Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุในงานเชื่อม

วัสดุในงานเชื่อม

Published by pakasit120212, 2020-12-09 12:07:54

Description: ชนิด หน้าที่ของแก๊สปกคลุมและหลักการเลือกวัสดุประสานงานเชื่อม

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรยี นที่ 8 ชนิดและหน้าที่ของแกส๊ ปกคลมุ และหลักการเลือกวสั ดุประสานงานเชอื่ ม รายวชิ าวสั ดุประสานงานเช่อื ม 1/32 8.1 ชนิดและหนา้ ท่ีของแก๊สปกคลมุ ในกระบวนการเช่อื มอาร์ก โลหะแกส๊ คลุม (GMAW) หรอื การเชอื่ มมิก/แม็ก (MIG/MAG) รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเชือ่ ม 2/32

8.1.1 หลักการของกระบวนการเชอ่ื มอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ (GASMETAL ARCWELDING : GMAW) กระบวนการเชื่อมมกิ /แม็ก หมายถึง กระบวนการเชื่อมทใ่ี ชล้ วดเชื่อมเปลอื ย ขนาดเลก็ ทส่ี ่งป้อนไปอย่างต่อเนอ่ื ง ทาให้เกิดการอาร์กความร้อนจากการอาร์ก จะหลอมเหลวผิวโลหะชน้ิ งานและปลายลวดเชื่อมให้เป็นหยดโลหะถ่ายโอน สบู่ ่อหลอมเหลวของรอยเชื่อม และบ่อหลอมเหลวจะถูกปกคลมุ ไวด้ ว้ ยแกส๊ ปกคลมุ เพือ่ ป้องกนั ไม่ใหอ้ อกซเิ จนหรือแก๊สอ่นื ๆ เขา้ ไปทาปฏิกิริยากับ น้าโลหะเหลว หัวเชื่อมมกิ /แม็ก การอาร์ก สวทิ ซค์ วบคุม แกส๊ ปกคลุม โลหะรอยเชื่อม แอ่งหลอมเหลว โลหะชิน้ งาน รายวิชาวสั ดุประสานงานเชือ่ ม 3/32 8.1.2 ชนดิ ของแก๊สปกคลมุ แนวเชื่อมและการนาไปใช้งาน การเช่ือมมิก/แม็ก แกส๊ คลุมที่ใช้คือ แกส๊ เฉื่อย(Inert Gas) แก๊สปฏิกรยิ า (Active Gas) แก๊สผสม แกส๊ ปฏกิ ริ ยิ า CO2 แกส๊ เฉ่ือย Ar รายวชิ าวสั ดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 4/32

การเลือกใช้แก๊สจะมีผลตอ่ คุณภาพของรอยเชอื่ มท่ีแตกตา่ งกันไป ตัวอยา่ ง ลักษณะของแนวเชอ่ื มทใี่ ชแ้ ก๊สฮีเลยี มและอารก์ อนปกคลมุ ดังรูป แก๊สฮเี ลียม ลาอาร์กกวา้ ง แก๊สอาร์กอน ลาอาร์กแคบ รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเช่ือม 5/32 1) แก๊สอาร์กอน (Ar) 6/32 สมบตั ขิ องแก๊สอาร์กอน มดี งั นี้ มคี วามต่างศกั ยต์ ่า ปฏิกริ ิยาที่ได้สะอาด เหมาะสาหรบั การเชอ่ื มโลหะทีผ่ วิ เป็นออกไซด์ไดง้ ่าย เช่นอะลูมเิ นียมอะลมู ิเนยี มผสม และ โลหะผสมท่มี ีสว่ นผสมของอะลมู เิ นียมอยมู่ าก การเร่ิมตน้ อารก์ ทาได้งา่ ยคงที่มากกวา่ ใช้แกส๊ ฮเี ลยี ม เหมาะสาหรบั การเช่ือมโลหะบาง ๆ ปรมิ าตรแก๊สตา่ มนี ้าหนักมากกว่าอากาศ จึงใชแ้ กส๊ นอ้ ยในการปกคลมุ เมอ่ื เทียบกับฮเี ลียม มีในบรรยากาศประมาณ 0.94 % ไม่มีสี ไมม่ ีกลิน่ ไมม่ รี ส ไม่ตดิ ไฟ รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชอ่ื ม

แก๊สอารก์ อนเปน็ แกส๊ ทนี่ ยิ มใชก้ ันมาก เพราะ 7/32 มกี ารนาความรอ้ นตา่ เปลวอารก์ ที่เกดิ จะแคบแต่มคี วามเขม้ สูง ทาให้ช้ินงานไดร้ บั พลงั งานความรอ้ นสูง ลักษณะของรอยเชื่อมจะแคบแตม่ ีการหลอมลกึ สูง การแบ่งเกรดของแก๊สอารก์ อน แก๊สอารก์ อนแบง่ ออกเป็นเกรดได้ ดังนี้ 1. Welding Grade มีอารก์ อน 99.99% 2. High Purity Grade มอี าร์กอน 99.993% 3. Ultra High Purity มีอาร์กอน 99.997% รายวิชาวัสดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 2) แก๊สฮีเลยี ม (He) สมบัตขิ องแก๊สฮเี ลยี มมี ดงั น้ี ความต่างศกั ยส์ ูง ใหค้ วามร้อนสงู เหมาะสาหรบั การเชื่อม ชิ้นงานท่ีหนามากกวา่ 4.8 มม. และโลหะทที่ นตอ่ ความรอ้ นสูง ๆ บริเวณรบั ความรอ้ นแคบ มีความเร็วในการเช่อื มสูง จึงมผี ลทาใหช้ น้ิ งาน เกดิ การเปลยี่ นแปลงนอ้ ย และทาให้มสี มบตั ทิ างกลสูง แก๊สมีปรมิ าตรสงู มนี ้าหนกั เบามากกวา่ อากาศ เหมาะกบั การเชอ่ื มทา่ เหนือศีรษะ และทา่ ตง้ั การเชอื่ มแบบอัตโนมตั ิ ความเร็วในการเช่ือมมากกว่า 0.0106 เมตร/วินาที จะทาใหร้ อยเช่ือมมีฟองอากาศ รายวิชาวัสดุประสานงานเช่อื ม 8/32

3) แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 9/32 สมบตั ขิ องแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์  มีทง้ั สถานะเป็นแก๊สและสถานะของเหลว  มีสมบัตไิ ม่ติดไฟ ไมเ่ ป็นพิษ ไมม่ กี ลน่ิ และไม่มสี ี  หนักกวา่ อากาศประมาณ 1.5 เท่า รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชื่อม ความสามารถในการใช้แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดป์ กคลมุ สามารถใชค้ ลมุ การอารก์ ไดล้ าพงั หรอื ใชผ้ สมกบั แกส๊ อ่ืนเพ่อื ปรับปรุงปฏิกิริยา การอารก์ และการถา่ ยโอนโลหะ เมื่อนามาเชอื่ ม เปน็ แกส๊ ทาปฏกิ ิริยา(Active Gas) เม่ืออยู่ที่อณุ หภูมหิ อ้ งจะมสี ภาพเปน็ แกส๊ เฉ่อื ย (Inert Gas) ไมส่ ามารถทาการเชื่อมแบบถา่ ยโอนโลหะแบบละออง (Spray Transfer) ได้ การใชแ้ ก๊สคาร์บอนไดออกไซดอ์ ยา่ งเดียวปกคลุมรอยเชื่อม จะไดผ้ วิ งานทีม่ อี อกไซด์ มาก ตอ้ งเตมิ ธาตลุ ดออกซเิ จนจานวนมากลงในลวดเช่ือม การเปดิ วาลว์ ควบคมุ การไหลของแกส๊ ไมค่ วรให้มอี ตั ราการไหลเกนิ 25 ลูกบาศกฟ์ ุต ตอ่ ชั่วโมง รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 10/32

การแบง่ เกรดของแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ แบ่งได้ 4 เกรด ได้แก่ 1. Food Grade 2. Medical Grade 3. Industrial Grade 4. Welding Grade แก๊สคาร์บอนไดออกไซดผ์ ลติ ไดจ้ าก การเผาแกส๊ ธรรมชาติ น้ามันและถา่ นโคก้ การผลิตแอมโมเนียและหมกั แอลกอฮอล์ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ทไ่ี ดจ้ ากการผลิตแอมโมเนยี และหมักแอลกอฮอล์ มคี วามบริสทุ ธิ์ 100 % 11/32 รายวชิ าวัสดุประสานงานเชอื่ ม 4) แก๊สผสมระหวา่ งอารก์ อนและออกซิเจน (Ar+O) แกส๊ ออกซเิ จนเม่อื เติมลงในอารก์ อนปริมาณนอ้ ย มผี ลดังน้ี ช่วยปรบั ปรงุ การอารก์ ใหเ้ รียบสมา่ เสมอ ช่วยกระแสไฟเช่อื มไหลผา่ นไดส้ ะดวก ลดฟองอากาศให้นอ้ ยลง ช่วยให้การถ่ายโอนโลหะมีหยดนา้ โลหะขนาดสมา่ เสมอ เพ่อื ให้รูปทรง แนวเชื่อมมีความละเอยี ด เพม่ิ สมบัตทิ างกลใหส้ ูงขึ้น รายวชิ าวัสดุประสานงานเชอื่ ม 12/32

แก๊สผสมอาร์กอน - 1% ออกซเิ จน ใช้ในการเชอ่ื มเหลก็ กล้าสเตนเลส การถ่ายโอนโลหะแบบละออง ช่วยทาให้การอาร์กสมา่ เสมอ ลักษณะของรอยเชื่อมดขี ้ึน แก๊สผสมอาร์กอน - 2 % ออกซเิ จน ใชเ้ ชือ่ มเหล็กกลา้ คาร์บอนและเหล็กกล้าผสมต่ารวมทง้ั เหล็กกลา้ สเตนเลส การถ่ายโอนโลหะแบบละออง การไหลตวั ของนา้ โลหะดกี ว่าแก๊สผสมชนิดออกซเิ จน 1% สมบตั ิ ในการต้านทานการกดั กรอ่ นและสมบตั ทิ างกลจะมีค่าเทา่ กนั รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชื่อม 13/32 แก๊สผสมอารก์ อน - 5 % ออกซิเจน ควบคุมใช้เชื่อมเหลก็ กล้าคาร์บอน ทาให้การไหลตวั ของนา้ โลหะดีขึน้ บอ่ หลอมเหลวไดด้ ี เพ่มิ ความเร็วในการเช่อื มได้ดี แกส๊ ผสมอาร์กอน- 8-12% ออกซเิ จน 14/32 ทาให้การไหลตวั ของน้าโลหะดี กระแสไฟของการถา่ ยโอนโลหะตา่ ใช้ในการเชื่อมแนวเดยี ว รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชอ่ื ม

แกส๊ ผสมอารก์ อน 12 - 45 % ออกซเิ จน ทาให้การไหลตวั ของน้าโลหะดมี าก มีรูพรนุ น้อยหรอื ไม่มเี ลย ภาพหนา้ ตดั รอยเช่อื มทใี่ ชแ้ กส๊ อาร์กอน มแี สลกหรือสเกลปิดอยู่ท่ีผวิ หน้ารอยเชือ่ มมาก และกาจดั ออกได้ยาก ลกั ษณะของแนวเชอื่ มท่เี กิดจากการใชแ้ ก๊สอาร์กอน ภาพหนา้ ตดั รอยเชื่อมท่ใี ชแ้ ก๊ส ปกคลมุ รอยเช่ือมจะเกิดการกัดแหว่งบริเวณขอบและนนู ผสมอาร์กอนกบั ออกซิเจน เมอื่ ผสมแก๊สออกซเิ จนเขา้ ไปจะชว่ ยให้รอยเชอ่ื มหลอมลึกดี ไมเ่ กดิ การกัดแหว่งบริเวณขอบ ดงั แสดงในรูป 15/32 รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 5) แก๊สผสมระหวา่ งอาร์กอนกับแกส๊ ฮีเลยี ม (Ar + He) แกส๊ ผสมชนิดน้ีเหมาะสาหรบั เชื่อมโลหะนอกกลุ่มเหลก็ เช่น ทองแดง อะลมู เิ นียม นิกเกลิ ผสมและโลหะที่เกดิ ปฏิกรยิ าเคมี ฮีเลยี ม จะช่วยทาใหแ้ รงเคลื่อนไฟฟา้ และความรอ้ นสูงกว่าอารก์ อน ถ้าสว่ นผสมของฮเี ลยี มเพ่มิ มากขึน้ จะสามารถเช่ือมชนิ้ งานหนาได้ มากขน้ึ และการหลอมลึกเพม่ิ มากข้ึน เกดิ รพู รนุ น้อยมาก รายวิชาวัสดุประสานงานเชือ่ ม 16/32

แกส๊ ผสมอาร์กอน - 25 % ฮีเลยี ม 17/32 ใช้สาหรบั เชอ่ื มอะลูมเิ นยี ม แกส๊ ผสมอาร์กอน - 75 % ฮเี ลียม ใชเ้ ช่อื มอะลูมเิ นียมหนามากกวา่ 1 น้วิ และเชอื่ มทองแดงหนา 6-12 ม.ม. ใช้กบั การเชอื่ มอัตโนมตั ิใหค้ วามร้อนสูงและเกดิ รูพรุนน้อย แกส๊ ผสมอาร์กอน - 90 % ฮเี ลยี ม ใช้เชือ่ มอะลมู ิเนยี มหนาเกนิ 7.5 ซ.ม. และเชื่อมทองแดงหนาเกนิ 12 ม.ม. แนวเชื่อมสามารถตรวจสอบดว้ ยการเอก็ ซเรย(์ X-Rays) ได้ ใชเ้ ชอ่ื มแบบลดั วงจรดว้ ยลวดเชอ่ื มผสมนิกเกลิ สงู ไดด้ ี รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเช่อื ม 6) แก๊สผสมระหวา่ งอารก์ อนกบั คารบ์ อนไดออกไซด์ (Ar + CO2) แก๊สผสมชนดิ นใ้ี ชเ้ ชอื่ มเหลก็ กล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าผสมตา่ ห้ามใช้เชื่อมเหลก็ กลา้ สเตนเลส แก๊สผสมอารก์ อน - 3-10% คาร์บอนไดออกไซด์ ใชเ้ ชือ่ มเหล็กกล้าคารบ์ อน ถา่ ยโอนโลหะแบบลัดวงจรและแบบละออง 18/32 การผสมคาร์บอนไดออกไซด์ 5 - 10 % จะทาใหล้ าแสงของการอารก์ ตรงและแคบ เกดิ การอาร์กรุนแรง สง่ ผลให้สเกลที่เกิดจากการรีดหลุดออก และสามารถควบคุมบอ่ หลอมเหลวได้งา่ ย รายวิชาวสั ดุประสานงานเช่อื ม

แก๊สผสมอาร์กอน - 11-20 % คารบ์ อนไดออกไซด์ ใช้เช่อื มเหล็กกล้าคารบ์ อนและเหล็กกลา้ ผสมต่า ใช้เชอื่ มงานที่มีระยะหา่ งของชน้ิ งานทแ่ี คบ งานโลหะแผ่นบาง เชื่อมงานทต่ี ้องการความเร็วเชอื่ มสงู และเชือ่ มในตาแหนง่ ทา่ เชอ่ื มยาก แกส๊ ผสมอารก์ อน - 21-25 % คาร์บอนไดออกไซด์ ใชเ้ ชอื่ มเหลก็ เหนียว โดยการถา่ ยโอนโลหะแบบลัดวงจร 19/32 เหมาะสาหรบั การเชือ่ มเหลก็ หนาดว้ ยกระแสไฟเชอื่ มสูง ทาให้การอาร์กสมา่ เสมอ ควบคุมบอ่ หลอมเหลวได้ดีรปู รา่ งรอยเชือ่ มสวยงาม รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชอ่ื ม แก๊สผสมอารก์ อน - 50 % คารบ์ อนไดออกไซด์ ใชเ้ ช่อื มงานทต่ี ้องการความร้อนในการเชอื่ มสงู หลอมลกึ สูง และ เช่อื มงานทีห่ นามากกว่า 3 ม.ม. ในตาแหนง่ ทา่ เชื่อมท่ยี าก นยิ มใช้งานเช่ือมท่อแบบการถา่ ยโอนโลหะแบบลัดวงจร ทาให้ การไหลตัวของนา้ โลหะดี แก๊สผสมอาร์กอน - 75 % คาร์บอนไดออกไซด์ ใช้สาหรบั การเชื่อมทอ่ ผนงั หนา การหลอมลกึ สงู 20/32 ให้การหลอมเหลวที่ผนงั ของด้านขา้ งดี การอาร์กสม่าเสมอ ทาใหม้ ีเมด็ โลหะนอ้ ยลง รายวิชาวัสดุประสานงานเชอื่ ม

7) แกส๊ ผสมระหว่างอาร์กอนกบั ไนโตรเจน (Ar+N)  แก๊สผสมระหวา่ งอารก์ อนและออกซิเจน 1% เมอื่ เติมไนโตรเจนเล็กน้อย จะให้รอยเชือ่ มทีม่ โี ครงสรา้ งเปน็ ออสเทนไนต์ทส่ี มบรู ณ์  การเตมิ แกส๊ ไนโตรเจนระหวา่ ง 1.5-3% เหมาะกับการเชือ่ มดว้ ย ลวดเช่ือมสเตนเลสชนิด 347  ถา้ เตมิ แก๊สไนโตรเจนเกินกวา่ 10% จะทาให้เกดิ ควนั แตร่ อยเชื่อม ยงั สมบูรณ์  สาหรบั การเช่อื มแนวเดียว ถา้ เช่อื มเหล็กเหนยี ว เมื่อเติมไนโตรเจน เกิน 2% จะทาให้เกดิ รพู รนุ รายวชิ าวัสดปุ ระสานงานเชอื่ ม 21/32 8) แก๊สผสมระหวา่ งอารก์ อนและคลอรีน(Ar+Cl)  แกส๊ ชนดิ นี้ไมค่ อ่ ยใช้กันเพราะจะเปน็ อันตรายต่อผู้ปฏบิ ตั งิ าน เวน้ แตจ่ ะมีการป้องกนั อนั ตรายเป็นอย่างดี  แก๊สคลอรนี จะทาหน้าทไี่ ล่แก๊สไฮโดรเจนออกจากรอยเช่อื มโลหะ งานอะลมู เิ นยี ม รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 22/32

9 ) แก๊สผสมระหว่างอารก์ อน - ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ (Ar + O+ CO2)  แก๊สผสม 3 ชนดิ น้ี เรียกวา่ ยนู ิเวอร์แซล (Universal) เพราะ สามารถทาใหเ้ กดิ การถ่ายโอนโลหะ แตล่ ะแบบ ดังนี้ แบบละออง แบบลัดวงจร แบบหยดขนาดใหญ่ แบบพลั ส์ ชนดิ ที่มกี ารส่งถ่ายที่มี ความหนาแน่นสงู รายวิชาวสั ดปุ ระสานงานเชื่อม 23/32 แก๊สผสมอาร์กอน - 1-3% ออกซเิ จน - 5-10% คารบ์ อนไดออกไซด์  แกส๊ ออกซิเจนจะชว่ ยทาใหก้ ารอาร์กสม่าเสมอข้นึ  แกส๊ ชนิดนี้ เหมาะกับการเช่อื มเหลก็ กลา้ คารบ์ อน เหลก็ กลา้ ผสมต่า และเหลก็ กล้าสเตนเลส  การเชือ่ มเหลก็ กล้าสเตนเลส ควรใช้การถา่ ยโอนเช่ือมแบบละออง เทา่ นั้น  ถา้ ใชก้ ระแสไฟตา่ บอ่ หลอมเหลวจะมคี วามหนืดและจะมีการเติม ธาตุคาร์บอนในโลหะชน้ิ งาน 24/32 รายวชิ าวสั ดปุ ระสานงานเชื่อม

แก๊สผสมอาร์กอน - คาร์บอนไดออกไซด์ - ไฮโดรเจน  แก๊สผสมชนดิ นี้เม่ือเตมิ ไฮโดรเจน 1-2 % จะทาใหก้ ารไหลตัว ของนา้ โลหะดขี น้ึ และการอาร์กสม่าเสมอ  การเชอื่ มเหลก็ กลา้ สเตนเลสการถา่ ยโอนโลหะแบบพัลส์ จะตอ้ งเตมิ คารบ์ อนไดออกไซด์ 1-3% เพ่อื ทาให้การอาร์กสมา่ เสมอ และทาให้ การดงึ คารบ์ อนเกดิ ขนึ้ น้อย  แก๊สผสมชนดิ นี้ไมค่ วรนาไปเชอื่ มเหล็กกล้าผสมตา่ เพราะจะทาให้ รอยเชอ่ื มแกส๊ ไฮโดรเจนสงู มีผลทาให้เกดิ การแตกร้าวและสมบัติ ทางกลไม่ดี รายวิชาวสั ดุประสานงานเชอ่ื ม 25/32 แก๊สผสมอาร์กอน - ฮีเลียม - ออกซเิ จน  แก๊สผสมชนดิ นเี้ หมาะกับงานเช่ือมเหล็กกลา้ การถา่ ยโอนโลหะแบบ ละออง และการเช่อื มพอกผิวเหลก็ กล้าผสมตา่ และเหล็กกลา้ สเตนเลส แก๊สผสมอาร์กอน - ฮีเลียม - คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สผสมชนดิ น้มี ีผลทาให้ 26/32 • การอาร์กสม่าเสมอ • รอยเชอ่ื มสวยงาม • การไหลตวั ของน้าโลหะดี • เมอ่ื เชือ่ มเหลก็ กลา้ คารบ์ อนและเหล็กกล้าผสมต่า การเติมฮเี ลียมและ คารบ์ อนไดออกไซดล์ งในอารก์ อน ชว่ ยเพิ่มความร้อนใหก้ ับรอยเช่อื ม รายวิชาวัสดุประสานงานเชอ่ื ม

10) แกส๊ ผสมระหวา่ งอาร์กอน - ฮีเลยี ม - ออกซเิ จน และ คาร์บอนไดออกไซด์ (Ar +He + O+ CO2)  แก๊สผสม 4 ชนิดน้ี เรยี กวา่ Quad Mix  ใช้ปกคลุมสาหรับการเชื่อมท่ตี ้องการเตมิ ลวดเชือ่ มสูง  ใหส้ มบตั ทิ างกลดี  ใชก้ ับการเชื่อมเหล็กกล้าผสมต่า และสามารถนาไปเชอ่ื มเหล็กกลา้ ละมุนได้ รายวชิ าวสั ดปุ ระสานงานเชอ่ื ม 27/32 8.1.3 ประโยชน์ของการใชแ้ ก๊สปกคลุมแนวเชื่อม สาหรบั กระบวนการเชื่อมมิก/แม็ก  เพอ่ื ปอ้ งกันแนวเชอื่ มเกดิ มลทนิ โดยปอ้ งกันบรรยากาศ ภายนอกไมใ่ ห้ รวมตวั กบั แนวเช่ือม  เพื่อรวมตัวกบั สารไลแ่ ก๊สออกซิเจนในลวดเช่ือมละลายออกไซด์และสนิม บนผิวชนิ้ งานไมใ่ หร้ วมตวั กับแนวเชือ่ ม  เพอ่ื ทาใหโ้ ครงสรา้ งภายในของแนวเช่อื มเรยี งตวั กันอยา่ งหนาแนน่ สมบรู ณ์  เพือ่ ทาให้แนวเชื่อมมสี มบตั ิทางกลท่ีดี  เพือ่ ช่วยใหแ้ นวเชอ่ื มมีรปู ทรงท่ดี ี สะเก็ดโลหะติดน้อย  เพอ่ื ช่วยทาใหก้ ระแสไฟเชอ่ื ม วิง่ จากลวดเช่อื มขา้ มเปลวอารก์ ไปสโู่ ลหะงาน รายวิชาวัสดปุ ระสานงานเช่ือม 28/32

8.1.4 หลกั การพจิ ารณาเลอื กใชแ้ ก๊สปกคลมุ แนวเชอื่ ม  ชนิดของโลหะช้ินงานและกระบวนการเชอื่ มทใ่ี ช้  ลกั ษณะการส่งถา่ ยโอนน้าโลหะและลักษณะการอาร์ก  อตั ราความเร็วของการเชื่อม  ความต้องการการหลอมลึก ความกวา้ ง รปู รา่ ง และขนาดของรอยเชอื่ ม  สมบตั ิทางกลของรอยเชือ่ มที่ตอ้ งการ  ราคาของแก๊สท่ใี ช้  ความยาก – ง่าย ในการจดั หาซอ้ื รายวชิ าวสั ดปุ ระสานงานเชอื่ ม 29/32 8.1.5 การถา่ ยโอนโลหะในการเช่อื มอารก์ โลหะแก๊สคลมุ หรือการเช่ือมมิก/แมก็ การถา่ ยโอนโลหะ หมายถงึ การท่ลี วดเชอื่ มหลอมเหลวเปน็ หยด หลดุ ออกจากปลายลวดเชอ่ื ม ผา่ นการอารก์ เข้าสู่บ่อหลอมเหลว บนโลหะงานหรือรอยเชื่อม ดงั รปู รายวชิ าวสั ดปุ ระสานงานเชื่อม 30/32

การถ่ายโอนโลหะ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 แบบ คือ 1) การถ่ายโอนโลหะแบบละออง (Spray Arc Transfer) 2) การถ่ายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ่ (Globular Transfer) รายวิชาวัสดุประสานงานเชอื่ ม 31/32 3) การถา่ ยโอนโลหะแบบลัดวงจร (Short Circuiting) 4) การถ่ายโอนโลหะแบบพัลส์ (Pulsed) รายวิชาวัสดปุ ระสานงานเชอื่ ม 32/32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook