Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

Published by pakasit120212, 2020-12-13 05:39:20

Description: หน่วยที่16 การตรวจสอบงานเชื่อม

Search

Read the Text Version

หน่วยการสอนทL่ี O16GO การตรวจสอบงานเช่ือม วชิ า งานเช่ือมไฟฟ้า 1 รหสั วชิ า 2103 - 2001

การตรวจสอบงานเชื่อม การตรวจสอบก่อนปฏิบตั ิงานเชื่อม การตรวจสอบขณะปฏิบตั ิงานเช่ือม การตรวจสอบหลงั ปฏิบตั ิงานเชื่อม คุณสมบตั ิของผตู้ รวจสอบงานเช่ือม ตาหนิของแนวเชื่อม งานเชื่อมต่อท่อกบั แผน่ เหลก็ 5F งานยดึ ติด 2 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม กรรมวธิ ีการเช่ือมโลหะดว้ ยลวดเช่ือมหุม้ ฟลกั ซ์ มีองคป์ ระกอบที่สาคญั ในการ เชื่อม คือ ลวดเชื่อมซ่ึงเป็นแท่งโลหะหุม้ ไวด้ ว้ ยฟลกั ซ์ เพอ่ื สร้างแก๊สปกคลุมดว้ ย ตวั เอง ทาใหก้ ารอาร์กสม่าเสมอและปรับปรุงคุณภาพของแนวเชื่อมใหด้ ีข้ึน บทน้ีจะอธิบายถึงลวดเช่ือมไฟฟ้าเหลก็ กลา้ คาร์บอนตามมาตรฐาน AWS ลวด เชื่อมเหลก็ กลา้ ผสมต่า มาตรฐาน AWS และ ประเภทของฟลกั ซ์หุม้ 3 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม 16.1 การตรวจสอบก่อนปฏบิ ตั งิ านเชื่อม การตรวจสอบก่อนการปฏิบตั ิงานเช่ือมเป็ นส่ิงท่ีสาคญั อย่างมาก ซ่ึงจะเป็ น การช่วยลดปัญหาที่เกิดข้ึนไดข้ ณะทาการเชื่อม ซ่ึงจะมีผลกระทบกบั งานเชื่อมที่ได้ การ ตรวจสอบก่อนการเช่ือมประกอบดว้ ยหลกั การสาคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี 16.1.1 การตรวจสอบความคุน้ เคยกบั ลกั ษณะงานและขอ้ กาหนดต่าง ๆ เช่น แบบงาน ขอ้ กาหนดกระบวนการ คุณสมบตั ิของช่างเช่ือม เป็นตน้ 16.1.2 การตรวจสอบขอ้ กาหนดเก่ียวกบั ชิ้นงานแชะลวดเช่ือมท่ีใช้ 16.1.3 การตรวจสอบเก่ียวกบั การเตรียมรอยต่อและสภาพของชิ้นงาน 16.1.4 การตรวจสอบขนาดของชิ้นงานท่ีถูกตอ้ งซ่ึงนะมีผลของขนาดชิ้นงานสาเร็จ 16.1.5 การตรวจสอบการประกอบชิ้นงานและการเวน้ ระยะของรอยต่อ 16.1.6 การตรวจสอบขอ้ กาหนดต่าง ๆ ในการประกอบชิ้นงาน เช่น ฟลกั ซ์ แผน่ รอง หลงั เป็นตน้ 4 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.1 การตรวจสอบก่อนปฏบิ ตั ิงานเชื่อม 16.1.7 การตรวจสอบความสะอาด ความเรียบร้อย และสภาพการเช่ือมยึด ชิ้นงานใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนด 16.1.8 การตรวจสอบการให้ความร้อนอุ่นชิ้นงานก่อนกรเช่ือม ( ในกรณีที่ กาหนด ) 16.1.9 การตรวจสอบในเรื่องของการป้องกนั อนั ตรายและความปลอดภยั ในการ ปฏิบตั ิงาน 16.1.10 การตรวจสอบคุณวฒุ ิของช่างผจู้ ะปฏิบตั ิงานเชื่อม 5 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.2 การตรวจสอบขณะปฏิบัติงานเชื่อม เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็ นไปตามเงื่อนไขท่ีกาหนด จึงควรพิจารณา ตรวจสอบขณะท่ีช่างเชื่อมกาลงั ดาเนินการเชื่อมโดยดาเนินการดงั น้ี 16.2.1 การตรวจสอบกระบวนการและกรรมวธิ ีการเชื่อมตามเง่ือนไขท่ีกาหนด 16.2.2 การตรวจสอบการใชว้ สั ดุชิ้นงานและลวดเช่ือม โดยการตรวจสอบคุณสมบตั ิ ในการเกบ็ รักษาอุณหภูมิและระยะเวลาในการอบไล่ความช้ืน 16.2.3 การตรวจสอบความพร้อมของเคร่ืองมือ อุปกรณ์และอุปกรณ์จบั ยดึ ต่าง ๆ ท่ี ใชใ้ นงานเชื่อม 16.2.4 การตรวจสอบสภาพของการเช่ือม เช่น กระแสไฟเชื่อม แรงเคลื่อนไฟฟ้า ความเร็วในการเชื่อม เทคนิคในการเคล่ือนลวดเช่ือม ลาดบั ขนั ในการเคล่ือนลวด เช่ือม ลาดบั ข้นั ในการเชื่อม และสภาพการต่อข้วั ของสายเชื่อม 6 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.2 การตรวจสอบขณะปฏิบัตงิ านเชื่อม 16.2.5 การจรวจสอบความคงที่ของอุณหภูมิและระยะเวลาท่ีใชใ้ นการอุน่ ชิ้นงาน 16.2.6 การตรวจสอบงานเชื่อมโดยการติดตามการปฏิบตั ิงานเชื่อมอยา่ งใกลช้ ิด เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดขอ้ ผดิ พลาดขณะปฏิบตั ิงาน 16.2.7 การตรวจสอบอุณหภูมิระหวา่ งการเชื่อมใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนด เพอื่ ไม่ให้ ส่งผลกระทบกบั ลกั ษณะและโครงสร้างภายในชิ้นงาน 16.2.8 การตรวจสอบสภาพการทาความสะอาดงานเช่ือม เช่น การเจียระไน การ เคาะ การตดั เซาะ เป็นตน้ 7 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม (ต่อ) 16.3 การตรวจสอบหลงั ปฏบิ ตั ิงานเช่ือม เป็นการตรวจสอบความผดิ พลาดหลงั การเชื่อมเสร็จเรียบร้อยแลว้ เพอื่ ใหไ้ ดง้ าน เช่ือมหรือผลิตภณั ฑท์ ่ีถูกสร้างข้ึนตาบแบบและขอ้ กาหนดตา่ ง ๆ โดยเนน้ ท่ี จุดสาคญั คือ บริเวณงานเช่ือม ซ่ึงมีจุดท่ีทาการพจิ ารณาดงั น้ี 16.3.1 การตรวจสอบขนาดของแนวเช่ือม เช่น การนูน ความยาว ความกวา้ ง ขนาด ขาของแนวเช่ือม โดยอาจใชเ้ กจวดั หรือเคร่ืองวดั ตา่ ง ๆ ที่มีอยหู่ ลายรูปแบบ 16.3.2 การตรวจสอบขอ้ บกพร่องของแนวเชื่อมท่ีเกิดข้ึนที่บริเวณผิวหนา้ ของแนว เช่ือมท่ีมองเห็นไดแ้ ละบริเวณในเน้ือของแนวเช่ือม ซ่ึงจะตอ้ งใชว้ ธิ ีการตรวจสอบ ต่าง ๆ ช่วยในการตรวจสอบ 16.3.3 การตรวจสอบขอ้ บกพร่องในโลหะชิ้นงาน ซ่ึงไม่ไดเ้ กิดบริเวณแนวเช่ือม ไดแ้ ก่ 8 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม (ต่อ) 16.3 การตรวจสอบหลงั ปฏบิ ตั ิงานเช่ือม ขอ้ บกพร่องในโลหะชิ้นงาน เช่น รอยแตกแยกช้นั ท่ีขอบเขตของชิ้นงาน รอยตะเขบ็ และรอยเกยในโลหะชิ้นงาน เป็นตน้ ขอ้ บกพร่องของแนวซึมลึกดา้ นหลงั ซ่ึงหมายถึง คุณภาพการหลอมละลายซึมลึกท่ีมี ผลตอ่ แนวเช่ือม โดยเฉพาะในการเช่ือมรอยต่อชนต่อมุมและตอ่ ฉาก ขอ้ บกพร่องเน่ืองจากการบิดเบ้ียวของงานซ่ึงไม่เป็นไปตามขอ้ กาหนดที่ระบุไว้

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.4 คุณสมบตั ิของผู้ตรวจสอบงานเชื่อม ผตู้ รวจสอบงานเชื่อมจะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีความรู้ในดา้ นการตรวจสอบงาน เชื่อมเป็นอยา่ งดีซ่ึงจะตอ้ งผา่ นการอบรมและผา่ นการประเมินจนเป็นที่ยอมรับ ของหน่วยงานที่รับผดิ ชอบ จึงจะสามารถเป็นผตู้ รวจสอบงานเชื่อมได้ นอกจากน้ี จะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีคุณสมบตั ิสาคญั อื่น ๆ อีกดงั น้ี 16.4.1 ความรู้ทางด้านวิศวกรรมและโลหะวิทยา ซ่ึงเป็นส่วนสาคญั ที่สนบั สนุน การทางานดา้ นการตรวจสอบงานเช่ือมใหเ้ กิดขอ้ ผิดพลาดไดน้ อ้ ยที่สุด 16.4.2 มสี ภาพร่างกายท่ีดี เนื่องจากการตรวจสอบงานเชื่อมในสภาพของงานจริง จะตอ้ งประสพความยงุ่ ยาก เช่น การข้ึนในท่ีสูง การมุด การคลาน การป่ ายปี น เป็นตน้ ดงั น้นั ผทู้ ี่ทาการตรวจสอบงานเช่ือมตอ้ งมีสุขภาพร่างกายท่ีดี ทนต่อ สภาวะดงั กลา่ วได้ 10 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม (ต่อ) 16.4 คุณสมบตั ขิ องผู้ตรวจสอบงานเชื่อม 16.4.3 มีสภาพสายตาท่ีดี ผตู้ รวจสอบงานเชื่อมมีความจาเป็ นอยา่ งยิง่ ที่จะตอ้ งใช้ สายตาในการพิจารณา โดยเฉพาะจุดเล็ก ๆ รายละเอียดต่าง ๆ เช่น การอ่านฟิ ล์ม จากภาพถา่ ยรังสีหรือการตรวจสอบต่าง ๆ ซ่ึงจะตอ้ งใชส้ ายตาเป็นพ้นื ฐาน 16.4.4 มีประสบการณ์ด้านการเชื่อมโดยตอ้ งมีความรู้เกี่ยวกบั การเชื่อม การใช้ เครื่องมืออุปกรณ์ ซ่ึงสามารถท่ีจะหาเหตุผลและต้งั สมมติฐานไดใ้ กลเ้ คียงกบั สภาพ ความเป็ นจริ ง 16.4.5 มบี ุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี มีความขยนั อดทน แลสามารถควบคุม อารมณ์ของตนเองไดเ้ ป็นอยา่ ง ดี ไม่อคติ และความยตุ ิธรรม 11 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม (ต่อ) 16.4 คุณสมบัตขิ องผู้ตรวจสอบงานเช่ือม 16.4.6 ความสามารถในการบันทึกข้อมลู การบนั ทึกขอ้ มูลเกี่ยวกบั การตรวจสอบตอ้ ง สมบูรณ์และมีขอบเขตเพียงพอสาหรับการตดั สินผลการตรวจสอบไดถ้ ูกตอ้ ง 16.4.7 มคี วามรู้ทางด้านการอ่านแบบและข้อกาหนด ผตู้ รวจสอบงานเช่ือมตอ้ งมีความรู้ ทางดา้ นการอา่ นแบบและออกแบบ รวมท้งั การแปลความหมายของขอ้ กาหนดต่าง ๆ ได้ 16.4.8 มีประสบการณ์ด้านการตรวจสอบ ซ่ึงสามารถเรียนรู้ไดจ้ ากประสบการณ์ทางาน ในการตรวจสอบ เช่น การสังเกตพฤติกรรมจากผูต้ รวจสอบงานเชื่อมท่ีมีประสบการณ์ มากกวา่ เพือ่ นามาพฒั นาตนเองต่อไป 12 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเชื่อม (ต่อ) 16.5 ตาหนิของแนวเชื่อม แนวเช่ือมที่มีลกั ษณะและคุณสมบตั ิไม่เป็นไปตามขอ้ กาหนด จดั วา่ เป็นงานที่เสีย ซ่ึงมี สาเหตุจากขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ท้งั ภายขอกและภายในของแนวเช่ือม ตาหนิของแนว เช่ือมจดั เป็นชนิดยอ่ ย ๆ ดงั ต่อไปน้ี 16.5.1 การบิดตวั ขณะทาการเชื่อมตอ้ งใชค้ วามร้อนสูงจนถึงจุดหลอมละลายของลวด เชื่อมและชิ้นงาน ทาใหเ้ กิดการขยายตวั และหดตวั ซ่ึงจะเกิดความเคน้ จานวนมาก แมว้ า่ งานเช่ือมจะเยน็ ตวั แลว้ กต็ าม กจ็ ะมีความเคน้ บางส่วนตกคา้ งอยใู่ นแนวเช่ือมซ่ึง เป็นสาเหตุใหช้ ิ้นงานบิดงอ ลกั ษณะการบิดงอ 13 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.5 ตาหนิของแนวเช่ือม 16.5.2 รูพรุน เกิดจากส่ิงสกปรก ความช้ืนสารมลทินที่เกาะอยบู่ นผิวของชิ้นงานหรือ เกิดจากลวดเชื่อมและแก๊ส ลกั ษณะรูพรุน 16.5.3 การกัดแกว่ง ซ่ึงเกิดจากการปรับประแสไฟฟ้าเชื่อมสูงเกินไป ระยะอาร์กสูง เกินไปหรือการเลือกกระบวนการเชื่อมไม่เหมาะสม ลกั ษณะการกดั แหวง่ 16.5.4 การซึมลึกไม่สมบูรณ์ เกิดจากการตนั ของรอยเช่ือมมีความร้อนไม่ถึงจุดหลอม ละลาย สาเหตุจากการปรับกระแสไฟเช่ือมต่าเกินไป การเคลื่อนลวดเชื่อมเร็วเกินไป ชิ้นงานสกปรก ขนาดลวดเชื่อมโตเกินไปหรืออาจเกิดจากการเวน้ ระยะของรอยต่อนอ้ ย เกิดไป ลกั ษณะการซึมลึกไม่สมบูรณ์ 14 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม 16.5 ตาหนิของแนวเชื่อม 16.5.5 สแลกฝังใน หมายถึง โลหะหรือออกไซดท์ ่ีฝังในแนวเช่ือมหรือระหวา่ ง ชิ้นงานกบั ลวดเช่ือม ลกั ษณะสแลกฝังใน 16.5.6 การล้นแนว เป็นลกั ษณะของแนวเช่ือมซ่ึงนูนหรือเกินขอบของแนวเช่ือม มากเกินไป ซ่ึงเกดจากการเคลื่อนลวดเช่ือมชา้ เกินไป มุมของลวดเช่ือมไม่ถูกตอ้ ง ระยะอาร์กส้นั เกินไป และการต้งั คา่ กระแสไฟเช่ือมต่ามากเกินไป ละกษณะการลน้ แนว 16.5.7 แนวเช่ือมไม่เป็นแนว เกิดจากการปรับกระแสไฟเช่ือมไม่เหมาะสม ใชล้ วด เช่ือมผดิ ประเภทกบั ชิ้นงาน ระยะอาร์กและการเคลื่อนลวดเชื่อมไม่สม่าเสมอและ ความร้อนสะสมบนชิ้นงานมากเกินไป ลกั ษณะแนวเชื่อมไม่เป็นแนว 15 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.5 ตาหนิของแนวเชื่อม 16.5.8 การแตกที่ปลายแนวเช่ือม เกิดจากการเคล่ือนลวดเชื่อมไม่ถูกวธิ ี ระยะอาร์ กมากเกินไป และการยกลวดเชื่อมออกจากบ่อหลอมละลายทนั ทีเม่ือสิ้นสุดแนว เชื่อม ลกั ษณะการแตกท่ีปลายแนวเชื่อม นอกจากตาหนิของแนวเช่ือมดงั ท่ียกตวั อยา่ งไปแลว้ ยงั มีตาหนิแนวเช่ือมท่ี เป็นขอ้ บกพร้องที่เกิดข้ึนหลงั จากการเชื่อมอีกหลายลกั ษณะ 16 NAPARAT THANGWEANG

การตรวจสอบงานเช่ือม (ต่อ) 16.6 งานเช่ือมต่อท่อกบั แผ่นเหลก็ 5F งานยดึ ตดิ ปฏิบัติงานตามใบงาน ใหท้ าการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ีไดร้ ับโดยรายละเอียดการทางานจะอยใู่ น คูม่ ือผเู้ รียนและ มีอยใู่ นใบงานที่นกั เรียนไดร้ ับมอบหมาย 17 NAPARAT THANGWEANG


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook