ๑ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดกจิ กรรมสวดมนต์หมู่ฯ ๖ อานสิ งส์ของการสวดมนต ์ ๗ บทท่ี ๒ ลกั ษณะของบทประพนั ธ์ และเน้ือหาสาระ ๙ ข้อสงั เกตเร่ืองทำ� นองสวด ๒๕ บทท่ี ๓ การประกวดสวดมนต์หมู่ ท�ำนองสรภัญญะ ๒๗ การจดั การประกวดสวดมนตห์ มู่ฯ ๒๗ ส่ือและอปุ กรณท์ ีใ่ ชเ้ ป็นแนวการสวดมนตห์ มูฯ่ ๒๙ ระเบียบปฏิบตั ใิ นการประกวดสวดมนตห์ มฯู่ ๓๐ บทท่ี ๔ กรรมการและกติกาการตดั สิน ๓๓ คุณสมบตั ิของผู้เป็นกรรมการตดั สินสวดมนต์หมูฯ่ ๓๓ กตกิ าการจัดประกวดเบอ้ื งต้น ๓๓ เกณฑ์การตัดสิน ๓๔ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๓๔ เกณฑ์การตดั คะแนน ๓๖ ตัวอย่างข้อผดิ พลาดท่ถี ูกหกั คะแนนภาษาบาลี ๓๘ ตัวอยา่ งขอ้ ผิดพลาดที่ถูกหักคะแนนภาษาไทย ๓๙ หลักการพจิ ารณาตัดสินในกรณีคะแนนเท่ากัน ๓๙ บทท่ี ๕ บทสวดสรรเสริญพระรตั นตรยั ฯ ๔๓ บทสวดนมสั การพระรัตนตรยั ๔๓ บทสวดนมสั การ ๔๓ บทสวดพระพทุ ธคณุ ๔๔ บทสวดพระธรรมคณุ ๔๕

บทสวดพระสังฆคุณ ๔๖ บทสวดชยสทิ ธคิ าถา ๔๗ บทที่ ๖ ศิลปะและวิธกี ารฝึกสวดมนต์หม่ฯู ๔๙ การคัดเลือกนักเรียน ๔๙ วธิ ีการฝกึ สวดมนต์หม ู่ ๕๐ ข้อสังเกตในการฝกึ สวดมนต์หมู ่ ๕๑ มารยาทและท่าทางขณะสวดมนตห์ ม ู่ ๕๒ บทท่ี ๗ เทคนคิ วิธกี ารฝกึ สวดมนต์หมฯู่ ๕๓ บทท่ี ๘ วธิ ีจัดสถานทปี่ ระกวดสวดมนตห์ มู่ฯ ๕๙ บรรณานกุ รม ๖๔ ภาคผนวก แผนการจัดการเรยี นรเู้ รอ่ื งสวดมนต์หมูฯ่ ๖๖ แนวทางการดำ� เนนิ งานและหลักเกณฑก์ ารประกวดสวดมนตห์ ม ู่ ๘๐ สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททีม ๕ คน แนวทางการดำ� เนนิ งานและหลักเกณฑก์ ารประกวดสวดมนตห์ มู่ ๘๖ สรรเสรญิ พระรัตนตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ประเภททีมโรงเรยี น

บทท่ี ๑ ประวตั ิการสวดมนต์ การสวดมนต์ไหว้พระเป็นการสร้างมนต์ชีวิตไว้ประจ�ำตัว เป็นการด�ำรงชีวิตอยู่อย่าง ไมป่ ระมาทและสร้างพลังจติ ยังความมนั่ คงใหเ้ กิดขึน้ กบั ตนเอง ในการดำ� รงชวี ิตประจำ� วันให้มสี ติ ระลึกอยู่เสมอ ในการที่จะประพฤติชอบในกรอบของศีลธรรม อันเป็นการน�ำความสุขความเจริญ มาส่ตู นเอง เปน็ ชีวิตทีม่ ่นั คง และจักสง่ ผลใหเ้ กดิ ความมัน่ คงต่อประเทศชาตดิ ว้ ย การสวดมนต์นั้นมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว โดยที่พระสงฆ์สาวก ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้รับฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้ว เพื่อป้องกันความหลงลืม ท่านก็จะน�ำเอาค�ำสั่งสอนน้ันมาทบทวนด้วยตนเองบ้าง เป็นคณะบ้าง จนคล่องปาก จ�ำได้ขึ้นใจท่ี เรียกว่า “วาจุคฺคโต” เพราะในสมัยนั้นตัวหนังสือที่จะใช้บันทึกยังไม่มี พอเวลานานเข้าเกรงว่า พระธรรมวนิ ยั อนั เปน็ คำ� สง่ั สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จะวปิ รติ ผดิ เพย้ี นไป กจ็ ดั ใหม้ กี ารประชมุ กนั มีการทบทวนสอบทานท่เี รียกวา่ การท�ำสังคายนา ในหนงั สอื สวดมนตส์ บิ สองตำ� นานของกองทพั อากาศ ฉบบั พมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๑๔ อา้ งหนงั สอื เร่ืองตามต�ำนานพระปริตร ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธไ์ ว้ว่าประเพณที ี่พระสงฆ์สวดพระปรติ ร (สวดมนต)์ เกิดขนึ้ ในลงั กาทวีปประมาณว่า เม่ือพทุ ธกาลลว่ งแลว้ ราว ๕๐๐ ปี สาเหตทุ ที่ ำ� ใหเ้ กดิ ประเพณสี วดพระปรติ รตามบา้ นนนั้ สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงพระนิพนธ์ไว้ว่า “ในพงศาวดารปรากฏว่า พวกทมิฬมีอ�ำนาจปกครองบ้านเมือง (ลังกา) อยนู่ าน ๆ หลายครงั้ พวกทมฬิ นบั ถอื ไสยศาสตร์ พาศาสนาพราหมณเ์ ขา้ มาสงั่ สอนในลงั กาทวปี ดว้ ย อย่างไรก็ตาม คติศาสนาพราหมณ์น้ันนิยมว่าผู้ทรงพระเวทอาจร่ายมนต์ให้เกิดสิริมงคล หรือป้องกันแก้ไขภยันตรายแก่มหาชนได้ สันนิษฐานว่าพวกชาวลังกาแม้ที่นับถือพระพุทธศาสนา ก็ย่อมมีเวลาปรารถนาสิริมงคล และมีเวลาหวาดหว่ันต่อภยันตรายตามธรรมดาสามัญมนุษย์ คงจะขอให้พระสงฆ์เถรานุเถระชาวลังกา ช่วยหาแนวทางในพระพุทธศาสนาสงเคราะห์ 1คมู่ อื การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย ทำ� นองสรภัญญะ

เพอื่ ใหเ้ กดิ สริ มิ งคลหรอื ปอ้ งกนั อนั ตรายใหแ้ กต่ นบา้ ง พระสงฆม์ คี วามกรณุ า จงึ คดิ วธิ กี ารสวดพระปรติ รขน้ึ ใหส้ มประสงคข์ องประชาชน กแ็ ตว่ ธิ รี า่ ยเวทมนตข์ องพราหมณน์ น้ั เขาวงิ วอนขอพรตอ่ พระผเู้ ปน็ เจา้ คติทางพระพุทธศาสนาห้ามการท�ำเช่นน้ัน พระสงฆ์จึงค้นในพระไตรปิฎกเลือกเอาพระสูตร และปาฐะพระคาถาสรรเสรญิ คณุ พระรตั นตรยั อนั มตี ำ� นานอา้ งวา่ เกดิ ขนึ้ เนอ่ื งดว้ ยเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ มาสวดเป็นมนต์ การสวดมนต์ดังกล่าวนั้นเรียกว่าสวดพระปริตร หมายถึงสวดพระพุทธวจนะ ทมี่ อี านภุ าพคมุ้ กนั อันตรายต่าง ๆ ได้” การสวดมนตข์ องชาวพทุ ธมีอยู่ ๓ ลักษณะ คอื ๑ ๑. สวดพระสูตร เชน่ บทธัมมจักกปั ปวัตนสูตร มงคลสตู ร เปน็ ต้น ๒. สวดพระปริตร เชน่ บทโมรปริตร ขันธปรติ ร เปน็ ต้น ๓. สวดสัจกิริยา เช่น บทมงคลจักรวาลใหญ่ มงคลจักรวาลน้อย หรือบทที่ลงท้าย ด้วยค�ำว่า “อานุภาเวน” เป็นการต้ังสัตยาธิษฐานให้เกิดประโยชน์ ถึงอย่างไรก็ตามการสวดมนต์ ก็เปน็ สว่ นใหเ้ กดิ สมาธิ พลงั จติ และสริ ิมงคลแก่ผสู้ วดและผู้ฟัง ๑ จ�ำมาจากสมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ฟ้ืน ชตุ นิ ธ โร) วดั สามพระยา 2 คมู่ ือ การสวดมนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ

การสวดมนต์มีอยู่ ๒ แบบ คือ ๑. การสวดเปน็ บท ๆ เปน็ คำ� ๆ ไป เรยี กวา่ แบบปทภาณะ นอี้ ยา่ งหนงึ่ เชน่ อยา่ งทพี่ ระสงฆ์ สวดกันอยูท่ ั่วไปในวัดหรือในงานพธิ ตี ่าง ๆ ๒. การสวดแบบใชเ้ สยี งตามทำ� นองของบทประพนั ธ์ ฉนั ทลกั ษณต์ า่ ง ๆ เรยี ก วา่ สรภาณะ อยา่ งหน่ึง เชน่ พระสงฆ์ในงานพธิ รี ับเทศนห์ รือในเทศกาลพิเศษ เชน่ ในคราวเทศน์ในวันวิสาขบชู า วันมาฆบูชา เป็นต้น วิธีการสวดแบบสรภาณะน้ีเอง เรียกอย่างหน่ึงว่า “สรภัญญะ” (อ่านว่า สะ-ระ-พนั -ยะ) และตอ่ มาได้ววิ ัฒนาการใหพ้ ระสงฆ์เทศนเ์ ป็นทำ� นองแหล่ขนึ้ ในบททำ� นองร่ายยาว เช่น ในเรือ่ งพระเวสสนั ดรชาดกจนถึงปัจจบุ ัน ทั้งน้ีเป็นเรื่องสืบเนื่องมาแต่คร้ังพุทธกาลแล้วโดยท่านพระโสณะกุฏิกัณณะ เป็นผู้สวดถวายพระพุทธเจ้า ในคราวมาเฝ้าพระพุทธเจ้า และพักอยู่ในพระเชตวันวิหารกับ พระพุทธเจ้า มีเรื่องปรากฏเป็นหลักฐานในพระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒ ข้อ ๑๗ หน้า ๒๗ (พระวินัยปิฎกภาษาบาลี ฉบบั ทยยฺ รฏ สสฺ เลม่ ที่ ๕ พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว วา่ อถโข ภควา รตตฺ ยิ า ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺาย อายสมฺ นฺตํ โสณํ อชเฺ ฌสิ “ปฏิภาตุ ตํ ภกิ ฺขุ ธมฺโม ภาสิตุนตฺ ”ิ . “เอวํ ภนเฺ ตติ” โข อายสฺมา โสโณ ภควโต ปฏิสสฺ ุณติ ฺวา สพพฺ าเนว อฏฺกวคฺคิกานิ สเรน อภาสิ. อถโข ภควา อายสมฺ โต โสณสฺส สรภญฺญปริโยสาเน อพภฺ านโุ มทิ, “สาธุ สาธุ ภิกฺข,ุ สคุ คฺ หิตานิ โข เต ภิกฺขุ อฏฺ กวคฺคิกานิ สมุ นสกิ ตานิ สูปธารติ านิ, กลฺยาณยิ าสิ วาจาย สมนนฺ าคโต วิสฺสฏฺาย อเนลคลาย อตถฺ สสฺ วญิ ญฺ าปนิยา, กตวิ สฺโสสิ ตวฺ ํ ภิกฺขูติ”. พระไตรปฎิ กภาษาไทยพระวนิ ัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒ เลม่ ท่ี ๕ ข้อ ๑๗ หน้า ๓๓ ว่า “คร้ังน้ัน พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในที่แจ้งจนดึก จึงเสด็จเข้าพระวิหาร ฝ่ายท่าน พระโสณะกย็ บั ย้งั อยใู่ นทีแ่ จง้ จนดกึ จงึ เข้าพระวหิ าร คร้นั เวลาปัจจสุ มยั แหง่ ราตรี พระผมู้ พี ระภาค ทรงต่ืนพระบรรทมแล้วทรงอัชเฌสนาท่านพระโสณะว่า ดูกรภิกษุ เธอจงกล่าวธรรมตามถนัด ทา่ นพระโสณะกราบทลู สนองพระพทุ ธบญั ชาวา่ อยา่ งนนั้ พระพทุ ธเจา้ ขา้ แลว้ ไดส้ วดพระสตู รทง้ั หลาย อนั มอี ยใู่ นอฏั ฐกวรรค จนหมดสนิ้ โดยสรภญั ญะ ครน้ั จบสรภญั ญะของพระโสณะ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงปราโมทย์ประทานสาธุการว่า ดีละ ดีละ ภิกษุ สูตรทั้งหลายในอัฏฐกวรรคเธอเล่าเรียน มาดีแล้ว ท�ำไว้ในใจดีแล้ว ทรงจ�ำไว้แม่นย�ำดี เธอเป็นผู้ประกอบด้วยวาจาไพเราะเพราะพร้ิง ไม่มโี ทษ ให้เขา้ ใจรคู้ วามได้แจ่มชัด เธอมีพรรษาเทา่ ไร ภกิ ษ”ุ 3ค่มู อื การสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ

การสวดมนต์ท�ำนองสรภัญญะด้วยภาษาบาลีนั้น ได้มีมาตั้งแต่คร้ังพุทธกาลแล้ว ส่วนการสวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ที่เป็นภาษาไทย สันนิษฐานได้ว่า น่าจะมีขึ้นประมาณในรัชกาลที่ ๕ ด้วยเหตุผลว่า ค�ำประพันธ์สวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรัย ที่เป็นภาษาไทย (คือ องคใ์ ดพระสมั พุทธ ฯลฯ ญ ภาพนัน้ นริ ันดร, ธรรมะคือคุณากร ฯลฯ ด้วยจติ และกายวาจา และ สงฆ์ใดสาวกศาสดา ฯลฯ จงดับและกลับเส่ือมสูญ) ที่เป็นบทฉันทลักษณ์ ต่าง ๆ ซ่ึงใช้สวดในปัจจุบันนี้ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ท่านเป็นผู้ประพันธ์ ท่านเกดิ ในสมยั รชั กาลที่ ๒ และรับราชการในสมยั รชั กาลที่ ๔ และที่ ๕ ปรากฏหลักฐานในหนังสือ สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ซง่ึ ประพฒั น์ ตรณี รงค์ เปน็ ผเู้ ขยี นใจความวา่ สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงฯ ผนวชเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ ที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วเสด็จไปจ�ำพรรษา อยทู่ ่วี ัดนิเวศนธ์ รรมประวัติ อำ� เภอบางปะอนิ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา พระองคไ์ ด้จดั โรงเรยี นข้ึน ท่ีวัดน้นั ไดท้ รงจัดใหม้ ีต�ำราเรยี นเรว็ ขึน้ ทรงนพิ นธ์แบบเรียนเร็วข้นึ ใช้สอย พระนพิ นธเ์ รื่องน้ีต่อมา ได้ใชเ้ ป็นต�ำราเรียนของเด็กนกั เรยี นดว้ ย นอกจากจะทรงคดิ แตง่ ตำ� ราเพอ่ื ใหเ้ รยี นหนงั สอื ไดเ้ รว็ แลว้ ยงั ทรงสงั เกตเหน็ วา่ ในโรงเรยี น ขาดการสอนคดีธรรม คร้ังแรกทรงคิดที่จะให้พระเทศน์ให้เด็กฟัง ก็ทรงเกรงว่าจะไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์อะไร เพราะเด็กฟังแล้วไม่เข้าใจ ส�ำหรับข้อน้ีทรงแก้ไขด้วยวิธีเล่าไว้ในหนังสือประวัติ อาจารยว์ า่ “แต่จะเทศน์ให้เด็กฟังก็ไม่เข้าใจ เห็นว่า ถ้าแต่งเป็นค�ำกลอนให้เด็กท่องสวดจะดีกว่า ข้าพเจ้าบอกความท่ีปรารถนาไปยังพระศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ขอให้ท่านแต่ง ค�ำนมสั การสง่ ขนึ้ ไปให้ ทา่ นกแ็ ตง่ ใหต้ ามประสงค์ เปน็ ค�ำนมสั การ ๗ บท ขนึ้ ดว้ ยบทบาลแี ลว้ มกี าพย์ กลอนเป็นภาษาไทยทุกบท นมัสการพระพุทธเจ้า ข้ึนต้นว่า องค์ใดพระสัมพุทธ สุวิสุทธสันดาน เป็นต้น บท ๑ นมัสการพระธรรมเจ้าบท ๑ นมัสการพระสงฆ์เจ้าบท ๑ สามบทนี้ให้เด็กสวด เมื่อเริม่ เรียนตอนเชา้ มคี �ำบชู าคณุ บิดามารดาบท ๑ บูชาคณุ ครูบท ๑ ส�ำหรบั ใชส้ วดเมือ่ เร่ิมเรยี น ตอนบ่ายและมีค�ำบูชาพระคุณพระบุรพกษัตริย์บท ๑ ค�ำขอพรเทวดาบท ๑ ส�ำหรับใช้สวด เม่อื จะเลกิ เรียน เร่มิ สวดกนั ในโรงเรียนนิเวศนฯ์ ตงั้ แต่ขา้ พเจา้ ยังบวชอยู่” (ปัจจุบันคำ� สอนดงั กล่าวนี้ก็ยงั ใช้ในโรงเรยี นในวนั ประชุมสดุ สัปดาห์ของโรงเรียน) 4 คมู่ อื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ

การสวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ได้ใช้สวดกันต่อมาเป็นประจ�ำ ในวันสุดสัปดาห์ ถ้าโรงเรียนหยุดวันพระก็ให้สวดในวันโกน ต่อมาโรงเรียนหยุดเสาร์อาทิตย์ กใ็ ห้สวดในวนั ศุกร์เปน็ กิจกรรมสบื สานมรดกวฒั นธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสบื ต่อกันมา ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ทางกระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ได้วางระเบียบว่าดว้ ยการสวดมนต์ ไหว้พระของนักเรียนเพื่อส่งเสริมศีลธรรมจรรยามารยาท และฝึกอบรมจิตใจและนิสัยอันดีงาม ประพฤติตนในทางที่ดีท่ีชอบ ซึ่งระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ สวดมนตไ์ หว้พระของนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๐๓” 5ค่มู อื การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภัญญะ

วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั กจิ กรรมสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ๑. เพื่อน้อมใจร�ำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ที่มีต่อตนเองและชาวโลกและได้ฝึกพุทธานุสติ ธัมมานุสติ และสังฆานุสติ ๒. เพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย แกเ่ ดก็ และเยาวชนของชาตใิ ห้มั่นคง ๓. เพื่อให้มีส่วนร่วมในการรักษาสืบสานวัฒนธรรมไทยและขนบธรรมเนียมประเพณี อันดงี าม ๔. เพื่อให้เกิดปัญญา ตระหนักถึงคุณค่าของการประพฤติหลักธรรมตามค�ำส่ังสอน ของพระพทุ ธเจา้ ๕. เพื่อน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน เพื่อความ กา้ วหนา้ มน่ั คงแกต่ นเอง ๖. เพอ่ื สรา้ งความสามัคคีอันดีงามระหว่างหมคู่ ณะและคนในชาติ ๗. เพอ่ื สง่ เสรมิ ความเปน็ ผกู้ ลา้ หาญทางดา้ นจรยิ ธรรม และสรา้ งความมนั่ คงทางดา้ นจติ ใจ ๘. เพือ่ ให้เกดิ ความซาบซง้ึ ในสนุ ทรยี รสของบทประพนั ธแ์ ละภาษาไทย 6 คมู่ อื การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ

อานสิ งสข์ องการสวดมนต์ ๑. ขจัดนิวรณ์ อันเป็นอุปสรรคต่อการท�ำความดี ก่อให้เกิดความสดช่ืนแจ่มใส จิตใจเบิกบาน ๒. ไดศ้ กึ ษาคำ� สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตามหลกั ไตรสกิ ขา เพราะในขณะสวดมนต์ มีกายวาจาปกติ (มีศีล) มีใจจดจ่อแน่วแน่อยู่กับบทสวดมนต์ (มีสมาธิ) ได้รู้คุณความดี ของพระรัตนตรัยตามค�ำแปลของบทสวด (มีปัญญา) ๓. ตัดรากเหง้าแห่งความเห็นแก่ตัว เพราะขณะสวดมนต์จิตจดจ่ออยู่ที่บทสวด ไมค่ ดิ ถึงตัวเอง ความโลภ ความโกรธ ความหลง จงึ ไม่ไดโ้ อกาสเขา้ มาแทรกในจติ ได้ ๔. จิตไม่ขุ่นมัว เกิดสมาธิมั่นคง เพราะขณะสวดมนต์ผู้สวดจะต้องส�ำรวมใจแน่วแน่ ด้วยเกรงว่าจะสวดผิด จติ จึงเปน็ สมาธิ เมอ่ื จิตเปน็ สมาธิความสงบเยอื กเยน็ ย่อมเกดิ ข้ึน ๕. ได้เสริมส่งปัญญาบารมี การสวดมนต์ได้รู้ค�ำแปล รู้ความหมาย ย่อมท�ำให้ผู้สวด ไดป้ ญั ญาบารมี ทำ� ให้คำ� สอนมัน่ คง ไม่ผดิ เพ้ยี นไปจากเดิม ๖. สืบสานความดีสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา เพราะการสวดมนต์ ผู้สวดย่อม ได้รู้แนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินชีวิตท่ดี ี เมื่อปฏบิ ัติตามย่อมไดร้ ับผลเป็นความสะอาด สวา่ ง สงบ ของจิตใจ นั่นคือพระพุทธศาสนาม่ันคงอยู่กับผู้สวดมนต์และถือได้ว่าได้ปฏิบัติบูชาสืบต่ออายุ พระพุทธศาสนาให้ยนื ยาวต่อไปโดยแทจ้ ริง ๗. ท�ำหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกาให้สมบูรณ์ ผู้สวดมนต์ย่อมได้ชื่อว่า ได้ท�ำหน้าที่ ของอบุ าสกอบุ าสกิ าให้สมบูรณ์ เปน็ แบบอย่างให้ผู้อน่ื ปฏิบตั ติ าม เกดิ ความสามคั คีในสงั คมและหมคู่ ณะ 7คมู่ อื การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ



บทท่ี ๒ ลักษณะของบทประพนั ธแ์ ละเนื้อหาสาระ๑ ลักษณะของบทประพันธ์ บทประพนั ธท์ ใ่ี ชเ้ ปน็ บทสวดมนตไ์ หวพ้ ระของนกั เรยี นตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศ ใช้ประจ�ำอยู่ในโรงเรียนน้ัน เฉพาะบทภาษาไทยท่ีใช้ควบคู่กับบทพระพุทธคุณ บทพระธรรมคุณ และบทพระสงั ฆคณุ ทเ่ี ปน็ ภาษาบาลนี นั้ เปน็ บทประพนั ธข์ องพระยาศรสี นุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู ป.ธ.๗ ส�ำนักเรียนวัดสระเกศ ชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา) สมัยรัชกาลที่ ๕ เพ่ือให้นักเรียนใช้สวด เปน็ กจิ กรรมประจำ� วนั ของโรงเรยี น ยงั ใชอ้ ยตู่ ลอดจนถงึ ปจั จบุ นั และยงั ไดน้ ำ� มาใชเ้ ปน็ การประกวด แขง่ ขันสวดมนต์หม่เู ป็นท�ำนองสรภญั ญะด้วย ก่อนที่จะศึกษาเรื่องบทประพันธ์แต่ละบทนั้น ควรจะศึกษาบทบาลีก่อนว่า มีเนื้อหา ใจความว่าอยา่ งไร ๑. บทพระพุทธคุณ “อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนตุ ตฺ โร ปรุ ิสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนสุ สฺ านํ พทุ โฺ ธ ภควาติฯ” แปลวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั ทรงเปน็ พระอรหนั ตห์ า่ งไกลจากกเิ ลส ตรสั รดู้ ว้ ย พระองคเ์ องโดยชอบ เพยี บพร้อมดว้ ยวิชชาและจรณะ เสดจ็ ไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นดจุ สารถี ผู้ฝึกนรชนอย่างยอดเยี่ยม เป็นครูสอนแด่เหล่าเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบาน จ�ำแนกธรรม ดว้ ยประการดงั วา่ มานฯ้ี ท่านพระยาศรีสุนทรโวหาร ท่านได้ถือเอาใจความบางบทในบทพุทธคุณน้ีมาประพันธ์ เปน็ บทสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ โดยใชล้ กั ษณะการประพนั ธเ์ ปน็ บทอนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ซง่ึ ตามลกั ษณะ แผนผงั ของอินทรวิเชียรฉนั ท์ มีบาทละ ๑๑ คำ� (๔ บาท เปน็ ๑ คาถา) ดังนี้ ๑ อาจารย์ธงชยั สมุ นจกั ร ป.ธ.๙ ผเู้ รยี บเรยี ง 9คมู่ ือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ

แผนผังท่ี ๑ (อนิ ทรวิเชยี รฉันท)์ เครอ่ื งหมาย ไม้หันอากาศ ( ) ใช้แทนค�ำ “คร”ุ เคร่อื งหมาย สระอุ ( ) ใชแ้ ทนคำ� “ลหุ” แผนผงั ที่ ๒ (อนิ ทรวิเชียรฉนั ท์) 10 คู่มอื การสวดมนตห์ มู่สรรเสริญพระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ

ขอ้ ทค่ี วรทราบเบอ้ื งตน้ คอื แผนผงั ที่ ๑ นนั้ เปน็ แผนผงั ทเ่ี ปน็ ตน้ แบบของอนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ชนดิ สมั ผัสนอกอยา่ งเดียว แผนผังท่ี ๒ เป็นแผนผังอนิ ทรวิเชยี รฉนั ทท์ ีม่ ที ั้งสมั ผัสนอกและสมั ผสั ใน ผู้ประพันธ์ใช้ท้ังสองลักษณะ ให้สังเกตดูให้ดีจะได้ไม่เข้าใจไขว้เขวว่า เป็นบทประพันธ์อะไรกันแน่ ความจรงิ แล้วเป็นบทอนิ ทรวิเชียรฉันท์ ฉันท์ไทยนิยมแต่งเป็นลักษณะสัมผัส เพื่อให้เกิดความไพเราะ สละสลวยด้วยถ้อยค�ำ แบง่ เปน็ วรรคตน้ ๕ คำ� วรรคหลงั ๖ คำ� รวมเปน็ ๑ บาท ๑๑ คำ� ฉนั ทไ์ ทยนบั เปน็ ๒ บท บทละ ๒ บาท รวม ๒ บทเป็น ๑ ค�ำฉนั ท์ นับงา่ ย ๆ คือ ๔ บรรทดั หรอื ๔ บาทเปน็ ๑ ฉนั ท์หรือค�ำฉนั ท์ภาษาบาลี ๑ คาถามี ๔ บาท ๑ บาทมี ๑๑ คำ� มวี ิธกี ำ� หนดใชค้ ณะฉนั ทด์ ังน้ีคอื ตะคณะ ๑ ตะคณะ ๑ ชะคณะ ๑ คณะละ ๓ ค�ำ ๓ คณะเป็น ๙ ค�ำ คำ� ครลุ อยอีก ๒ ค�ำ รวมเป็น ๑๑ ค�ำพอดี ๑. ตะคณะ ใช้ ๒ คำ� แรกเป็นครุ คำ� ที่ ๓ เปน็ ลหุ รวมเป็น ๓ คำ� ๒. ชะคณะ ใช้ ๑ ค�ำแรกเป็นลหุ คำ� ที่ ๒ เปน็ ครุ ค�ำท่ี ๓ เปน็ ลหุ รวมเป็น ๓ ค�ำ ๓. คำ� ครลุ อย ๒ ค�ำ เปน็ ค�ำครลุ ว้ นทั้ง ๒ คำ� สรปุ รวมงา่ ย ๆ วา่ ใช้ ตะคณะ ๒ คณะ ชะคณะ ๑ คณะ ค�ำครลุ อย ๒ คำ� ดงั บทประพันธ์ทว่ี ่า บทสวดพุทธคณุ (ทำ� นองสรภัญญะ) องค์ใดพระสมั พทุ ธ สวุ สิ ุทธสันดาน ตัดมูลเกลสมาร บ มิหม่นมหิ มองมวั หนง่ึ ในพระทัยท่าน ก็เบกิ บานคือดอกบวั ราคี บ พนั พวั สุวคนธก�ำจร องค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดงั สาคร โปรดหมปู่ ระชากร มละโอฆกันดาร คู่มอื การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย 11 ทำ� นองสรภัญญะ

ชท้ี างบรรเทาทกุ ข ์ และชีส้ ุขเกษมสานต์ ชี้ทางพระนฤพาน อันพน้ โศกวโิ ยคภัย พร้อมเบญจพธิ จกั - ษุจรสั วิมลใส เหน็ เหตุทใี่ กลไ้ กล ก็เจนจบประจักษจ์ ริง กำ� จดั นำ�้ ใจหยาบ สันดานบาปแหง่ ชายหญงิ สัตวโ์ ลกได้พึ่งพิง มละบาปบ�ำเพญ็ บญุ ข้าฯ ขอประณตนอ้ ม ศิรเกล้าบังคมคุณ สัมพทุ ธการญุ - ญภาพนัน้ นริ นั ดรฯ เนือ้ หาสาระ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์มีพระสันดานผุดผอ่ ง ทรงตัดรากเหง้าของกเิ ลสมารทงั้ ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะเสียได้ ปราศจากความหม่นหมอง ในพระทัยของพระองค์มีแต่เบิกบาน ดังดอกบัว ไม่มีราคะมาพนั พัวใด ๆ มแี ตก่ ล่นิ ศลี ท่งี ดงามขจรขจายไป ทรงประกอบด้วยพระกรณุ า อันกว้างขวางดุจสมุทรสาคร โดยพระองค์เองเสด็จจาริกไปโปรดหมู่สัตว์เพ่ือให้พ้นจากห้วงกิเลส อันกันดาร ช้ีทางที่จะบรรเทาทุกข์ลง และทางที่จะเป็นสุขเกษมสงบ ตลอดจนทางอันตรงต่อ พระนพิ พาน เพอื่ ใหห้ ลดุ พน้ จากความโศกและวโิ ยคภยั อนั เกดิ จากความพลดั พรากกนั เพราะพระองค์ ก็ทรงประกอบ ด้วยจักษุ ๕ ประการ คือ มังสะจักษุ (ตาเน้ือ) ทิพย์จักษุ (ตาทิพย์) ปัญญาจักษุ (ตาปัญญา) พุทธจักษุ๑ (จักษุของพระพุทธเจ้า) และสมันตจักษุ (จักษุเห็นรอบทรงประกอบด้วย พระสพั พญั ญตุ ญาณอนั หยง่ั รธู้ รรมทกุ ประการ) ผอ่ งใส เหน็ เหตกุ ารณท์ งั้ ใกลท้ งั้ ไกลจนแจง้ ประจกั ษ์ เพ่ือก�ำจัดน�้ำใจหยาบที่เป็นสันดานบาปของชายหญิง ทรงเป็นที่พึ่งพิงของสัตว์โลกให้ละบาปก็ได้ บำ� เพญ็ บญุ กไ็ ด้ ขา้ พเจา้ ขอนอ้ มเศยี รเกลา้ บงั คมพระคณุ ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผทู้ รงพระการญุ พระองค์น้ัน ชัว่ นิจนริ นั ดร์ฯ ๑ หมายถึงพระญาณ ๓ คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ และอาสวักขยญาณ มีครบเฉพาะพระพุทธเจ้าเท่าน้ัน พระสาวก องคอ์ ่นื ๆ มีไมค่ รบ 12 คมู่ ือ การสวดมนต์หมูส่ รรเสริญพระรัตนตรัย ทำ� นองสรภัญญะ

ข้อสงั เกตในฉนั ท์บทน้ี บาทท่วี ่า องค์ใดพระสมั พุทธ สวุ ิสุทธสนั ดาน บาทท่วี า่ หนง่ึ ในพระทัยทา่ น กเ็ บิกบานคือดอกบวั เปน็ ลกั ษณะของแผนผงั ฉันท์ท่ี ๒ มสี มั ผสั ในดังกล่าวขา้ งต้น บาททวี่ า่ องคใ์ ดประกอบด้วย พระกรุณาดังสาคร บาทที่ว่า พร้อมเบญจพธิ จกั - ษจุ รสั วิมลใส เปน็ ลักษณะของแผนผงั ฉนั ทท์ ี่ ๑ เป็นแบบสมั ผสั นอกอย่างเดียว นอกจากบาทท่ียกมาเป็นตวั อย่างน้แี ล้ว ก็ขอใหพ้ ิจารณาตรวจดูแล้ว จะรวู้ า่ ผปู้ ระพนั ธ์ใช้ ทงั้ ๒ แบบผสมผสานกนั ไป น่ีคือเอกลักษณ์พเิ ศษอย่างหนงึ่ ของกวี อีกประการหนึ่ง บทว่า “ตัดมูลเกลสมาร” เป็นลักษณะของการผันศัพท์ให้สลวยขึ้น จะประพันธ์วา่ ตัดมลู กิเลสมารก็ได้ ซ่งึ กถ็ ูกต้องตามหลกั ของค�ำครุ คำ� ลหุ เหมือนกนั แตท่ ่านกลับ ใช้ค�ำแผลง ผันเป็น เกลสมาร กน็ บั เป็นเชิงกวอี กี ประการหน่งึ วรรคท่ีว่า ชี้ทางพระนฤพาน ก็ดี บาทว่า พร้อมเบญจพิธจัก-ก็ดี เป็นแบบผสมผสาน ระหว่างฉันท์ประเภทมาตราพฤติกับวรรณพฤติเข้าด้วยกัน คือ ค�ำลหุ ๒ ค�ำในฉันท์มาตราพฤติ นับเป็นค�ำครุ ๑ ค�ำ ในฉนั ทว์ รรณพฤติ ค�ำวา่ นฤ ก็ดี พธิ ก็ดี นบั เป็นค�ำครุ ๑ คำ� น้กี น็ บั เปน็ ลักษณะ ของเชงิ กวอี กี ประการหนึ่งเหมือนกนั ข้อสังเกตอีกประการหน่ึง ค�ำครุในท่ีของค�ำลหุ เช่น ค�ำว่า ก็เบิกบาน, และชี้สุข, อันพ้นโศก, กเ็ จนจบ, สนั ดานบาป และ -ญภาพนั้น จะใช้ได้หรืออย่างไร ตรงน้ตี อ้ งขอน�ำหลักฐาน มาชแ้ี จงดงั น้ี แสดงเฉพาะคำ� ทแี่ ปลเปน็ ไทยจากภาษาบาลมี าใหด้ ู “อักษรตัวใดท่ีเป็นตัวต้น เป็นค�ำครุ ในค�ำสังโยคต้นบาทข้างหน้า อักษรตัวนั้น นกั ศึกษาตอ้ งเข้าใจวา่ เปน็ คำ� ลหุไดใ้ นบางกรณี ดังค�ำตัวอยา่ งเช่นวา่ ทสสฺ น เป็นตน้ ” ดังนั้น ค�ำท่ียกมาให้ดูในบทประพันธ์น้ัน ให้ถือว่า “เป็นค�ำลหุ” ได้ ตามหลักฐานน้ี เพอื่ จะไดค้ ลายความสงสัยที่จะตัดสินใจวา่ เปน็ บทฉนั ท์อะไรกนั แน่ ขอ้ ทนี่ า่ ศึกษาคำ� ครุ ค�ำลหไุ ทย คำ� ลหไุ ทย คือ ค�ำท่ีมีสำ� เนยี งเป็น สระอะ อิ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ อวั ะ เอียะ เออื ะ เออะ ฤ ฦ ก็ บ่ บ คู่มอื การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรยั 13 ท�ำนองสรภญั ญะ

คำ� ท่มี สี �ำเนยี งสระนอกจากเสยี งลหทุ ้ังหมด และค�ำที่มตี ัวสะกด เป็นคำ� ครุ คำ� พิเศษ คอื ค�ำท่ีมสี �ำเนียงเป็นสระอำ� เป็นได้ทง้ั ค�ำครุ และลหุ ความหมายของคำ� ครุ และลหุ ในท่ีนี้จะยกความหมายของค�ำครุ ค�ำลหุ เป็นการประกอบใช้เสียงให้ถูกต้องในการสวด เป็นทำ� นองสรภัญญะในโอกาสตอ่ ไปพอเป็นตวั อย่างสกั ๖ นัย ดังนี้   ค�ำครุ คำ� ลหุ คำ� ครุ คำ� ลหุ ช้า เร็ว หนัก เบา ดัง (ธนิต) แผ่ว (สิถลิ ) ยาว สน้ั ก้อง (โฆสะ) ไม่กอ้ ง (อโฆสะ) สูง ต�่ำ วธิ ีการสวดอย่างใดอย่างหนง่ึ จะออกเสยี งใหใ้ กลเ้ คยี งกบั ความหมายดงั วา่ มาน้ี กน็ บั วา่ เปน็ เสยี งครเุ สยี งลหไุ ดเ้ หมอื นกนั เรยี กวา่ เปน็ ศลิ ปะในการใชเ้ สยี งใหใ้ กลเ้ คยี งกบั ลกั ษณะของคำ� ฉนั ท์ ขอ้ สำ� คัญตอ้ งสวดใหม้ คี วามไพเราะตามทำ� นองฉันทน์ ั้น ๆ ๒. บทพระธรรมคุณ สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม, สนฺทิฏฺฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก, โอปนยโิ ก ปจฺจตฺตํ เวทติ พฺโพ วิญหู ตี ิฯ คำ� แปล พระธรรมทพี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไวอ้ ยา่ งดแี ลว้ เปน็ ธรรมทผี่ ปู้ ฏบิ ตั จิ ะเหน็ แจง้ ไดเ้ อง ไมจ่ �ำกัดกาลเวลา ควรเรยี กมาให้พิสจู น์ดู ควรนอ้ มเข้ามาในตนเอง อันวิญญชู นจะพงึ ทราบ ได้จ�ำเพาะตนฯ ทา่ นผปู้ ระพนั ธไ์ ดถ้ อื เอาใจความบางบทในบทพระธรรมคณุ นี้ มาประพนั ธเ์ ปน็ บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ โดยใช้บทกาพยฉ์ บัง ๑๖ เป็นบทประพนั ธ์ บทประพนั ธก์ าพยฉ์ บัง ๑๖ น้ี ไมก่ �ำหนดคำ� เปน็ คณะฉนั ท์ ก�ำหนดแต่เพยี งสมั ผสั เท่านนั้ วรรคแรกกำ� หนด ๖ ค�ำ วรรค ๒ ก�ำหนด ๔ ค�ำ และวรรค ๓ กำ� หนด ๖ คำ� รวมเปน็ ๑๖ ค�ำ มรี ปู ผงั และสมั ผัสดงั น้ี 14 คมู่ ือ การสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ

แผนผังกาพย์ฉบงั ๑๖ บทสวดพระธรรมคุณ (ทำ� นองสรภัญญะ) ธรรมะคือคณุ ากร สว่ นชอบสาธร ดจุ ดวงประทีปชชั วาล ส่องสัตวส์ นั ดาน แหง่ องคพ์ ระศาสดาจารย ์ เป็นแปดพึงยล สวา่ งกระจา่ งใจมนท์ อันลกึ โอฬาร ธรรมใดนบั โดยมรรคผล นามขนานขานไข และเก้ากับทั้งนฤพาน ให้ล่วงลปุ อง สมญาโลกอุดรพสิ ดาร นบธรรมจำ� นง พิสทุ ธิ์พิเศษสุกใส อีกธรรมตน้ ทางครรไล ปฏบิ ตั ิปรยิ ตั เิ ปน็ สอง คือทางดำ� เนนิ ดุจคลอง ยงั โลกอดุ รโดยตรง ข้า ขอโอนออ่ นอตุ มงค์ ด้วยจติ ตแ์ ละกายวาจา (กราบ) ค่มู อื การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย 15 ทำ� นองสรภญั ญะ

เนอ้ื หาสาระ พระธรรมค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เป็นบ่อเกิดคุณงามความดี ที่พระพุทธเจ้าตรัส ไว้ดีแล้ว เป็นเสมือนดวงประทีปส่องให้โชติช่วงชัชวาล ส่องสันดานของหมู่สัตว์ให้สว่างกระจ่างใจ ทม่ี มี ลทนิ อยู่ เมอื่ กลา่ วโดยรวบยอดแลว้ แยกเปน็ มรรค ๔ ผล ๔ และนพิ พาน ๑ รวมเปน็ ๙ ประการ มชี ่อื เรียกว่าโลกตุ รธรรม เปน็ ธรรมท่กี ว้างขวางลึกซงึ้ มาก ทำ� ให้เกิดความบริสทุ ธ์ิผดุ ผอ่ งอย่างวิเศษ สว่ นธรรมทเ่ี ปน็ ตน้ ทางใหด้ ำ� เนนิ ไปถงึ โลกตุ รธรรมนนั้ มอี กี ๒ ประการ มชี อ่ื เรยี กวา่ ปรยิ ตั สิ ทั ธรรม ๑ ปฏิบัติสัทธรรม ๑ ธรรมท้ัง ๒ ประการนี้ เป็นทางด�ำเนินมุ่งตรงต่อโลกุตรธรรมโดยตรง เปรยี บเหมอื นลำ� คลองทไี่ หลตรงสมู่ หาสมทุ ร ฉะนนั้ ขา้ พเจา้ ขอนอ้ มเศยี รเกลา้ นบไหวพ้ ระธรรมนนั้ พร้อมทงั้ จติ ใจและกายวาจาฯ ขอ้ สงั เกตในกาพยบ์ ทนี้ บทกาพยฉ์ บงั ๑๖ นี้ นยิ มประพนั ธเ์ ปน็ บทดำ� เนนิ เรอื่ ง พรรณนาความบทไหวค้ รู บทพากย์ เปน็ ตน้ ข้อสังเกตอีกประการหน่ึงส�ำหรับกรรมการตัดสิน ครูผู้ที่ฝึกสอนนักเรียน และนักเรียน ผสู้ วดท�ำนองสรภญั ญะ คอื บทวา่ “ดจุ ดวงประทปี ชชั วาล” กบั บทวา่ “คือทางดำ� เนินดจุ คลอง” เหตไุ ฉนจงึ สวดไมเ่ หมอื นกัน ทง้ั ท่ีอยู่ในบทสวดบทเดยี วกนั ขอให้พิจารณาดใู หด้ ี ๓. บทพระสังฆคณุ สปุ ฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ อุชุปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ ายปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย อชลีกรณีโย อนุตฺตรํ ปุกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติฯ ค�ำแปล พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติเพื่อ ออกจากทุกข์ ปฏบิ ัตโิ ดยชอบ รวมเปน็ พระสงฆ์ ๔ คู่ (คอื พระโสดาบนั ๑ คู่ พระสกทาคามี ๑ คู่ พระอนาคามี ๑ คู่ พระอรหนั ต์ ๑ ค)ู่ จำ� แนกเปน็ พระอรยิ บคุ คล ๘ คอื พระผตู้ ง้ั อยใู่ นโสดาปตั ตมิ รรค ๑ พระผู้ต้ังอยู่ในโสดาปัตติผล ๑ พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามิมรรค ๑ พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามิผล ๑ พระผู้ต้ังอยู่ในอนาคามิมรรค ๑ พระผู้ตั้งอยู่ในอนาคามิผล ๑ พระผู้ต้ังอยู่ในอรหัตตมรรค ๑ 16 คมู่ ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ

พระผตู้ ง้ั อยู่ในอรหตั ตผล ๑ น้คี ือพระสงฆส์ าวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ทา่ นเป็นผคู้ วรรับของบชู า เป็นผู้ควรต้อนรับ เป็นผู้ควรกระท�ำทักษิณา เป็นผู้สมควรน้อมอัญชลีกราบไหว้ เป็นบุญเขตอัน ยอดเย่ยี มของชาวโลกฯ ทา่ นผ้ปู ระพนั ธ์ ถือเอาใจความบางบทในบทพระสงั ฆคณุ นี้ มาประพันธ์เปน็ บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ โดยใช้บทกาพย์ฉบัง ๑๖ เป็นบทประพันธ์ เหมือนในบทสรรเสริญพระธรรมคุณ สว่ นผังกาพยฉ์ บัง ๑๖ ได้กล่าวไว้แล้วในบทธรรมคณุ ขา้ งต้น บทสวดสงั ฆคณุ (ทำ� นองสรภัญญะ) สงฆใ์ ดสาวกศาสดา รับปฏบิ ัตมิ า แตอ่ งค์สมเด็จภควันต์ เหน็ แจ้งจตุสัจเสรจ็ บรร- ลุทางท่อี ัน ระงบั และดบั ทุกขภ์ ัย โดยเสด็จพระผู้ตรสั ไตร ปัญญาผอ่ งใส สะอาดและปราศมวั หมอง เหินห่างทางข้าศึกปอง บ มลิ ำ� พอง ดว้ ยกายและวาจาใจ เปน็ เนือ้ นาบญุ อนั ไพ- ศาลแด่โลกัย และเกดิ พบิ ลู ย์พูนผล สมญาเอารสทศพล มคี ณุ อนนต์ อเนกจะนับเหลือตรา ขา้ ฯ ขอนบหมพู่ ระศรา- พกทรงคุณา- นุคุณประดจุ ร�ำพัน ดว้ ยเดชบุญข้าอภิวันท ์ พระไตรรัตน์อัน อุดมดิเรกนิรัติสัย จงชว่ ยขจดั โพยภยั อันตรายใดใด จงดับและกลับเสือ่ มสญู ฯ คมู่ อื การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรัตนตรัย 17 ท�ำนองสรภญั ญะ

เน้อื หาสาระ พระสงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจา้ รบั ขอ้ ปฏบิ ตั มิ าแตพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ เหน็ แจง้ ในอรยิ สจั ธรรม ท้ัง ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรคแล้ว จนได้บรรลุทางท่ีสงบระงับดับทุกข์ภัยท้ังส้ินตาม พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผู้ทรงตรสั รูว้ ิชชา ๓ ประการ คือ ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ ๑ จตุ ูปปาตญาณ ๑ อาสวกั ขยญาณ ๑ ทำ� ให้พระสงฆส์ าวกมีปญั ญาผ่องใส สะอาดปราศจากความมวั หมอง ไกลจาก ข้าศึกคือกิเลส มีความส�ำรวมกายวาจาและใจ น่าเลื่อมใสจึงจัดว่าเป็นเนื้อนาบุญอันกว้างขวาง แกช่ าวโลก นำ� ใหเ้ กดิ ผลอนั ไพบลู ย์ พระสงฆส์ าวกนจ้ี งึ มสี มญั ญาเปน็ พระโอรสของพระทศพลพทุ ธเจา้ มพี ระคุณอเนกอนันต์เหลอื ทจ่ี ะคณานับ ขา้ พเจา้ จงึ ขอนบนอ้ มหมพู่ ระสงฆส์ าวกผทู้ รงคณุ านคุ ณุ ดงั พรรณนามา และดว้ ยเดชะบญุ ที่ข้าพเจ้านบไหว้พระรัตนตรัยอันย่ิงใหญ่ด้วยอุดมคุณน้ี ได้โปรดช่วยขจัดภัยทั้งปวง และขอให้ อนั ตรายใด ๆ จงดบั และกลบั เสื่อมสญู ไปดว้ ยเทอญฯ ข้อสงั เกต ในบทสวดสังฆคุณนี้ ค�ำครอ่ มวรรคท่ีมยี ตั ภิ ังคห์ ลายแหง่ เช่น “เหน็ แจง้ จตสุ จั เสร็จบรร” “เป็นเนื้อนาบุญอันไพ” เป็นต้น การสวดจะต้องเอื้อนเสียงหรือลากเสียงไปถึงตัวข้างหลังด้วย โดยมิให้ขาดค�ำหรือมิให้เสียงขาด เพราะเป็นค�ำเดียวกัน เช่น บรร-ลุ ไพ-ศาล ดังนั้นผู้ฝึกสอน และฝึกสวดตอ้ งใชศ้ ิลปะอยา่ งนด้ี ว้ ย บทประพนั ธท์ งั้ ๓ บทน้ี มขี อ้ สงั เกตรวม ๆ อกี ประการหนง่ึ ทน่ี กั ประพนั ธ์ หรอื นกั วรรณคดี ต้องสงั เกตใหร้ ไู้ ว้ คือ ตวั สดุ ท้าย หรอื ค�ำลงท้ายของบทประพันธแ์ ตล่ ะบท จะต้องไปสมั ผสั กบั บท ต่อไปเสมอ เช่น ค�ำลงท้ายท่ี ๑ สัมพุทธการญุ - ญภาพนั้นนิรนั ดร ค�ำข้นึ ตน้ ท่ี ๒ ธรรมะคือคุณากร ส่วนชอบสาธร ค�ำข้นึ ตน้ ท่ี ๒ - ด้วยจติ และกายวาจา คำ� ลงท้ายที่ ๓ สงฆ์ใดสาวกศาสดา รับปฏิบัตมิ า จะเหน็ วา่ ค�ำว่า “ดร” ตอ่ สัมผัสกับค�ำวา่ “ธร” ในบทที่ ๒ คำ� ลงท้ายท่ี ๒ “วาจา” สมั ผัส กับค�ำว่า “มา” ในค�ำข้ึนต้นบทท่ี ๓ ค�ำลงท้ายบทก่อนจะต้องสัมผัสกับค�ำสุดท้ายของบทข้ึนต้น 18 คู่มือ การสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ทำ� นองสรภัญญะ

ของบทตอ่ ไปเสมอ ในเมอื่ ประพนั ธเ์ ปน็ เรอื่ งเดยี วกนั เปน็ ลกั ษณะของพวงรอ้ ย ใหค้ ลอ้ งจองกนั ไปทกุ บท จนจบเรอ่ื ง เหมอื นกบั พวงดอกไมท้ ร่ี อ้ ยตดิ ตอ่ กนั ไป นเ้ี ปน็ เรอ่ื งกรรมวธิ บี ทประพนั ธท์ จ่ี ะตอ้ งนำ� ไปใช้ ๔. บทสวดชยสิทธิคาถา ส�ำหรับบทสวดน้ี ขอท�ำความเข้าใจว่า เฉพาะบทที่เป็น ภาษาบาลีสืบประวัติไม่ได้ว่า คณะสงฆ์ลังกาหรือคณะสงฆ์ไทยเป็นผู้ประพันธ์ เพราะใช้สวดกันมา เปน็ เวลานานแลว้ จนกระทงั่ ไมร่ ผู้ ปู้ ระพนั ธ์ ใจความของบทประพนั ธน์ พ้ี รรณนาถงึ เรอ่ื งชยั ชนะของ พระพทุ ธเจา้ ถงึ ๘ เรอ่ื งดว้ ยกนั ดงั ทพ่ี ระสงฆส์ วดบทถวายพรพระอยใู่ นวนั พระ วนั ทำ� บญุ ตกั บาตรกนั หรอื สวดมนตใ์ นงานพธิ ตี า่ ง ๆ กันจนจบทง้ั ๘ เร่อื ง แตท่ ีน่ �ำมาสวดเปน็ บทสวดมนต์ของนักเรยี นนี้ นำ� มาสวดเฉพาะเรื่องแรก หรอื เรอื่ งตน้ เท่านน้ั และเปลีย่ นบทสดุ ท้ายจากเดมิ วา่ “ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงคฺ ลาน”ิ เปน็ ว่า “ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยสทิ ฺธิ นิจฺจํ” เพื่อใหเ้ หมาะกบั วตั ถุประสงค์ที่จะนำ� มาใชแ้ ละเป็นการถกู ตอ้ งตามคณะฉนั ท์ ๑๔ ทุกประการ บทฉันทลักษณ์นี้ เป็นลักษณะของฉันท์ ๑๔ ค�ำฉันท์ มีชื่อเรียกหลายประการ แตท่ ี่นิยมเรยี กกันทั่วไป เรยี กว่า “วสันตดิลกฉันท”์ มกี �ำหนดคณะฉันทใ์ ชป้ ระพนั ธ์ดงั น้ี คอื ตะคณะ ภะคณะ ชะคณะ ชะคณะ คณะละ ๓ คำ� ๔ คณะ เปน็ ๑๒ ค�ำ บวกครุลอย อกี ๒ คำ� เปน็ ๑๔ คำ� ดงั มผี งั ดงั ตอ่ ไปนี้ แผนผังวสนั ตดลิ กฉันท์ ตะคณะ ภะคณะ ซะคณะ ซะคณะ ครลุ อย ตวั อยา่ งบาลี พา หุ ส หส ส ม ภิ นมิ  มิ ต สา วุ ธน ตํ ฉันท์ไทย ปาง เมือ่ พระ องค์ ป ร ม พุท ธ วิ สุท ธ ศาส - ดา ค่มู ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรตั นตรยั 19 ท�ำนองสรภญั ญะ

รวม ๔ บรรทัด หรอื ๔ บาทเป็น ๑ คำ� ฉนั ท์ ส�ำหรับฉันท์ ๑๔ ส่วนภาษาไทยเป็นบทพระราชนิพนธ์ของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๖ ทรงประพนั ธใ์ ชใ้ นกจิ กรรมของเสอื ปา่ ทพี่ ระองคท์ รงกอ่ ตง้ั ขน้ึ ในรชั สมยั ของพระองค์ ใชส้ วดตอ่ จาก ๓ บทข้างต้นในคราวเสด็จออกไปทรงฝึกเสือป่าตามค่ายต่าง ๆ และใช้เป็นบทสวดมนต์นักเรียน สบื มาจนถึงปจั จุบนั นี้ บทสวดชยสิทธิคาถาบาลี พาหุ สหสสฺ มภินิมฺมิตสาวุธนตฺ ํ ครฺ ีเมขลํ อุทิตโฆรสเสนมารํ ทานาทธิ มฺมวธิ นิ า ชิตวฺ า มุนินโฺ ท ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยสทิ ธฺ ิ นิจจฺ ฯํ ค�ำแปล พระสัมมาพุทธเจ้าจอมมุนี ทรงชนะพญามารพร้อมทั้งหมู่เสนามารท่ีโห่ร้องมา อยา่ งกึกก้อง มีแขนตั้งพัน เนรมติ อาวุธมาพร้อมสรรพ ขชี่ ้างคิรเี มขมา ดว้ ยธรรมวธิ ีมีทาน เป็นต้น ดว้ ยเดชะอ�ำนาจชัยชนะของพระสมั พทุ ธเจ้านั้น ขอความสมั ฤทธิชัย จงมแี ก่ทา่ นทกุ เม่ือฯ บทฉนั ท์ ๑๔ ไทย บทวสันตดิลกฉันท์ไทยจัดวรรคตอนและสัมผัสไว้ต่างจากฉันท์บาลี ถึงจะใช้คณะฉันท์ เหมือนกนั แตค่ วามไพเราะสละสลวยของฉันท์ กำ� หนดดว้ ยถ้อยค�ำและการสมั ผัสเป็นสำ� คัญ มีการ แบ่งวรรคถ้อยค�ำและการสมั ผสั ดังตอ่ ไปน้ี แต่ยงั คงใช้สวดตามท�ำนองฉนั ท์ภาษาบาลีเหมือนกนั 20 คูม่ อื การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภัญญะ

แผนผังวสนั ตดลิ กฉนั ท์ภาษาไทย บทสวดชยสทิ ธคิ าถา (ท�ำนองสรภัญญะ) ปางเม่ือพระองค์ปรมพุท- (รบั พรอ้ มกนั ) ธวสิ ุทธศาสดา ตรสั รอู้ นุตตรสมา- ธิ ณ โพธบิ ลั ลังก ์ ขนุ มารสหสั สพหุพา- หวุ ชิ าวิชติ ขลัง ข่คี รี เิ มขลประทงั คชเหยี้ มกระเหิมหาญ แสร้งเสกสราวุธประดษิ ฐ ์ กลคดิ จะรอนราญ รมุ พลพหลพยหุ ปาน พระสมุททะนองมา หวงั เพื่อผจญวรมุนนิ - ทสชุ นิ ราชา พระปราบพหลพยหุ มา- รมเลอื งมลายสูญ ดว้ ยเดชองค์พระทศพล สวุ ิมลไพบลู ย์ ทานาทิธมั มวธิ กิ ลู ชนน้อมมโนตาม ค่มู อื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรยั 21 ทำ� นองสรภัญญะ

ด้วยเดชสจั จวจนา และนมามอิ งคส์ าม ขอจงนกิ รพลสยาม ชยสิทธทิ กุ วาร ถงึ แม้จะมอี รวิ เิ ศษ พลเดชเทียมมาร ขอไทยผจญพิชิตผลาญ อริแมน้ มุนินทรฯ เน้อื หาสาระ ในสมัยท่ีองค์พระบรมศาสดาตรัสรู้พระอนุตตระสัมมาสัมโพธิญาณแล้วประทับนั่งอยู่ ณ โพธิบลั ลงั ก์ ขณะน้นั พญามารผ้มู ีวิชาขลังเนรมิตตนเองมีมือมแี ขนตง้ั พันหน่งึ นั่งอยู่บนคอช้าง เนรมิตรมีชื่อว่า ช้างคีรีเมข มีนิสัยเห้ียมหาญ พญามารเนรมิตเหล่าพลเสนาให้ถือเอาอาวุธ พรอ้ มสรรพ พารพ้ี ลมามากมาย เปรยี บปานกบั คลน่ื ทะเลหลวง หวงั เพอ่ื จะรมุ พลผจญพระจอมมนุ ชี นิ เจา้ ใหพ้ า่ ยแพ้ แตต่ นเองพรอ้ มทง้ั หมพู่ ลทง้ั หมดกลบั ถกู พระชนิ เจา้ ปราบจนราบคาบไป โดยทรงอธษิ ฐาน พระทัยถึงพระบารมี ๓๐ ทัศที่ทรงบ�ำเพ็ญมามีทานบารมี เป็นต้น หมู่นิกรชนจึงน้อมใจชื่นชมใน มารวชิ ัย เปน็ ตน้ ก�ำเนิดเกิดพระพทุ ธรูปปางมารวิชัยขน้ึ ดว้ ยเดชอำ� นาจกล่าวสัจวาจาน้ีและเดชอำ� นาจท่ขี ้าพเจ้านอบนอ้ มตอ่ พระไตรรตั น์ขา้ งต้น ขอให้หมู่นิกรชาวสยามจงมีชัยสิทธิตลอดไป ถึงแม้จะมีอริราชศัตรูผู้วิเศษมีเดชเทียมมารก็ตาม ขอชาวไทยไดพ้ ชิ ติ ผลาญศตั รไู ปดงั แมน้ พระจอมมนุ ีนัน้ เทอญฯ 22 คมู่ ือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ

ข้อสงั เกต ในฉนั ทบ์ ทภาษาไทยนี้ มบี ททมี่ คี ำ� ครอ่ มวรรคทม่ี ยี ตั ภิ งั คอ์ ยหู่ ลายแหง่ ครผู ฝู้ กึ สอนจะตอ้ ง สอนให้นักเรียนสวดเอ้ือนเสียงให้ไปต่อกับตัวหลังจนคล่อง หรือช�ำนาญ เสียงจะได้ไม่ขาดสายไป โดยเฉพาะกค็ อื ฝกึ ใหน้ กั เรยี นผลัดกนั หายใจ เชน่ หายใจ ๒ คน คลอเสยี งไป ๓ คน แลว้ ๒ คนแรก รับตอ่ ๓ คนหลังหายใจ แล้วจงึ รบั กันตอ่ ไปทง้ั หมดพรอ้ มกนั เฉพาะเร่ืองค�ำยัติภังค์น้ี ขอย�้ำอีกนิดว่า เฉพาะในบทสวดพระพุทธคุณ บาทสุดท้ายที่ว่า “สมั พทุ ธการญุ - ญภาพนัน้ นริ ันดร” ตัว การญุ ให้เอือ้ นเสยี งโดยมิใหต้ อ่ กับค�ำบทหลงั ให้เอื้อนเสียง ไปตามสมควร แล้วหยุดให้เสียงขาดไปเลย แล้วจึงสวดต่อว่า -ญภาพน้ันนิรันดร ทั้งนี้เพราะเป็น บทสวดทจี่ ะจบลงแลว้ อน่ึง เพ่ือให้เยาวชนเข้าใจและซาบซ้ึง ในคุณของพระรัตนตรัย พึงทราบความหมาย คณุ ของพระรตั นตรยั โดยย่อเพ่ิมเตมิ ดังนี้ คือ พระรัตนตรยั : หมายถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ พระพุทธคณุ มี ๙ ประการคอื ๑. อรหงั เป็นผูไ้ กลจากกเิ ลส ๒. สมั มาสัมพุทโธ เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบไดด้ ้วยพระองคเ์ อง ๓. วชิ ชาจรณสัมปนั โน เป็นผถู้ ึงพร้อมด้วยความรูแ้ ละความประพฤติ ๔. สุคโต เปน็ ผูเ้ สด็จไปดีแลว้ ๕. โลกวทิ ู เปน็ ผ้รู ู้แจง้ โลก ๖. อนุตตโร ปรุ ิสทัมมสารถ ิ เป็นสารถผี ้ฝู ึกบุรุษได้อย่างไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่ ๗. สตั ถา เทวมนุสสานงั เป็นศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย ๘. พทุ โธ เป็นผ้รู ้ตู ืน่ และเบิกบานแล้ว ๙. ภควา เปน็ ผมู้ โี ชคและเปน็ ผจู้ ำ� แนกแจกธรรม โดยสรุปพระคณุ ของพระพทุ ธเจา้ มี ๓ ประการคือ ๑. ปัญญาธคิ ณุ พระคุณคอื พระปญั ญาอนั ย่งิ ๒. วิสทุ ธคิ ุณ พระคุณคือความบริสุทธิ์ ๓. มหากรณุ าคุณ พระคณุ คือพระมหากรุณา คู่มือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย 23 ท�ำนองสรภญั ญะ

พระธรรมคณุ มี ๖ ประการ คือ ๑. สวากขาโต ภควตา ธัมโม พระธรรมอันพระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรสั ไวด้ ีแล้ว ๒. สันทิฏฐิโก อนั ผปู้ ฏบิ ัตจิ ะพึงเหน็ ไดด้ ้วยตนเอง ๓. อกาลโิ ก ไมป่ ระกอบด้วยกาลเวลา ๔. เอหปิ สั สิโก ควรเรียกใหม้ าดู หรือมาพสิ ูจน์ ๕. โอปนยิโก ควรนอ้ มเขา้ มาไวใ้ นใจ ๖. ปจั จตั ตัง เวทิตัพโพ วญิ ญูหิ อันวิญญูชนพึงรไู้ ด้เฉพาะตน โดยประเภทเรยี กวา่ “สทั ธรรม” มี ๓ ประการ คอื ๑. ปริยัตติสทั ธรรม คำ� สัง่ สอนทจ่ี ะตอ้ งศึกษาเลา่ เรียน ได้แก่ พระพุทธพจน์ ๒. ปฏปิ ตั ติสัทธรรม ปฏปิ ทาทจี่ ะต้องปฏิบตั ิ ไดแ้ ก่ มรรคมีองค์ ๘ หรอื ไตรสิกขา ๓. ปฏิเวธสัทธรรม ผลอันจะพึงเข้าถึงหรือบรรลดุ ้วยการปฏบิ ัตโิ ดยชอบ ได้แก่ มรรคผล และนิพพาน สงั ฆคณุ มี ๙ ประการ คอื ๑. สุปฏิปนั โน เป็นผ้ปู ฏบิ ัติดี ๒. อุชุปฏิปันโน เป็นผ้ปู ฏิบัติตรง ๓. ญายปฏปิ นั โน เปน็ ผูป้ ฏบิ ตั ถิ กู ทาง ๔. สามจี ิปฏิปนั โน เปน็ ผปู้ ฏิบตั ิสมควร ๕. อาหุเนยโย เป็นผสู้ มควรรับของท่เี ขานำ� มาถวาย ๖. ปาหเุ นยโย เป็นผู้ควรแกก่ ารต้อนรับ ๗. ทกั ขเิ ณยโย เปน็ ผ้คู วรแกท่ ักษณิ า หรอื ควรแกข่ องทำ� บญุ ๘. อัญชลกี รณโี ย เปน็ ผคู้ วรแกก่ ารกราบไหว้ ๙. อนตุ ตรงั ปุญญกั เขตตัง โลกัสสะ เป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยย่ี มของโลก พระสงฆ์มี ๒ ประเภท คือ ๑. พระอริยสงฆ์ ๒. พระสมมติสงฆ์ 24 คมู่ อื การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรัย ทำ� นองสรภัญญะ

ขอ้ สงั เกตเรื่องทำ� นองสวด ๑. การสวดภาษาบาลี มีทำ� นองสวด ๒ แบบ คอื ทำ� นองมคธ กบั ท�ำนองสังโยค ท�ำนองมคธ เน้นความชัดเจนของคำ� และมีจังหวะหยุดเปน็ วรรคๆ ทำ� นองสงั โยค เป็นการสวดตดิ ต่อกันไปเร่ือย ๆ มีจงั หวะหยุดหายใจแบบลักหายใจ ส้นั ๆ ตรงคำ� ทม่ี ีตัวสะกด แมก่ ก แมก่ ด แมก่ บ ในคำ� ทีม่ ีสระเสียงสน้ั การสวดท�ำนองสังโยค ค�ำข้ึนต้นภาษาบาลีทุกบท ให้ข้ึนเพียงค�ำเดียวทุกบท (ยกเว้น อิติปิ โส ใหข้ ้ึนวา่ อติ ปิ ิ โส) ไม่ต้องเหินเสยี งขน้ึ ใหส้ ูง เอื้อนเสยี งไปเรียบ ๆ ดงั น ้ี บทสวดนมสั การ ขึน้ ว่า นโม…แล้วรับ ตัสสะ ฯลฯ บทพระพทุ ธคณุ ขึ้นว่า อิติปิ โส .แล้วรับ ภควา ฯลฯ บทธรรมคณุ ข้นึ วา่ สวากขาโต แลว้ รบั ภควตา ฯลฯ บทสงั ฆคณุ ข้นึ ว่า สปุ ฏปิ ันโน….แล้วรับ ภควโต ฯลฯ บทชยสิทธคิ าถา ข้ึนวา่ พาหุง ….แล้วรับ สหัสสะ ฯลฯ ๒. การสวดภาษาไทย ซึ่งเป็นค�ำสรรเสริญหรือพรรณนาคุณของพระรัตนตรัยน้ัน แตง่ ดว้ ยคำ� ประพนั ธ์ เปน็ ฉนั ทบ์ า้ ง เปน็ กาพยบ์ า้ ง ตามระเบยี บกำ� หนดใหส้ วดเปน็ ทำ� นองสรภญั ญะ ไมใ่ ช่สวดแบบอา่ นท�ำนองเสนาะ ๓. การสวดทำ� นองสรภัญญะ เน้นความไพเราะ อยทู่ ีก่ ารใช้เสียง ลลี า จงั หวะ เปน็ ส่วน ประกอบ จงั หวะ คือหัวใจของการสวดท่ีมที ั้งจงั หวะหนกั เบา และกลาง เสียง นน้ั มที ง้ั เสยี ง สั้น ยาว เบา แรง คมู่ อื การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั 25 ท�ำนองสรภัญญะ



บทท่ี ๓ การประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ๑. การจัดการประกวดสวดมนตห์ มูส่ รรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ทางราชการรว่ มกบั คณะสงฆไ์ ดจ้ ดั กจิ กรรมงานสง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนา เนอ่ื งในวนั วสิ าขบชู า การประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของงานนี้ ซงึ่ ผชู้ นะเลศิ และรองชนะเลศิ จะไดเ้ ขา้ รบั โลพ่ ระราชทานจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวนั เสดจ็ เปดิ งานสง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนาวนั วสิ าขบชู า โดยศนู ยป์ ระสานงาน ทหารกองหนนุ แหง่ ชาติ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารกองอำ� นวยการรกั ษาความมน่ั คงภายใน เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ให้มีการประกวดขึน้ ทงั้ ในสว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค โดยจดั คร้ังแรกท่ีวัดมหาธาตฯุ ท่าพระจนั ทร์ กรุงเทพมหานคร ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๗ ศนู ยป์ ระสานงานทหารกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ร่วมกับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดอนงคารามและศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย จัดประกวดท่ีวัดอนงคาราม เขตคลองสาน กรงุ เทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มอบให้กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธิการ รับไปดำ� เนินการ ร่วมกับส�ำนักงานบริหารการศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งประเทศไทย (สพท.) และศูนย์ สง่ เสริมพระพุทธศาสนาแหง่ ประเทศไทย โดยจัดการแขง่ ขันขึน้ ทีว่ ัดอนงคาราม ได้จดั การปรบั ปรงุ และพัฒนารูปแบบการแข่งขนั และวิธีการสวดมนตใ์ ห้ดีข้ึน เป็นที่นยิ มแพร่หลายทัว่ ไป เมอื่ สมยั ทศ่ี นู ยป์ ระสานงานทหารกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) เปน็ แกนนำ� การแขง่ ขนั รอบคดั เลอื กไดแ้ บง่ เปน็ ๕ ภาค คอื ศนู ยป์ ระสานงานทหารกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) กองอำ� นวยการ รกั ษาความมนั่ คงภายใน (กอ.รมน.) ภาค ๑,๒,๓,๔ (ตามกองทพั ภาคทงั้ ๔ ภาคของกองทพั บก) เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การ และสว่ นกลางกรงุ เทพฯ ศนู ยป์ ระสานงานทหารกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) เป็นผู้ด�ำเนินการ ต้ังแต่ระดับจังหวัด ภาค ให้เสร็จสิ้นก่อนวันมาฆบูชาของแต่ละปี โดยคัดเลือก ค่มู อื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสริญพระรตั นตรัย 27 ท�ำนองสรภญั ญะ

เอาภาคละ ๒ โรงเรียน (ระดับประถมศกึ ษา ๑ โรงเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๑ โรงเรียน) มาแข่งขนั รอบชิงชนะเลิศทกี่ รุงเทพมหานคร ระดับละ ๕ โรงเรยี น รวมเป็น ๑๐ โรงเรียน ต่อมาเมื่อกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ในขณะน้ันเป็นแกนน�ำในการจัด การแข่งขัน ได้จัดให้มีการแข่งขันระดับจังหวัดทุกจังหวัด คัดเลือกให้เหลือจังหวัดละ ๒ โรงเรียน คอื ระดบั ประถมศึกษา ๑ โรงเรียน มัธยมศกึ ษา ๑ โรงเรียน แลว้ ส่งเขา้ แข่งขนั ระดับเขตการศกึ ษา ทจี่ ังหวัดนนั้ ๆ สงั กดั อยู่ ซึ่งเขตการศกึ ษาทว่ั ประเทศมี ๑๒ เขต แตล่ ะเขตการศกึ ษาจะคดั เลือก ให้เหลอื เพียง ๒ โรงเรียน คอื ระดบั ประถมศกึ ษา ๑ โรงเรียน มัธยมศึกษา ๑ โรงเรียน เชน่ เดยี วกนั จากน้ันสง่ เขา้ ชิงชนะเลิศระดับประเทศที่กรงุ เทพมหานคร ส่วนท่ีกรุงเทพมหานครน้ัน จัดเปน็ เขต การศึกษาพิเศษ ท�ำการแข่งขันเช่นเดียวกัน แต่คัดเลือกโรงเรียนท่ีจะเข้าชิงชนะเลิศไว้ระดับละ ๓ โรงเรียน เนอ่ื งจากมโี รงเรียนทส่ี มัครเขา้ แขง่ ขนั จ�ำนวนมาก รวมโรงเรยี นทเ่ี ข้าแขง่ ขันชงิ ชนะเลศิ จำ� นวน ๓๐ โรงเรียน แบง่ เป็นระดับประถมศึกษา ๑๕ โรงเรยี น ระดบั มัธยมศกึ ษา ๑๕ โรงเรยี น ผูท้ ่ชี นะท่ี ๑, ๒, ๓ แต่ละระดับ และชมเชยอกี ระดบั ละ ๓ โรงเรียน จะไดเ้ ขา้ รบั โล่พระราชทาน ประดับพระนามย่อ “สธ” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ เสดจ็ ประกอบพิธเี ปิดงานสัปดาหส์ ง่ เสริมพระพทุ ธศาสนาวนั วิสาขบชู า เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ทางราชการได้มีการปรับเปลี่ยนกระทรวง ทบวง กรมใหม่ โดยกรมการศาสนาได้ไปสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นกระทรวงต้ังข้ึนใหม่ ยังไม่มีหน่วยงาน วัฒนธรรมระดับภาค มีแต่ระดับจังหวัด จึงต้องอาศัยภาคการปกครองของคณะสงฆ์ ซ่ึงมีท้ังหมด ๑๘ ภาค แทนเขตการศกึ ษาเดมิ เพราะฉะนนั้ ในสว่ นภมู ภิ าคเมอ่ื โรงเรยี นไดเ้ ขา้ แขง่ ขนั ในระดบั จงั หวดั เสร็จเรียบร้อยแล้วก็คัดเลือกเอาโรงเรียนที่ชนะเลิศระดับภาค (ตามการปกครองของคณะสงฆ์) ในระดับ ประถมศึกษา ๑ โรงเรียน และมัธยมศึกษา ๑ โรงเรียน เข้าแข่งขันในระดับประเทศ ที่กรุงเทพมหานคร รวมโรงเรียนทงั้ หมด ๓๖ โรงเรยี น ส่วนที่กรุงเทพมหานครจัดเป็นเขตภาคการศึกษาพิเศษท�ำการประกวดเช่นเดียวกัน แต่คัดเลือกโรงเรียนที่จะเข้าไปชิงชนะเลิศไว้ระดับละ ๓ โรงเรียน รวมโรงเรียนท่ีจะเข้าแข่งขัน ระดบั ประเทศทง้ั หมด ๔๒ โรงเรียน แบ่งเป็นระดบั ประถมศึกษา ๒๑ โรงเรยี น ระดับมัธยมศกึ ษา ๒๑ โรงเรียน ผู้ท่ีชนะท่ี ๑,๒,๓ และชมเชย ๑,๒,๓ ทั้ง ๒ ระดับ จะได้เข้ารับโล่พระราชทาน ประดับพระนามย่อ “สธ” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชมารี ในวันท่ีเสด็จ ประกอบพิธีเปดิ งานสัปดาห์สง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนาเนื่องในวนั วิสาขบชู า ณ มณฑลพธิ ที ้องสนามหลวง 28 คูม่ อื การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ

นกั เรียนทเี่ ขา้ แขง่ ขนั ระดับประเทศที่วัดอนงคาราม ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒. ส่ือและอุปกรณ์ที่ใช้เป็นแนวการฝึกฝนสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำ� นองสรภัญญะ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะนี้ เดมิ ทไี มม่ รี ปู แบบ ไมม่ ตี วั อยา่ ง ในการสวดที่เป็นมาตรฐานท่ีชัดเจน เมื่อมีการจัดประกวดข้ึนก็มีการพัฒนารูปแบบของการสวด วิธีสวด กติกาและกฎเกณฑต์ ่าง ๆ โดยมีการพัฒนาจัดท�ำตน้ แบบในการสวดตามลำ� ดับ ดงั นี้ ครั้งที่ ๑ ศนู ย์ประสานงานกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) จดั ท�ำเมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๗ นักเรียน โรงเรยี นวดั ประสพ จังหวดั สรุ นิ ทร์ สวดบันทกึ คร้งั ที่ ๒ ศนู ยป์ ระสานงานกองหนนุ แหง่ ชาติ (ศกนช.) รว่ มกบั กรมการศาสนาและศนู ยศ์ กึ ษา พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยว์ ดั อนงคาราม จดั ทำ� ขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๕๓๒ โดยนกั เรยี น โรงเรยี นสตรวี ดั ระฆัง กรุงเทพมหานคร สวดบันทึกเสียงท่กี รมประชาสัมพันธ์ ครั้งที่ ๓ กรมการศาสนา จัดท�ำเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยคณะนักเรียนศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร สวดบันทึก ครงั้ ท่ี ๔ กรมการศาสนาร่วมกับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดอนงคาราม จดั ทำ� ขน้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ บนั ทกึ เปน็ แถบวดี ทิ ศั น์ (วดี โิ อเทป) จำ� นวน ๒,๐๐๐ มว้ น นักเรียนโรงเรียนศึกษานารี สวดบันทึกและได้ถ่ายเสียงจากวีดิโอเทปเป็น แถบบันทึกเสียง ๕,๐๐๐ ม้วน มูลนิธิ “แถม-สร้อย ชอบฝึก” เป็นผู้อุปถัมภ์ ในการจัดท�ำ คู่มือ การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรยั 29 ท�ำนองสรภัญญะ

คร้ังท่ี ๕ สำ� นกั งานบรหิ ารการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยแ์ หง่ ประเทศไทย จดั ทำ� เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นแถบบนั ทึกเสียง จำ� นวน ๕,๐๐๐ ม้วน และ VCD อกี จำ� นวน ๓,๐๐๐ แผน่ โดยถ่ายมาจากวดี ิทัศน์ (วีดิโอเทป) ทีม่ ีอย่แู ลว้ ครง้ั ท่ี ๖ สำ� นกั งานบรหิ ารการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยแ์ หง่ ประเทศไทย จดั ทำ� เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๙ เปน็ VCD จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ แผน่ โดยมนี กั เรยี นทไ่ี ดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ ระดับประเทศ ในงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาวันวิสาขบูชาประจ�ำปี ๒๕๔๙ คือ โรงเรยี นสงวนหญงิ จังหวัดสุพรรณบรุ ี เป็นผสู้ วดบนั ทกึ ระดับมัธยม และโรงเรยี นวดั อยั ยิการาม จังหวัดปทุมธานี เป็นผ้สู วดบันทึกระดับประถม ๓. ระเบียบปฏิบัติในการประกวดสวดมนต์หมู่ ระเบยี บปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหก้ ารจดั ประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ มีแบบแผนใช้เป็นแนวทางปฏิบัติท่ีจะช่วยรักษาวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ไทย จึงวางระเบียบ ปฏบิ ตั ใิ นการจัดประกวดสวดมนตห์ มู่ฯ ไว้ ดงั ต่อไปน้ี ๑. ผู้เข้าประกวดเข้าไปในสถานที่จัดไว้ โดยเดินเข่าเรียงหน่ึงหรือเป็นแถวหน้ากระดาน ตรงไปที่โต๊ะหมบู่ ชู า กราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ ครั้ง แลว้ ท�ำความเคารพธงชาติ และพระบรม ฉายาลักษณ์ ตามลำ� ดับ ๒. ระเบียบปฏบิ ัตแิ ละบทสวดท่กี �ำหนดใช้ประกวด 30 คมู่ อื การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรัย ทำ� นองสรภัญญะ

๒.๑ นงั่ คกุ เขา่ ประนมมอื สวดบทนมสั การพระรตั นตรยั แบบสวดนำ� (อรหงั สมั มาสมั พทุ โธ ภควาฯลฯ) ๒.๒ สวดบทนมัสการพระพทุ ธเจ้า (นโม ตัสสะ ภควโต ฯลฯ) ๒.๓ สวดบทพระพทุ ธคุณ ภาษาบาลี (อติ ิปิ โส ภควา ฯลฯ) ท�ำนองสังโยค เสรจ็ แล้ว สวดบทพระพทุ ธคณุ ภาษาไทย (องคใ์ ดพระสัมพทุ ธ ฯลฯ) ท�ำนองสรภญั ญะ จบแลว้ กราบ ๑ ครงั้ ๒.๔ สวดบทพระธรรมคณุ ภาษาบาลี (สวากขาโต ภควตา ธมั โม ฯลฯ) ทำ� นองสงั โยค สวดบทพระธรรมคุณภาษาไทย (ธรรมคือคุณากร ฯลฯ) ท�ำนองสรภญั ญะ จบแล้วกราบ ๑ คร้ัง ๒.๕ สวดบทพระสังฆคุณ ภาษาบาลี (สุปฏิปันโน ภควโต ฯลฯ) ท�ำนองสังโยค สวดบทพระสังฆคณุ ภาษาไทย (สงฆ์ใดสาวกศาสดา ฯลฯ) ทำ� นองสรภญั ญะ จบแลว้ กราบ ๑ ครงั้ ๒.๖ สวดบทชยสิทธิคาถา ภาษาบาลี (พาหุง สหัสสะ.. ฯลฯ) ท�ำนองสังโยค สวดบทชยสิทธิคาถาภาษาไทย (ปางเมื่อพระองคป์ รมพทุ ธ ฯลฯ) ท�ำนองสรภญั ญะ จบแล้วกราบ ๑ ครง้ั วางมอื ลงอย่ใู นทา่ เตรยี ม ๒.๗ กราบลาพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์อีก ๓ ครั้ง เดินเข่าถอยออกมา แต่พองาม ยนื ขึ้นแลว้ เดนิ เรยี งหนง่ึ ออกไปจากสถานท่ปี ระกวด เป็นเสรจ็ พธิ ี ถา้ ในสถานทจ่ี ดั ประกวดมกี ารตงั้ โตะ๊ หมบู่ ชู าธงชาตไิ ทยและพระบรมฉายาลกั ษณ์ ไว้พร้อม และจ�ำนวนโรงเรียนที่เข้าประกวดมีไม่มาก สามารถบริหารเวลาให้เสร็จทัน ในเวลาอันเหมาะสม หลังจากกราบพระรัตนตรัยเสร็จแล้ว จะให้นักเรียนท�ำความเคารพธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณ์พร้อมกัน เสรจ็ แลว้ เดินเรยี งหน่ึงออกไปจากสถานท่ปี ระกวดกไ็ ด้ แตถ่ า้ เหน็ วา่ วธิ กี ารดงั กลา่ วจะทำ� ใหเ้ สยี เวลามากไป จะตดั ลดั ขน้ั ตอนนอ้ี อกไปกไ็ ด้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการในสถานท่ีน้ัน ๆ พจิ ารณาตกลงกนั เอง อน่ึง ในการประกวดสวดมนต์หมู่ฯ ในบางจังหวัดจัดให้มีการรายงานตัวผู้เข้า ประกวดว่า ช่ืออะไร เรียนอยู่ชั้นไหน มาจากโรงเรียนไหน และใครเป็นผู้ควบคุมฝึกสอน เป็นต้น ขั้นตอนนี้ก็ไม่ควรทำ� เพราะจะทำ� ให้เกิดความลำ� เอียงได้ และทำ� ให้เสยี เวลาไปโดยใช่เหตุฯ คมู่ ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรัย 31 ท�ำนองสรภญั ญะ



บทท่ี ๔ กรรมการ และกติกาการตดั สิน ในการประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ นี้ มกี ารจดั ประกวด ท้ังภายนอกและในสถานศึกษา ในระหว่างสถานศึกษาด้วยกันเอง ในทุกจังหวัด และทุกภาคของ ประเทศ ผู้ท่ีท�ำหน้าท่ีให้ความเป็นธรรมในการประกวดทุกครั้ง คือ กรรมการ เพ่ือให้เกิดความ เรียบร้อยในการจัดประกวดสวดมนต์หมู่ฯ จึงได้ก�ำหนดคุณสมบัติของบุคคลผู้เป็นกรรมการตัดสิน เกณฑ์การให้คะแนน และเกณฑ์การตัดคะแนนต่าง ๆ เพื่อใช้ในการจัดประกวดสวดมนต์หมู่ ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ คอื ๑. คณุ สมบตั ขิ องผเู้ ปน็ กรรมการตัดสินสวดมนตห์ มู่ฯ ๑. เป็นผู้มีความยตุ ธิ รรม ไม่มคี วามลำ� เอยี งด้วยอคติ ๔ ๒. เป็นผ้มู คี วามรู้ ความเข้าใจดใี นระเบียบ กตกิ า และกฎเกณฑ์การตดั สินต่าง ๆ ๓. เปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการสวดทำ� นองสงั โยคและทำ� นองสรภญั ญะและรลู้ กั ษณะ ของฉนั ทลักษณแ์ ละบทประพันธ์ได้ดที งั้ ภาษาบาลแี ละภาษาไทย ๔. เป็นผมู้ ีความร้คู วามเขา้ ใจในเน้ือหาของบทสวดทงั้ ทเ่ี ปน็ ภาษาบาลแี ละภาษาไทย ๕. เป็นผูม้ คี วามประพฤติเหมาะสม มีคุณธรรมเปน็ ทน่ี า่ เคารพนบั ถอื ๖. ไม่มีนกั เรยี นของตนเขา้ แข่งขันในขณะท่ีท�ำหนา้ ทีเ่ ปน็ กรรมการตัดสิน ๒. กติกาการจดั ประกวดเบอื้ งต้น ๑. ถา้ กรณมี ีโรงเรยี นสง่ เขา้ ประกวดจำ� นวนมาก คณะกรรมการอาจจะพจิ ารณา จดั การ ประกวดออกเปน็ ๒ รอบ คอื รอบคัดเลอื ก และรอบชงิ ชนะเลศิ ๒. การประกวดรอบคัดเลือก จะก�ำหนดให้สวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ ท้ังภาษาบาลี (ท�ำนองสงั โยค) และภาษาไทย (ท�ำนองสรภญั ญะ) หรอื อาจเพิ่มบทใดบทหน่ึง หรือหลายบท หรือ ทั้งหมดกไ็ ด้ ข้นึ อยูก่ บั ดุลพินิจของคณะกรรมการจัดการประกวด คู่มือ การสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั 33 ท�ำนองสรภญั ญะ

๓. การประกวดรอบชิงชนะเลิศ ให้สวดทั้งภาษาบาลี (ท�ำนองสังโยค) และภาษาไทย (ทำ� นองสรภัญญะ) ทกุ บทรวมทัง้ บทพาหุง ผลการประกวด คือ ชนะเลิศ ๑ รางวัล และรองชนะ เลศิ ๒ รางวัล (รองชนะเลศิ อนั ดับที่ ๑ และ ๒) และชมเชย ๓ รางวลั (ชมเชยอนั ดับท่ี ๑-๒- ๓) ๔. การจัดสถานท่ีให้จัดโต๊ะหมู่บูชาพร้อมด้วยธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในสถานท่ีจัดการประกวด เพื่อให้ผู้เข้าประกวดกราบพระรัตนตรัย เคารพธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณต์ ามล�ำดบั ๕. กตกิ าการประกวดเบอ้ื งต้นนี้ อาจเปล่ยี นแปลงได้ตามความเหมาะสม ท้งั นขี้ ้ึนอยูก่ ับ ดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการ ๓. เกณฑก์ ารตดั สิน ๑. ความถูกต้องของการกราบพระรัตนตรัย การท�ำความเคารพธงชาติ และพระบรม ฉายาลักษณ์ ตามล�ำดบั ๒. ความถูกต้องของอักขระ จังหวะ และทำ� นอง ๓. ความไพเราะของน�้ำเสียงในการสวดมนตห์ มู่ฯ ๔. ความพร้อมเพรยี ง มารยาทของหมู่คณะ เชน่ การกราบ เป็นตน้ ๕. ความถูกตอ้ งสวยงามของท่าทางขณะสวดมนต์ เชน่ การประนมมอื เป็นต้น ๖. ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถือเปน็ อันยุติ ๔. เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๒๐ คะแนน ๒๐ คะแนน ๑. ความถูกตอ้ งของอักขระ ๒๐ คะแนน ๒. ความถูกต้องของจงั หวะ ๒๐ คะแนน ๓. ความถกู ตอ้ งของทำ� นอง ๑๐ คะแนน ๔. น�้ำเสยี ง ๑๐ คะแนน ๕. ความพร้อมเพรยี งโดยรวม ๖. มารยาทและท่าทาง 34 คมู่ ือ การสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ

ค�ำอธิบาย ๑. ความถูกต้องของอกั ขระ หมายถงึ การวา่ ตวั อกั ษร คอื พยญั ชนะ และสระ ไดช้ ดั เจนถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย และภาษาบาลี ว่าตัวกล�้ำ ตัว ร ตัว ล อักษรสูง อักษรต่�ำ ทีฆะ รัสสะ อัฑฒ-สระได้ถูกต้อง ตามระเบียบแบบแผนของภาษา ๒. ความถกู ตอ้ งของจงั หวะ หมายถงึ รจู้ กั วรรคตอนวา่ ตรงไหนควรหยดุ ตรงไหนไมค่ วรหยดุ ตรงไหนควรวา่ ตดิ ตอ่ กันไป ตรงไหนควรเอือ้ น (จงั หวะท่ถี อื วา่ ผิดคือจังหวะทวี่ ่าชา้ ยดื ยาดหรือเรว็ จนเกินไปและหยุดใน แต่ละวรรคนานเกินไป) ๓. ความถูกต้องของทำ� นอง หมายถงึ เมอื่ สวดภาษาบาลี สวดตามสงั โยควธิ ี เมอ่ื สวดภาษาไทยสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ และบทพาหุง ต้องสวดท�ำนองสรภัญญะให้ถูกต้องตามบทประพันธ์ น้นั ๆ (หา้ มสวดท�ำนองเสนาะ) ๔. ความไพเราะของน้�ำเสยี ง หมายถงึ เสยี งทเี่ ปลง่ ออกมาเตม็ เสยี ง ดงั ชดั เจน มกี งั วานไพเราะเสนาะหู ไมแ่ หบหรอื คอ่ ยจนเกนิ ไป เสียงกลมกลอ่ ม ไม่แตก ไม่พร่า การเอือ้ นก็เอ้อื นไดไ้ พเราะ ๕. ความพรอ้ มเพรยี งโดยรวม หมายถงึ ขณะสวดวา่ พรอ้ มกนั ทงั้ อกั ษร จงั หวะ ทำ� นอง กลมกลนื เสมอื นเสยี งเดยี วกนั ไมม่ เี สยี งแตกแยกออกไป เชน่ หลายคนวา่ เสยี งสงู แตม่ บี างคนวา่ เสยี งตำ่� หรอื หลายคนสวดเรว็ หรอื พอดี แต่บางคนสวดช้าและลากเสียง เปน็ ตน้ ๖. มารยาทและท่าทาง หมายถงึ การแตง่ กาย ความเรยี บรอ้ ยของแตล่ ะคนและทงั้ คณะ กริ ยิ าทเี่ ขา้ ไปในสถานท่ี ประกวดสวดมนต์ การเดินเขา้ ไปทป่ี ระชมุ การเดนิ เข่า การนง่ั คุกเข่า (อริ ิยาบถขณะสวดมนตต์ อ้ ง นง่ั คกุ เขา่ ประนมมอื ) การกราบพระรตั นตรยั แบบเบญจางคประดษิ ฐ์ การทำ� ความเคารพธงชาติ และ การแสดงความเคารพพระบรมฉายาลกั ษณ์ (ถา้ ไมไ่ ดต้ งั้ ไวใ้ หก้ ราบพระรตั นตรยั แลว้ เรม่ิ สวดไดเ้ ลย) คู่มอื การสวดมนต์หมูส่ รรเสริญพระรัตนตรัย 35 ทำ� นองสรภัญญะ

๕. เกณฑก์ ารตัดคะแนน ก. เกณฑก์ ารตัดสนิ “อักขระ” เกณฑท์ ่ีคณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนนเก่ยี วกับอักขระ คือ ๑. สวดตวั ร เป็น ล ตัด ๑ คะแนน (ทุกคร้ังท่ีว่าผดิ ) ๒. คำ� ควบกล�้ำว่าไมค่ วบกล้�ำตดั ๑ คะแนน (ทกุ ครงั้ ที่สวดผดิ ) ๓. สวดผดิ ตามทต่ี ัง้ ข้อสงั เกตไวใ้ นบทที่ ๒ ตดั ค�ำละ ๑ คะแนน ๔. สวดผิดคำ� อ่ืนนอกเหนอื จากน้ี ตัดคำ� ละ ๑ คะแนน ข. เกณฑ์การตดั สนิ “จังหวะ” เกณฑ์ท่คี ณะกรรมการพิจารณาตดั คะแนนเกีย่ วกบั จงั หวะ คอื ๑. ขน้ึ บทนำ� ผดิ แบบ กลา่ วคอื ตอ้ งขน้ึ นำ� คำ� เดยี ว ในบท นะโม / สวากขาโต / สปุ ฏปิ นั โน และพาหงุ หากขนึ้ มากกวา่ คำ� เดียวใหต้ ดั บทละ ๑ คะแนน ยกเวน้ บทพุทธคุณ ให้ขึน้ ว่า อิติปโิ ส ๒. สวดจงั หวะไมเ่ ท่ากัน ชา้ บา้ ง เร็วบา้ ง ใหต้ ดั แหง่ ละ ๑ คะแนน ๓. ค�ำคร่อมวรรคท่ีมีเคร่ืองหมายยัติภังค์ ต้องเอื้อน (เอื้อนให้เสียงต่อเน่ืองไปถึงค�ำ ในวรรคถัดไปโดยมิให้เสยี งขาด) หากไมเ่ อ้อื นถือวา่ ผดิ จังหวะ ใหต้ ัดแหง่ ละ ๑ คะแนน เว้นแต่วรรค กอ่ นจบ ใหเ้ ออ้ื นโดยใหเ้ สยี งขาดคำ� หากมใิ หเ้ สยี งขาดคำ� ใหต้ ดั ๑ คะแนน เชน่ บทสวดพระพทุ ธคณุ ภาษาไทยที่ว่า “สัมพุทธการุญ- ญภาพน้ันนิรันดร” ต้องเอ้ือนค�ำว่า “รุญ” ให้เสียงขาดค�ำจาก ค�ำว่า “-ญภาพนนั้ ” ๔. สวดเร็วหรือช้าเกนิ ไปทุกบททั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ใหต้ ัดคะแนนได้ แต่ตอ้ ง ใหค้ ะแนนไมเ่ กินระดับพอใช้ ค. เกณฑก์ ารตดั สิน “ท�ำนองทส่ี วด” เกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาตดั คะแนนเก่ียวกบั ทำ� นองสวดมนต์ คือ ๑. บทนมสั การพระรตั นตรยั ไมส่ วดเปน็ ทำ� นองนำ� คอื มผี นู้ ำ� ๑ คน ทเี่ หลอื ใหส้ วดตาม หรอื มีผู้นำ� ๑ คน แล้วสวดพรอ้ มกนั ทงั้ หมดอกี ครั้งหนงึ่ ๒. การสวดภาษาบาลี ตั้งแตบ่ ท นะโม เป็นตน้ ไป ไม่สวดทำ� นองสังโยค ๓. การสวดภาษาไทย ไม่สวดท�ำนองสรภัญญะตามลักษณะฉันทลักษณ์นน้ั ๆ 36 คมู่ อื การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภัญญะ

๔. การแขง่ ขนั ในรอบคดั เลอื กกด็ ี รอบชงิ ชนะเลศิ กด็ ี สวดบททก่ี ำ� หนดใหไ้ มค่ รบและ ไมป่ ฏบิ ตั ิตามกตกิ าทกี่ �ำหนดไว้ ให้คะแนนไดไ้ ม่เกนิ ระดับพอใช้ ง. เกณฑ์การตัดสนิ “นำ�้ เสยี ง” เกณฑท์ ี่คณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนนเกย่ี วกบั นำ�้ เสียงในการสวดมนต์ คือ ๑. สวดใชเ้ สยี งดงั เกนิ ไป ไมก่ ลมกล่อม หรอื เบาเกนิ ไป จนฟังไมช่ ัดเจน ๒. เสียงไมเ่ ข้ากนั เช่น เสยี งสงู เสยี งตำ่� เสียงเล็ก เสียงใหญ่ เปน็ ต้น ๓. ขึ้นบทนำ� ออกเสยี งสูงเหนิ เกนิ ไป จ. เกณฑ์การตดั สนิ “ความพรอ้ มเพรียง” เกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนนเกี่ยวกับความพร้อมเพรียงในการสวดมนต์หมู่ คือ ๑. สวดไม่พรอ้ มเพรยี งกนั เช่น การรบั ไมพ่ รอ้ มกัน เป็นตน้ ๒. ผสู้ วดนำ� ขน้ึ บทนำ� ครง้ั แรกอาจไมช่ อบใจหรอื รสู้ กึ เพยี้ น ขน้ึ บทนำ� ใหมเ่ ปน็ ครงั้ ท่ี ๒ แสดงถงึ ความไมพ่ ร้อม ใหต้ ัดคะแนน ครง้ั ละ ๑ คะแนน ๓. สวดข้ามบท เช่น ก�ำหนดให้สวดทุกบท เม่ือสวดบทพุทธคุณจบแล้ว ไม่สวด บทธรรมคณุ ตอ่ จากบทพทุ ธคณุ แตข่ า้ มไปสวดบทสงั ฆคณุ เปน็ ตน้ ลกั ษณะอยา่ งนี้ กรรมการมสี ทิ ธิ์ ทจ่ี ะพิจารณาให้คะแนนไดไ้ ม่เกินระดบั พอใช้ ฉ. เกณฑ์การตัดสนิ “มารยาทและทา่ ทาง” เกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนนเกี่ยวกับมารยาทและความพร้อม ขณะทำ� การประกวดสวดมนตห์ มูฯ่ คอื ๑. ไม่เดินเข่าเขา้ ไปในสถานทจ่ี ดั ประกวด (หน้าโตะ๊ หมบู่ ูชา) ๒. กราบพระรัตนตรัยไมพ่ ร้อมเพรยี งกัน การทำ� ความเคารพธงชาติ และ พระบรม ฉายาลกั ษณ์ ไม่ถกู ต้อง (ถา้ กรณมี กี ารต้ังธงชาติ และพระบรมฉายาลกั ษณไ์ ว)้ ๓. การนง่ั การเดินเข่า และการลุกขน้ึ ไม่พร้อมเพรยี งกนั ท้ังคณะ ๔. ไม่สงบนิ่งในขณะสวด มีอาการไมส่ ำ� รวม เช่น มองซา้ ย-ขวา เปน็ ตน้ ๕. ความไม่พร้อมอย่างอื่น เช่น การแต่งกายไม่เรียบร้อยท้ังท่ีอยู่โรงเรียนเดียวกัน เป็นต้น ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการ หากปรากฏว่าไม่พร้อม กรรมการมีสิทธิ์ให้คะแนน ไมเ่ กนิ กว่าระดับพอใช้ คูม่ อื การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั 37 ทำ� นองสรภัญญะ

อนึ่ง จากประสบการณ์ในการจัดประกวดสวดมนต์หมู่ฯ ท่ีผ่านมาคณะกรรมการได้ รวบรวมขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียนท่ีเข้าประกวด ซงึ่ สว่ นใหญม่ กั จะสวดผิดเปน็ เหตใุ ห้เสียคะแนนได้ เพ่ือให้ความสะดวกแก่ผู้ฝึกสอนและกรรมการตัดสินได้ระมัดระวังมิให้เกิดการผิดพลาดอีกต่อไป จงึ ได้รวบรวมขอ้ บกพร่องดังกลา่ วมารวมพิมพไ์ ว้ ดังน้ี ตวั อยา่ งขอ้ ผดิ พลาดท่ถี กู หักคะแนน ในบทสวดภาษาบาลี บทสวด สวดผดิ เป็น (ค�ำอา่ น) สวดถูกต้อง(คำ� อา่ น) อรหํ อา-ระ-หัง หรอื อา-ระ-หัง้ อะ-ระ-หงั สมมาสมพ ุทโ ธ สำ้� -มา-ส้ำ� -พดุ -โธ ส�ำ-มา-ส�ำ-พุด-โท หรอื สาม-มา-สาม-พุด-โธ ภควา ผะ-คะ-วา หรือ ผะ-ขะ-วา พะ-คะ-วา นมสส ามิ หนะ-หมดั -ซ้า-หมิ นะ-มดั -สา-มิ นมามิ หนะ-มา-หมิ นะ-มา-มิ อรหโต อา-ระ-หะ-โต อะ-ระ-หะ-โต นโม ตสส นาโม - ตาด - สะ นะ-โม-ตดั -สะ สมม าสมพ ทุ ธสส สาม-มา-สาม-พดุ -ถาด-สะ ส�ำ-มา-ส�ำ-พดุ -ทัด-สะ ภควโต ผะ-ขะ-หวะ-โต หรอื ผกั -ขะ-หวะ-โต พะ-คะ-วะ-โต สคุ โต สุ-ขะ-โต สุ-คะ-โต สวากขาโต สะ-หว่า-ค้า-โต สะ-หวาก-ขา-โต วิชชาจรณ- ว-ิ ชา-จะ-ระ-ณะ- วดิ -ชา-จะ-ระ-นะ อฏ อดั -สะ อัด-ถะ สหสส สา-หัส-สะ สะ-หดั -สะ คร ีเมขลํ คี-เม-คะ-ลงั คร-ี เม-ขะ-ลงั อุทิตโฆรส- อุ-ท-ิ ตะ-โข-ระ-สะ- อ-ุ ทิ-ตะ-โค-ระ-สะ หมายเหตุ : ค�ำว่า “อาหุเนยโ ย” เปน็ ตน้ ออกเสยี งได้ ๓ แบบ (โดยไม่ตัดคะแนน) คอื ๑. อาหไุ นโย (อา - หุ - ไน - โย) ๒. อาหเุ นยโย (อา - หุ - เนย - โย) ๓. อาหเุ นยโย (อา - หุ - เนย์ - โย) 38 คูม่ ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ

ตัวอยา่ งข้อผดิ พลาดท่ถี กู หกั คะแนน ในบทสวดภาษาไทย บทสวด สวดผิดเป็น สวดถกู ตอ้ ง องค์ใดพระสมั พทุ ธ องค์-ใด-ผละ-สำ� -พุดธ องค์-ใด-พระ-สำ� -พุด เกลสมาร ก-ิ เหลด-มาน กะ-เหลด-มาน ก็เบกิ บาน ก็ - เบก้ิ - บาน ก็ - เบกิ - บาน คอื ดอกบวั คอื - ดอ้ ก - บัว คอื - ดอก - บัว ราคี บ พนั พัว รา - คี - บ่ - ผ่ัน - พวั รา - คี - บ - พัน - พวั ประกอบดว้ ย ปรา - กอบ - ด้วย ประ - กอบ - ด้วย ดัง - ซา้ - คอน ดงั - สา - คอน ดงั สาคร มะ - ละ - โอก - คะ มะละโอฆะ หมะ - หละ - โอ - คะ น�ำ้ - ใจ - หยาบ น�้ำใจหยาบ หนาม - ใจ - หยาบ ดุด - ดวง ดจุ ดวง ดุด - จะ - ดวง ดดุ - จะ - คลอง ดุจคลอง ดุด - คลอง สมา-ธิ สะ-หมา-ทิ สะ-มา-ทิ ประดุจร�ำพนั ประ-ดดุ -จะ-ร�ำ-พัน ประ-ดุด-ร�ำ-พนั วุธะประดิษฐ์ หว-ุ ถะ-ประ-ดิด วุ-ทะ-ประ-ดิด ปางเมอื่ ปา่ ง - เมื่อ ข่ีครี ิเมขละ ข๋ี - คี - หริ - เม –คะ - ละ ปาง - เม่ือ กระเหมิ หาญ กระ - เหมิ้ - หาน ขี่ - คี - ริ - เม - ขะ-ละ สุชนิ ะราชา สุ - ชิ - นะ - รา - ชา พระทศพล พระ - ทด - สะ - พน กระ - เหมิ - หาน พละเดชะ พละ - เด - ชะ สุ - ชิน - นะ - รา - ชา พระ - ทะ - สะ - พน พะ-ละ - เดด - ชะ ๖. หลกั การพิจารณาตัดสนิ ในกรณีได้คะแนนเทา่ กนั จากประสบการณ์ในการประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ทผี่ า่ นมามกั จะเกดิ ปญั หาถกเถยี งกนั ในเรอ่ื งการใหค้ ะแนนการตดั สนิ อยเู่ สมอ เพอื่ แกป้ ญั หาและเปน็ หลักในการพจิ ารณาตัดสนิ จึงวางหลกั การพจิ ารณาในการตดั สินส�ำหรบั กรรมการไว้ ดังนี้ คมู่ อื การสวดมนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั 39 ทำ� นองสรภญั ญะ

๑. ถ้ามีกรรมการตัดสนิ ๕ หรอื ๗ หรือ ๙ ท่าน จะใชว้ ธิ ีตัดคะแนนของกรรมการทใ่ี ห้ คะแนนสูงสุดและต�่ำสุดออก รวมเฉพาะกรรมการท่ีให้คะแนนในระดับกลางแล้วหารด้วยจ�ำนวน กรรมการที่เหลือ จะไดผ้ ลลพั ธถ์ กู ตอ้ ง ถือเป็นอันยตุ ิ ๒. ถ้ารวมคะแนนของกรรมการท่ีให้คะแนนระดับกลางแล้ว ผลลัพธ์มีคะแนนเท่ากัน ให้เอาคะแนนของกรรมการทุกคนมารวมกัน ถา้ โรงเรียนใดไดม้ ากกวา่ ถอื วา่ โรงเรยี นนั้นเปน็ ผู้ชนะ (เฉพาะทม่ี กี รรมการ ๕ หรือ ๗ หรอื ๙ ทา่ น) ๓. ถ้ามีกรรมการตัดสิน ๓ หรือ ๔ ท่าน จะใช้วิธีรวมคะแนนจากกรรมการท้ังหมด แล้วหารด้วยจ�ำนวนกรรมการ กจ็ ะได้ผลลพั ธ์ที่ถกู ตอ้ ง ถอื เป็นอันยตุ ิ ๔. หากสามวิธีข้างต้นนั้นยังหาข้อยุติไม่ได้ ให้ดูคะแนนพิเศษในช่องคะแนนพิเศษในใบ ให้คะแนนว่า มีอยู่หรือไม่ ถ้ามีให้เอาคะแนนน้ันมาบวกเข้ากับคะแนนท่ีได้ โรงเรียนใดได้คะแนน มากกว่า ถอื ว่าเปน็ ผชู้ นะ ๕. ถา้ ไมม่ คี ะแนนพเิ ศษตามขอ้ ๔ ใหก้ รรมการยดึ ถือเอาคะแนนอกั ขระ หากโรงเรยี นใด ได้คะแนนอักขระมากกว่า ถือว่าโรงเรียนน้ันเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนอักขระเท่ากันอีก ให้ดูคะแนน จังหวะ ท�ำนอง นำ้� เสยี ง เป็นเกณฑ์ตดั สนิ ไปตามลำ� ดับจนกวา่ จะยตุ ิ 40 ค่มู อื การสวดมนต์หมูส่ รรเสริญพระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ

ใบประเมินผล การประกวดสวดมนตห์ มูส่ รรเสริญพระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ณ ......................................................................................... เลขท่.ี ...............ระดับ ประถม มธั ยม, รอบ คัดเลือก ชงิ ชนะเลิศ วันท่ี……….......... ล�ำดบั เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน ดมี าก เกณฑ์การใหค้ ะแนน พอใช้ ที่ ความถูกตอ้ งของ เต็ม ดี 1 อกั ขระ 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 2 จงั หวะ 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 3 ทำ� นองท่ีสวด 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 4 น�ำ้ เสียง 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 5 ความพรอ้ มเพรยี งโดยรวม 10 9 8 - 7 - - 6 5 - - 6 มารยาทและท่าทาง 10 9 8 - 7 - - 6 5 - - รวม 100 คะแนนท่ีไดร้ วม = คะแนน คะแนนพเิ ศษ ๑ ๒ ๓ ความเห็นของกรรมการ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ..................................................... กรรมการ (.....................................................) ............../....................../.............. หมายเหตุ : ใหท้ ำ� เครื่องหมาย √ ในช่องคะแนนพิเศษ ๑ ๒ ๓ ถ้าเห็นว่าสวดได้ดีมาก เพ่อื ไว้พิจารณาตดั สินในกรณที ม่ี คี ะแนนเทา่ กนั คู่มอื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสริญพระรตั นตรัย 41 ท�ำนองสรภญั ญะ