Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์งานเชื่อม ISO

สัญลักษณ์งานเชื่อม ISO

Published by pakasit120212, 2020-05-30 00:02:23

Description: Welding Symbol (ISO)

Search

Read the Text Version

เนือ้ หาการเรยี น สญั ลกั ษณ์งานเช่ือม ISO 63 แ ผ น ก วิ ช า ช่ า ง เ ช่ื อ ม โ ล ห ะ วิ ท ย า ลั ย เ ท ค นิ ค ล พ บุ รี

1 1.2 สญั ลกั ษณ์งานเช่ือมตามมาตรฐานสากลหรือ ISO สาระสาคญั การประกอบชิ้นส่วนของงานมีอยู่หลายวิธี แต่วิธีท่ีทาให้ชิ้นงานต้ังแต่สองชิ้นติดกัน แบบถาวรมนั่ คงและแข็งแรงก็คือ วิธีการเช่ือม ไม่ว่างานจะมีขนาดใหญ่หรือเล็ก ตลอดจนงาน โครงสร้างต่าง ๆ จาเป็นตอ้ งใชก้ ารเช่ือมเขา้ มาเก่ียวขอ้ งเสมอ ดงั น้นั ผอู้ อกแบบและเขียนแบบตอ้ งมี ความรู้ในการเขียนแบบงานเชื่อม สัญลกั ษณ์งานเชื่อม การกาหนดสัญลกั ษณ์ลงในแบบงานอย่าง ถูกต้องเหมาะสม เพ่ือให้ผู้ผลิตสามารถประกอบชิ้นส่วนของงานได้อย่างถูกต้องตรงตาม วตั ถุประสงคข์ องแบบงาน เนื้อหา 1.2 สัญลกั ษณ์งานเช่ือมตามมาตรฐานสากลหรือ ISO จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอ่านและเขียนสญั ลกั ษณ์งานเชื่อมตามมาตรฐานสากลในแบบงานได้

2 1.2 สัญลกั ษณ์งานเช่ือมตามมาตรฐานสากลหรือ ISO การกาหนดสัญลกั ษณ์งานเชื่อมตามมาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization ) มาตรฐานน้ีได้ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลาย มีการใช้ที่คล้ายกบั มาตรฐาน AWS โดยทว่ั ไปสัญลกั ษณ์งานเช่ือมจะประกอบไปดว้ ยเส้นลูกศร เส้นอา้ งอิง ซ่ึงจะใชร้ ่วมกบั สัญลกั ษณ์ ของแนวเช่ือม ในมาตรฐาน ISO จะมีเส้นอา้ งอิงที่เป็ นเส้นประอีกหน่ึงเส้นใช้สาหรับวางตาแหน่ง ของการเชื่อมดา้ นตรงขา้ มหวั ลูกศรช้ีส่วนรายละเอียดของสัญลกั ษณ์งานเช่ือมตามมาตรฐาน ISO มีดงั น้ี 1) ตาแหน่งของสัญลกั ษณ์ (Position Of Symbols) ตามมาตรฐาน ISO 2553 : 1992 (E) จะประกอบไปดว้ ยส่วนตา่ ง ๆ (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.30) 1. หวั ลกู ศร 2. เสน้ ลูกศร 3. เสน้ อา้ งอิงตอ่ เนื่อง 4. เสน้ อา้ งอิงเสน้ ประ 5. สญั ลกั ษณ์แนวเชื่อม รูปท่ี 1.30 แสดงส่วนประกอบของสญั ลกั ษณ์งานเชื่อม ISO 2) ตาแหน่งของเส้นอา้ งอิงและการวางตาแหน่งของสัญลกั ษณ์แนวเชื่อม การเขียน เส้นอา้ งอิงท้งั เส้นอา้ งอิงต่อเน่ืองและเส้นอา้ งอิงเส้นประ ให้เขียนขนานกบั ขอบล่างของแบบงาน ตาแหน่งของสัญลกั ษณ์แนวเช่ือมในการเชื่อมดา้ นหวั ลูกศรช้ีให้เขียนไวด้ า้ นบนหรือล่างเส้นอา้ งอิง ต่อเนื่อง ส่วนการเช่ือมดา้ นตรงขา้ มหัวลูกศรให้เขียนสัญลกั ษณ์แนวเช่ือมไวด้ า้ นบนหรือล่างเส้น อา้ งอิงท่ีเป็นเส้นประ (ดงั แสดงในรูปที่ 1.31) เชื่อมดา้ นหวั ลูกศรช้ี เชื่อมดา้ นตรงขา้ มหวั ลกู ศรช้ี เช่ือมท้งั สองดา้ น รูปที่ 1.31 แสดงตวั อยา่ งการวางตาแหน่งของสญั ลกั ษณ์แนวเช่ือม

3 3) สัญลกั ษณ์แนวเช่ือม (Weld Symbols) ตามมาตรฐานการกาหนดสัญลกั ษณ์ งานเชื่อมของ ISO 2553 : 1992 (E) มีรายละเอียดดงั น้ี 3.1) สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ (Elementary Symbols) เป็นรูปแบบของการเชื่อมชนิด ต่าง ๆ ที่แสดงด้วยสัญลกั ษณ์ โดยทว่ั ไปจะมีรูปร่างคลา้ ยกับพ้ืนที่หน้าตดั ของรอยต่องานเชื่อม ซ่ึงลกั ษณะของรอยต่อต่าง ๆ มีดงั ตอ่ ไปน้ี (1) การเชื่อมต่อชนของแผนที่พบั ขอบ (ดงั แสดงในรูปที่ 1.32) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.32 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนของแผน่ ที่พบั ขอบ (2) การเชื่อมต่อชนหนา้ ฉาก (Square Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.33) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.33 แสดงการเชื่อมต่อชนหนา้ ฉาก (3) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียว (Single – Bevel Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.34) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.34 แสดงการเชื่อมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียว

4 (4) การเช่ือมต่อชนบากร่องเอียงดา้ นเดียว (Single - Bevel Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.35) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.35 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องเอียงดา้ นเดียว (5) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวมีหนา้ ประชิดกวา้ ง (Single-V Butt With Broad Root Face) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.36) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.36 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวมีหนา้ ประชิดกวา้ ง (6) การเช่ือมต่อชนบากร่องเอียงดา้ นเดียวมีหนา้ ประชิดกวา้ ง (Single- Bevel Weld With Broad Root Face) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.37) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.37 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องเอียงดา้ นเดียวมีหนา้ ประชิดกวา้ ง

5 (7) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั ยดู า้ นเดียว (Single – U Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.38) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.38 แสดงการเช่ือมตอ่ ชนบากร่องตวั ยดู า้ นเดียว (8) การเชื่อมต่อชนบากร่องตวั เจดา้ นเดียว (Single – J Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.39) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.39 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องตวั เจดา้ นเดียว (9) การเชื่อมปิ ดดา้ นหลงั รอยต่อ (Backing Run , Back Or Backing Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.40) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.40 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนปิ ดดา้ นหลงั รอยต่อ

6 (10) การเชื่อมต่อฉาก (Fillet Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.41) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.41 แสดงการเชื่อมต่อฉาก (11) การเช่ือมแบบสลอ็ ต (Slot Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.42) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.42 แสดงการเชื่อมแบบสลอ็ ต (12) การเชื่อมแบบปลกั๊ (Plug Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.43) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.43 แสดงการเช่ือมแบบปลกั๊

7 (13) การเช่ือมจุด (Spot Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.44) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.44 แสดงการเชื่อมจุด (14) การเช่ือมตะเขบ็ (Seam weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.45) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.45 แสดงการเช่ือมตะเขบ็ (15) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วีดา้ นเดียวโดยใชแ้ ผน่ รองหลงั (Strip Flanked Single – V Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.46) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.46 แสดงการเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวโดยใชแ้ ผน่ รองหลงั

8 (16) การเชื่อมต่อชนบากร่องเอียงดา้ นเดียวโดยใชแ้ ผน่ รองหลงั (Strip Flanked Single - Bevel Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.47) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.47 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องเอียงดา้ นเดียวโดยใชแ้ ผน่ รองหลงั (17) การเช่ือมแนวต่อขอบ (Edge Weld) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.48) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.48 แสดงการเชื่อมแนวต่อขอบ (18) การเช่ือมรอยต่อชนแบบทาบแนว (Inclined Joint) (ดงั แสดงใน รูปที่ 1.49) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.49 แสดงการเช่ือมรอยตอ่ ชนแบบทานแนว

9 (19) การเช่ือมพอกผวิ หนา้ งาน (Surfacing) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.50) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.50 แสดงการเชื่อมพอกผวิ หนา้ งาน 4) การรวมสัญลกั ษณ์เบ้ืองตน้ (Combinations of Elementary Symbols) มีลกั ษณะ ของสัญลกั ษณ์คลา้ ยกบั สัญลกั ษณ์เบ้ืองตน้ เพียงแต่นามาเขียนรวมกนั โดยมีการกระทาการเช่ือม และการบากหนา้ งานเป็นสองดา้ น ซ่ึงมีลกั ษณะของสัญลกั ษณ์ดงั ต่อไปน้ี 4.1) การเชื่อมตอ่ ชนบากร่องตวั วสี องดา้ น (Double –V Butt Weld) (ดงั แสดงใน รูปท่ี 1.51) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.51 แสดงการเชื่อมต่อชนบากร่องตวั วสี องดา้ น 4.2) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วีสองดา้ นมีหนา้ ประชิดกวา้ ง (Double – V Butt Weld With Broad Root Face) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.52) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.52 แสดงการเช่ือมตอ่ ชนบากร่องตวั วสี องดา้ นมีหนา้ ประชิดกวา้ ง

10 4.3) การเชื่อมต่อชนบากร่องเอียงสองดา้ น (Double –Bevel Butt Weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.53) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.53 แสดงการเช่ือมต่อชนบากร่องเอียงสองดา้ น 4.4) การเชื่อมต่อชนบากร่องเอียงสองดา้ นมีหนา้ ประชิดกวา้ ง (Double – Bevel Weld With Broad Root Face) (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.54) พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.54 แสดงการเช่ือมต่อชนบากร่องเอียงมีหนา้ ประชิดกวา้ ง 4.5) การเชื่อมต่อชนบากร่องตวั ยสู องดา้ น (Double – U butt Weld) (ดงั แสดงใน รูปที่ 1.55) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.55 แสดงการเช่ือมตอ่ ชนบากร่องตวั ยสู องดา้ น

11 4.6) การเช่ือมต่อชนบากร่องตวั เจสองดา้ น (Double – J Butt Weld) (ดงั แสดง ในรูปที่ 1.56) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.56 แสดงการเชื่อมต่อชนบากร่องตวั เจสองดา้ น 4.7) การเช่ือมต่อชนโดยบากร่องตวั วดี า้ นหน่ึงและบากร่องตวั ยอู ีกดา้ นหน่ึง (Single – V butt weld and Single – U butt weld) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.57) พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.57 แสดงการเชื่อมตอ่ ชนบากร่องตวั วดี า้ นหน่ึงและบากร่องตวั ยดู า้ นหน่ึง 4.8) การเชื่อมต่อชนโดยบากร่องตวั วดี า้ นเดียวและเช่ือมปิ ดดา้ นหลงั (Single – V butt weld and Sealing Run) (ดงั แสดงในรูปที่ 1.58) พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.58 แสดงการเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวแลว้ เช่ือมปิ ดดา้ นหลงั

12 4.9) การเชื่อมต่อฉากสองดา้ น (Fillet Weld And Fillet Weld) (ดงั แสดงใน รูปที่ 1.59) พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.59 แสดงการเชื่อมต่อฉากโดยเชื่อมท้งั สองดา้ น 5) สัญลกั ษณ์เพิ่มเติม (Supplementary Symbols) การเขียนสัญลกั ษณ์ในบางคร้ัง ภาพที่แสดงออกมายงั ไม่สมบูรณ์ ผูเ้ ขียนตอ้ งแสดงรายละเอียดของแบบงานเชื่อมให้สมบูรณ์ โดยการเขียนสัญลกั ษณ์เพม่ิ เติมในแบบงาน ซ่ึงจะทาให้ผอู้ ่านแบบและผูป้ ฏิบตั ิงานเขา้ ใจมากยิ่งข้ึน (ดงั แสดงในรูป 1.60) รูปท่ี 1.60 แสดงสญั ลกั ษณ์เพ่ิมเติมงานเชื่อม

13 ตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์เพิ่มเติม (ดงั แสดงในรูปที่ 1.61- 1.69) ก. ผวิ แนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ผิวแนวเชื่อมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ค. ผวิ แนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ง. ผวิ แนวเช่ือมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ จ. ผิวแนวเช่ือมเรียบหน่ึงดา้ น นูนหน่ึงดา้ น สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.61 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์เพมิ่ เติมในการเช่ือมต่อชนหนา้ ฉาก

14 พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 6.62 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์เพมิ่ เติมในงานเชื่อมต่อชนของขอบที่พบั ก. ผิวแนวเช่ือมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ผิวแนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 6.63 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์เพม่ิ เติมในงานเชื่อมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียว ก. ผวิ แนวเชื่อมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ผวิ แนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.64 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์เพิ่มเติมในงานเชื่อมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวแลว้ เชื่อมปิ ดหลงั

15 ผวิ แนวเชื่อมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.65 แสดงตวั อยา่ งการเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวมีหนา้ ประชิดกวา้ งแลว้ เชื่อม พ้ืนที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.66 แสดงตวั อยา่ งการเช่ือมต่อชนบากร่องตวั วดี า้ นเดียวตกแต่งผวิ แนวเช่ือมใหเ้ รียบ ดว้ ยกรรมวธิ ีการปาดผวิ ดว้ ยเคร่ืองจกั รกล ก. ผวิ แนวเชื่อมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ผวิ แนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.65 แสดงตวั อยา่ งการเชื่อมต่อชนบากร่องตวั วสี องดา้ น

16 ก. ผวิ แนวเชื่อมเรียบ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ผวิ แนวเช่ือมนูน สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ อยเอม ค. ผวิ แนวเชื่อมเวา้ สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ อยเอม รูปท่ี 1.68 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์เพมิ่ เติมในงานเชื่อมต่อฉาก พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ อยเอม รูปที่ 1.69 แสดงตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์เพิม่ เติมในงานเช่ือมต่อฉากตกแตง่ ผวิ ใหข้ อบแนวเช่ือมเรียบ 6) การกาหนดขนาดหลกั (Main Dimension) เป็นการระบุรายละเอียดในสัญลกั ษณ์ งานเชื่อมจะประกอบดว้ ย รายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 6.1) ถา้ ไม่มีการระบุสิ่งใดไวท้ ่ีดา้ นขวาของสัญลกั ษณ์ หมายถึง เป็ นแนวเช่ือม ต่อเนื่องไปตลอดความยาวชิ้นงาน 6.2) ในการเชื่อมตอ่ ชนถา้ ไมไ่ ดร้ ะบุรายละเอียดอื่น ๆ หมายถึง การเช่ือมตอ้ งให้ เกิดการซึมลึกหรือการหลอมละลายกินลึกของแนวเชื่อม

17 6.3) ในการเชื่อมต่อฉาก จะมีการระบุขนาดของแนวเช่ือมอยู่ 2 ลกั ษณะคือ ความสูงของสามเหล่ียมหนา้ จวั่ ท่ีเป็ นพ้ืนที่หน้าตดั ของแนวเชื่อมที่ใหญ่ที่สุด ซ่ึงประกอบไปดว้ ย ความสูง a และ z ใหเ้ ขียนไวด้ า้ นซา้ ยของสัญลกั ษณ์แนวเช่ือมแบบต่าง ๆ ดงั แสดงในรูปท่ี 1.70 รูปท่ี 1.70 แสดงการบอกขนาดหลกั ในสัญลกั ษณ์งานเช่ือม การบอกขนาดที่สัมพนั ธ์กับภาพตัดขวางให้เขียนไวด้ ้านซ้ายของสัญลักษณ์แนวเชื่อม ส่วนการบอกขนาดความยาวของแนวเชื่อมใหเ้ ขียนไวด้ า้ นขวาของสัญลกั ษณ์แนวเชื่อมดงั แสดงใน รูปท่ี 1.71 รูปท่ี 1.71 แสดงตวั อยา่ งการบอกขนาดของแนวเช่ือม การกาหนดขนาดความลึกของแนวเช่ือม ความสูงแนวเช่ือมต่อฉาก ความยาวแนวเช่ือม ระยะห่างของแนวเชื่อม จานวนแนวเช่ือมในมาตรฐาน ISO จะใชต้ วั อกั ษรตา่ ง ๆ เป็ นตวั กาหนด ตาแหน่งเช่นเดียวกบั มาตรฐาน AWS โดยกาหนดขนาดตวั เลขของแนวเช่ือมท่ีตอ้ งการใชแ้ ทนที่ ตวั อกั ษรของตาแหน่งน้นั ๆ ตวั อกั ษรที่ใชม้ ีดงั น้ี (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.72 ถึง 1.79)

18 ตัวอกั ษร ความหมาย a ความสูงของสามเหลี่ยมแนวเชื่อมต่อฉาก b ความกวา้ งของแนวเชื่อมพอกผวิ c ความกวา้ งของแนวเชื่อมตะเขบ็ แนวเชื่อมแบบ สลอ็ ต d ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางรอยเช่ือมปลก๊ั รอยเช่ือมจุด e ระยะเวน้ ช่วงแนวเช่ือม l ความยาวของแนวเช่ือม n จานวนแนวเชื่อม s ระยะต่าสุดจากผวิ ชิ้นงานถึงดา้ นล่างของรอยเช่ือม โดยไม่เกินความหนาของชิ้นงาน z ความกวา้ งหรือความสูง รูปสามเหลี่ยมของแนว เช่ือมต่อฉาก พ้นื ท่ีหนา้ ตดั รอยเชื่อม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ อยเอม รูปท่ี 1.72 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดแนวเชื่อมตอ่ ชนแบบตา่ ง ๆ

19 พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเช่ือม สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ อยเอรมูปท่ี 1.73 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดแนวเชื่อมต่อชนระหวา่ งขอบท่ีพบั พ้นื ที่หนา้ ตดั รอยเชื่อม การกาหนดที่สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.74 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดแนวเชื่อมตอ่ ฉาก ความยาวแนวเชื่อม การกาหนดสญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.75 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดความยาวแนวเชื่อมต่อฉาก

20 ความยาว (l) และระยะเวน้ แนวเชื่อม ((e)) การกาหนดสญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปที่ 1.76 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดแนวเช่ือมต่อฉากเชื่อมสลบั ดา้ น การกาหนดท่ีสญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ก. ความกวา้ งระยะ C ของรอยเชื่อมตะเขบ็ การกาหนดท่ีสญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ความกวา้ งระยะ C ของร่องเชื่อมแบบสลอ็ ต รูปที่ 1.77 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดความกวา้ งของขนาด c

21 ก. ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง d ของรอยเชื่อมปลกั๊ การกาหนดที่สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ข. ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง d ของรอยเช่ือมจุด การกาหนดที่สญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.78 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดความโตของขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง d ภาพสามมิติแสดงการเช่ือมพอกผิว การกาหนดท่ีสญั ลกั ษณ์ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 1.79 แสดงตวั อยา่ งการกาหนดขนาดของรอยเช่ือมพอกผวิ 7) การระบุรายละเอียดเพิ่มเติมของสัญลกั ษณ์งานเช่ือม การระบุรายละเอียดเพิ่มเติมของสัญลกั ษณ์งานเชื่อมมีความจาเป็ นมาก เพ่ือใช้ เป็นการกาหนดรูปแบบการเช่ือม เช่น การเชื่อมรอบ การเช่ือมหนา้ งาน ตลอดจนกระบวนการเชื่อม และรายละเอียดตา่ ง ๆ ของงานเช่ือม (ดงั แสดงในรูปท่ี 1.80 ถึง 1.81)

22 ก. การระบุสญั ลกั ษณ์การเช่ือมรอบ ข. การระบุสญั ลกั ษณ์การเช่ือมหนา้ งาน ค. การระบุสญั ลกั ษณ์กระบวนการเช่ือมดว้ ยตวั เลข รูปที่ 1.80 แสดงการระบุรายละเอียดเพิ่มเติม รูปท่ี 1.81 แสดงตวั อยา่ งการระบุรายละเอียดเพ่มิ เติม

23 สรุป ในการเขียนแบบงานเชื่อม จะเห็นไดว้ ่าสัญลกั ษณ์ของงานเชื่อมท้งั มาตรฐาน AWS และ ISO มีความเหมือนกนั ตรงท่ีขนาดของหวั ลูกศร เส้นลูกศร เส้นอา้ งอิงต่อเน่ือง หางลูกศร และ สัญลกั ษณ์ของแนวเชื่อม จะมีความแตกตา่ งกนั ดงั น้ี 1. หน่วยของมาตรฐาน AWS ใชห้ น่วยเป็นนิ้ว มาตรฐาน ISO ใชเ้ ป็นมิลลิเมตร 2. กระบวนการเช่ือมมาตรฐาน AWS ใชบ้ อกดว้ ยตวั อกั ษรย่อ มาตรฐาน ISO ใช้บอกดว้ ย ตวั เลข 3. เชื่อมด้านลูกศรช้ีมาตรฐาน AWS เขียนสัญลักษณ์ไวท้ ่ีใตเ้ ส้นอา้ งอิงมาตรฐาน ISO เขียนไวท้ ่ีเส้นอา้ งอิงตอ่ เน่ือง 4. เชื่อมดา้ นตรงขา้ มลูกศรช้ีมาตรฐาน AWS เขียนสัญลกั ษณ์ไวบ้ นเส้นอา้ งอิงมาตรฐาน ISO เขียนไวท้ ี่เส้นอา้ งอิงท่ีเป็นเส้นประ ส่วนรายละเอียดอ่ืน ๆ ของท้งั 2 มาตรฐาน จะไม่แตกต่างกนั มาก แต่ถา้ นาสัญลกั ษณ์งาน เช่ือมไปกาหนดในแบบงานใหก้ าหนดมาตรฐานใดมาตรฐานหน่ึงตลอดท้งั แบบงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook