Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา63

หลักสูตรสถานศึกษา63

Published by Sawitree Muenhan, 2021-09-15 10:30:43

Description: หลักสูตรสถานศึกษา63

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ประกาศโรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คาํ สวัสดิร์ าษฎรบ าํ รงุ ) เรือ่ ง ใหใชห ลกั สตู รโรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวัสดิ์ราษฎรบ ํารุง) พทุ ธศักราช ๒๕63 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ …………………….............................…………. หลักสตู รสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานโรงเรียนวัดพืชนิมติ (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พุทธศกั ราช ๒๕63 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนหลักสูตรท่ีไดพัฒนาใหสอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 สอดคลองกับแนวนโยบายและความตองการการจัด การศกึ ษาของชาติ และสอดคลอ งกับสภาพความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และความเจริญกา วหนา ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูใหมีคุณภาพและ มาตรฐานสากลรวมท้ังกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศเรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน ประกาศ สพฐ.ลงวันที่ ๘ มกราคม และไดออกคําส่ังที่สพฐ.๑๒๓๙/๖๐ เร่ืองใหใชมาตรฐานและ ตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือใหสอดคลองกับคําสั่งดังกลาว ทางโรงเรียนจึงตองปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ ประกาศใชหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบํารุง) พุทธศักราช ๒๕63 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทงั้ นี้ หลักสตู รโรงเรียนไดร ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน เม่ือวันที่ เดอื น 2563 จงึ ประกาศใหใ ชห ลักสตู รโรงเรียนตัง้ แตบ ดั น้เี ปนตน ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี เดือน พ.ศ. ๒๕๖3 ( นายธีรวุฒิ กวีธนมณี ) ( นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ผอู าํ นวยการโรงเรยี นวดั พชื นมิ ติ (คําสวัสดร์ิ าษฎรบํารงุ ) หลักสตู รโรงเรยี นวดั พืชนมิ ติ (คาํ สวัสดิร์ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๒ หลักสตู รโรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบาํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สารบญั หนา ประกาศใชห ลักสตู ร 1 สารบัญ ๒ สวนท่ี ๑ สวนนํา 2 2 ความนาํ .................................................................................................................... วสิ ยั ทัศน .................................................................................................................. 4 สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น....................................................................................... 5 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค. ....................................................................................... สวนที่ ๒ โครงสรา งหลักสตู ร ๑5 2.1 โครงสรา งเวลาเรียน.......................................................................................... 21 2.2 โครงสรา งหลักสตู รช้ันป..................................................................................... 28 สวนที่ ๓ คําอธิบายรายวิชา 38 กลุม สาระการเรยี นรูภ าษาไทย 57 กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร 64 กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 72 กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 79 กลุม สาระการเรยี นรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา 86 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ 93 กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพ 99 กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาตา งประเทศ 104 รายวิชาเพมิ่ เติม ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 113 รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ งกนั การทุจรติ กิจกรรมพัฒนาผเู รียน สว นที่ ๔ เกณฑการจบการศึกษา ภาคผนวก หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คําสวัสดร์ิ าษฎรบ าํ รุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

1 สว นที่ ๑ ความนํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคําส่ังกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคําส่ังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคําส่ังใหโรงเรียนดําเนินการใชหลักสูตรในป การศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใชในชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา ใหเปน หลกั สตู รแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรเู ปน เปา หมายและกรอบทิศทางใน การพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อใหสอดคลองกบั นโยบายและเปา หมายของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารุง) จึงไดทําการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนําไปใช ประโยชนและเปนกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมี เปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกําหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสราง เวลาเรียน ตลอดจนเกณฑการวดั ประเมินผลใหม ีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรยี นรู เปดโอกาสใหโรงเรียน สามารถกําหนดทิศทางในการจัดทําหลักสตู รการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมี กรอบแกนกลางเปนแนวทางท่ีชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มีความพรอมในการกาวสูสังคม คุณภาพ มคี วามรอู ยางแทจ รงิ และมที ักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กําหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทําใหหนวยงานที่เก่ียวของ ในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถชวยใหหนวยงาน ท่ีเก่ียวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางม่ันใจ ทําใหการจัดทําหลักสูตรใน ระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุก ระดับตั้งแตระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดที่ กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลมุ ผเู รยี นทกุ กลมุ เปาหมายในระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีคาดหวังได ทุกฝาย ท่ี เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทํางานอยางเปนระบบ และ ตอเน่ือง ในการวางแผน ดําเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพ่ือพัฒนาเยาวชน ของชาติไปสคู ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู กี่ ําหนดไว หลักสูตรโรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบ าํ รงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

2 วสิ ัยทศั นโรงเรียน จดั การศึกษาอยา งมีคุณภาพ สรางผูเ รียนใหมีทักษะในศตวรรษที่ 21 รรู กั ษาความเปนไทย เปนพลเมืองท่ี เขม็ แข็ง สูมาตรฐานสากล สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น หลักสูตรโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารุง) มุงพัฒนาผูเรียนใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนด ซ่ึงการพัฒนาผเู รยี นใหบ รรลมุ าตรฐาน การเรียนรทู ก่ี าํ หนดน้นั จะชว ยใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสําคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและ ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทง้ั การเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหา ความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตผุ ลและความถูกตอ ง ตลอดจนการเลือกใช วธิ กี ารส่อื สาร ที่มีประสิทธภิ าพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบท่มี ตี อ ตนเองและสงั คม ๒.ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวเิ คราะห การคิดสังเคราะห การคิดสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพ่ือการ ตดั สินใจเกี่ยวกับตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมกี ารตดั สนิ ใจที่มปี ระสทิ ธิภาพโดยคาํ นึงถงึ ผลกระทบที่เกิดขน้ึ ตอตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ ม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคม ดวยการสรางเสรมิ ความสมั พันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การ ปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรจู กั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพงึ ประสงคที่ สงผลกระทบตอตนเองและผูอน่ื ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตา ง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา นการเรยี นรู การส่ือสารการทํางาน การ แกปญหาอยางสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค โรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวัสดร์ิ าษฎรบ าํ รุง) มงุ พัฒนาผเู รียนใหมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคเพื่อให สามารถอยูรวมกับผูอืน่ ในสังคมไดอยา งมีความสุข ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย ๒. ซอ่ื สัตยส ุจรติ ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเรยี นรู ๕. อยอู ยางพอเพยี ง หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คําสวสั ดร์ิ าษฎรบ าํ รุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

3 ๖. มงุ มั่นในการทาํ งาน ๗. รกั ความเปนไทย ๘. มีจติ สาธารณะ หลักสูตรโรงเรียนวัดพชื นิมติ (คาํ สวสั ด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

4 สว นท่ี 2 โครงสรางหลักสตู รสถานศึกษา ๒.๑ โครงสรา งเวลาเรยี น หลักสูตรโรงเรียนวดั พืชนิมติ (คาํ สวัสด์ิราษฎรบ าํ รงุ ) ไดกําหนดเวลาเรยี นของกลมุ สาระการเรยี นรู 8 กลุม สาระ ที่ เปน เวลาเรยี นพื้นฐาน เวลาเรียนเพมิ่ เตมิ และเวลาในการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น จําแนกแตละชน้ั ป ดังน้ี เวลาเรยี นระดบั ประถมศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรู/กจิ กรรม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ • กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาไทย 200 200 200 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร 200 200 200 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ 120 120 120 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 80 80 80 ประวตั ศิ าสตร 40 40 40 40 40 40 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 8๐ 80 ศลิ ปะ 40 40 40 40 4๐ 40 การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ 40 4๐ 4๐ 40 ภาษาอังกฤษ 160 160 160 120 120 120 รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘4๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘4๐ • รายวิชาเพ่ิมเติม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 40 40 40 40 40 การปองกันการทจุ ริต 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) 80 80 80 80 80 80 • กิจกรรมพฒั นาผูเรียน แนะแนว 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ ลูกเสอื -เนตรนารี 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ชมุ นุม 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ รวมเวลา กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี นตามโครงสรางหลกั สตู ร ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 หมายเหตุ * จัดบรู ณาการการเรียนรรู วมกันตามความสอดคลอ งของเน้ือหาและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ที่มา : อา งอิงจากคมู ือบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู หนา ที่ ๗ - ๑๒ ของ สาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ที่มา : อา งอิง จาก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นภาษาองั กฤษ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ ทมี่ า : อางองิ จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองแนวทางการบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นของสถานศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ลงวนั ท่ี 1๑ กรกฎาคม ๒๕60 หลักสูตรโรงเรียนวัดพชื นิมิต (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบาํ รงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

5 ๒.๒ โครงสรางหลักสตู รชั้นป หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนิมติ (คาํ สวสั ด์ิราษฎรบ ํารุง) ไดกาํ หนดเวลาเรยี นของกลุมสาระการเรยี นรู ๘ กลุมสาระ ทเ่ี ปนเวลาเรยี นพืน้ ฐาน เวลาเรียนเพ่ิมเตมิ และเวลาในการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น จาํ แนก แตละชนั้ ป ดังน้ี โครงสรา งหลกั สตู รชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 รหสั กลมุ สาระการเรยี นร/ู กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ป) รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐) ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย1 ๒๐๐ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร1 ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 8๐ ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 1 4๐ ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร 1 ๔๐ พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ 1 ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ 1 ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ1 160 รายวชิ าเพม่ิ เติม (8๐) อ 11201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 40 ส ๑๑2๐3 การปองกันการทจุ รติ 40 กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 10 ชมุ นุม 30 ๑,040 รวมเวลาเรียนตามโครงสรางหลักสูตร หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพืชนมิ ติ (คําสวัสด์ิราษฎรบาํ รงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

6 โครงสรางหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๒ รหสั กลุมสาระการเรยี นร/ู กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ป) รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐) ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย2 ๒๐๐ ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร 2 ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 8๐ ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม2 4๐ ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร 2 4๐ พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ 2 ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี 2 ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ2 160 รายวิชาเพิ่มเติม (8๐) อ 12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร2 40 ส ๑22๐3 การปอ งกนั การทุจรติ 2 40 กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน 10 ชุมนมุ 30 ๑,040 รวมเวลาเรยี นตามโครงสรางหลกั สูตร หลักสตู รโรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาํ สวสั ด์ริ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

7 โครงสรางหลักสตู รชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ รหสั กลมุ สาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ป) รายวิชาพ้นื ฐาน (๘๔๐) ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๒๐๐ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร 3 ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 8๐ ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 4๐ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร 3 ๔๐ พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ 3 ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ 3 ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ ภาษาอังกฤษ3 160 รายวิชาเพิม่ เติม (8๐) อ 13201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 ส ๑32๐3 การปอ งกันการทุจรติ 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน (๑๒๐) แนะแนว 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 10 ชมุ นุม 30 ๑,040 รวมเวลาเรียนตามโครงสรางหลกั สตู ร หลักสูตรโรงเรียนวดั พชื นิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบ าํ รงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

8 โครงสรา งหลกั สตู รชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 4 รหสั กลมุ สาระการเรียนร/ู กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ป) รายวิชาพืน้ ฐาน (๘๔๐) ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย 4 ๑๖๐ ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร 4 ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 4 120 ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 4 80 ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร 4 ๔๐ พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 4 8๐ ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ 4 4๐ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี 4 4๐ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 4 120 รายวิชาเพ่ิมเติม (80) อ 14201 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 40 ส ๑42๐3 การปองกนั การทจุ รติ 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 10 ชุมนมุ 30 ๑,040 รวมเวลาเรยี นตามโครงสรางหลักสูตร ... หลักสตู รโรงเรยี นวดั พืชนมิ ติ (คําสวสั ดริ์ าษฎรบํารุง) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

9 โครงสรา งหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๕ รหสั กลุมสาระการเรยี นร/ู กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ป) รายวิชาพ้นื ฐาน (๘๔๐) ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย 5 ๑๖๐ ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร 5 ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 5 120 ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5 80 ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร 5 ๔๐ พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 5 8๐ ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ 5 4๐ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ 5 4๐ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ5 120 รายวชิ าเพ่ิมเติม (8๐) อ 15201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 40 ส ๑52๐3 การปอ งกันการทุจรติ 40 กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสือ-เนตรนารี 40 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน 10 ชมุ นมุ 30 ๑,040 รวมเวลาเรียนตามโครงสรางหลักสตู ร หลักสูตรโรงเรียนวดั พชื นมิ ติ (คาํ สวสั ด์ริ าษฎรบ าํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

10 โครงสรา งหลกั สตู รช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ เวลาเรยี น(ชม./ป) รหัส กลุมสาระการเรียนร/ู กจิ กรรม (๘๔๐) รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๖๐ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย 6 ๑๖๐ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร 6 120 ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 6 80 ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 6 ๔๐ ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร 6 8๐ พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6 4๐ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ 6 4๐ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ 6 120 อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ6 (8๐) รายวชิ าเพิ่มเติม 40 อ 16201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 40 ส ๑62๐3 การปองกันการทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 10 ชุมนุม 30 รวมเวลาเรยี นตามโครงสรา งหลักสตู ร ๑,040 หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คาํ สวัสดร์ิ าษฎรบาํ รงุ ) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

11 รายวชิ าของโรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวัสดริ์ าษฎรบ ํารงุ ) กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย จาํ นวน ๒๐๐ ชว่ั โมง รายวิชาพนื้ ฐาน จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง จาํ นวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จาํ นวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จาํ นวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จาํ นวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน จาํ นวน ๒๐๐ ช่ัวโมง จํานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ จํานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ จํานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ จํานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๖ กลุมสาระการเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จาํ นวน ๘๐ ช่วั โมง รายวิชาพน้ื ฐาน จาํ นวน ๘๐ ชัว่ โมง จํานวน ๘๐ ช่วั โมง ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ จาํ นวน 12๐ ชัว่ โมง ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ จํานวน 12๐ ช่วั โมง ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๓ จาํ นวน 12๐ ชัว่ โมง ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๔ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ กลุมสาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จํานวน 4๐ ช่วั โมง รายวิชาพ้ืนฐาน จํานวน ๔๐ ช่วั โมง จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑ จํานวน ๘๐ ช่ัวโมง ส ๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๒ จาํ นวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๓ จํานวน ๘๐ ช่ัวโมง ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๔ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๕ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๖ ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๑ ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๒ หลักสตู รโรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คําสวสั ด์ริ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

12 ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๓ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๔ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๕ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร ๖ จํานวน ๔๐ ชวั่ โมง กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาพน้ื ฐาน จาํ นวน 4๐ ชวั่ โมง พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๑ จํานวน 4๐ ชั่วโมง พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๒ จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๓ จาํ นวน 8๐ ช่วั โมง พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๔ จํานวน 8๐ ชั่วโมง พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๕ จาํ นวน 8๐ ช่วั โมง พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๖ กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ จํานวน 4๐ ชัว่ โมง รายวิชาพน้ื ฐาน จํานวน 4๐ ชวั่ โมง ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จาํ นวน 4๐ ช่ัวโมง ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จํานวน 4๐ ช่วั โมง ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จํานวน 4๐ ชวั่ โมง ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จํานวน 4๐ ชว่ั โมง ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ จาํ นวน ๔๐ ชัว่ โมง กลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชพี จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง รายวชิ าพ้นื ฐาน จาํ นวน ๔๐ ช่วั โมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๑ จาํ นวน 4๐ ช่วั โมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๒ จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๓ จาํ นวน 4๐ ชั่วโมง ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๔ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๕ จาํ นวน 160 ช่ัวโมง ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๖ จาํ นวน 160 ชั่วโมง กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ(อังกฤษ) จาํ นวน 16๐ ชั่วโมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จํานวน 120 ช่วั โมง อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จาํ นวน 120 ชวั่ โมง อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ หลกั สตู รโรงเรียนวดั พชื นิมิต (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕

13 อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ จาํ นวน 120 ชว่ั โมง รายวชิ าเพ่ิมเตมิ จํานวน 4๐ ชั่วโมง จาํ นวน 4๐ ชว่ั โมง อ 11201 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร 1 จาํ นวน 4๐ ชวั่ โมง อ 12201 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 2 จาํ นวน 4๐ ช่ัวโมง อ 13201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 จาํ นวน 4๐ ชวั่ โมง อ 14201 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร 4 จํานวน 4๐ ช่วั โมง อ 15201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 5 อ 16201 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 6 จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง รายวิชาเพิ่มเติม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง การปอ งกนั การทจุ ริต จํานวน ๔๐ ชวั่ โมง ส ๑๑2๐3 การปองกนั การทุจริต ๑ จํานวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๒2๐3 การปองกันการทุจริต ๒ จาํ นวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๓2๐3 การปอ งกนั การทุจริต ๓ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔2๐3 การปอ งกนั การทจุ ริต ๔ ส ๑๕2๐3 การปอ งกนั การทุจริต ๕ ส ๑๖2๐3 การปองกนั การทุจรติ ๖ **************** หลักสูตรโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คําสวสั ดิ์ราษฎรบ าํ รุง) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

14 สว นท่ี ๓ คาํ อธิบายรายวชิ า หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารุง) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดกาํ หนดคําอธิบายรายวชิ าของวิชาตา ง ๆ ทส่ี อนในแตล ะป การศึกษา ซึ่งประกอบดวย ชื่อรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนชั่วโมงตอป ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และสาระการ เรียนรรู ายป คําอธิบายรายวิชาจะชวยใหผูสอนจัดหนวยการเรียนรูในแตละช้ันป ไดสอดคลองกับมาตรฐานการ เรียนรู เน่อื งจากคาํ อธบิ ายรายวชิ าจะรวมสาระการเรียนรทู ผ่ี ูเ รยี นตองเรยี นรูตลอดทงั้ ป กลมุ ของสาระการเรยี นรู ตลอดปจะมีจํานวนมาก ดังนั้น การจัดเปนหนวยการเรียนรูหลาย ๆ หนวย จะชวยใหกลุมของสาระการเรียนรูมี ขนาดเล็กลง และบรู ณาการไดหลากหลายมากขน้ึ โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารุง) ไดกําหนดรายละเอียดของคําอธิบายรายวิชาเรียง ตามลําดับไว ดงั น้ี ๑. คําอธบิ ายรายวชิ ากลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ - ๖ ๒. คาํ อธิบายรายวชิ ากลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ๓. คาํ อธิบายรายวิชากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีช้ันประถมศึกษาปที่ ๑-๖ ๔. คําอธิบายรายวิชากลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๑-๖ ๕. คําอธิบายรายวิชากลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑ - ๖ ๖. คาํ อธิบายรายวชิ ากลมุ สาระการเรียนรูส ุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ - ๖ ๗. คําอธบิ ายรายวชิ ากลุม สาระการเรียนรศู ิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๖ ๘. คาํ อธิบายรายวชิ ากลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ - ๖ ๙. คาํ อธิบายรายวิชากลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑-๖ ๑๐. คาํ อธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม วิชาภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๖ ๑1. คําอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม วิชาการปองกันการทุจรติ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ๑2. คาํ อธบิ ายรายวิชากิจกรรมพฒั นาผเู รียน ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ - ๖ หลักสูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คาํ สวัสดร์ิ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

15 คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝกทักษะการอา น การเขยี น การฟง การดแู ละการพดู หลักการใชภาษาไทย และวรรณคดแี ละ วรรณกรรมในสาระตอไปนี้ การอา นออกเสยี งและบอกความหมายของคํา คาํ คลอ งจอง และขอความ ท่ี ประกอบ ดว ยคาํ พน้ื ฐาน คือคําทใ่ี ชใ นชวี ิตประจาํ วันไมน อยกวา ๖๐๐ คาํ รวมทง้ั คาํ ท่ใี ชเรียนรูในกลุมสาระ การเรยี นรูอนื่ ประกอบดวยคําทม่ี ีรูปวรรณยุกตและไมมรี ปู วรรณยกุ ต คาํ ที่มตี วั สะกดตรงตามมาตราและ ไมต รง ตามมาตรา คาํ ท่มี ีพยัญชนะควบกล้ํา คําที่มอี ักษรนํา การอานจับใจความจากส่ือตางๆ การอานหนงั สือตาม ความสนใจ การอานเคร่ืองหมายและสญั ลักษณ มารยาทในการอา น การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตาม รปู แบบการเขยี นตวั อกั ษรไทย การเขยี นสื่อสาร มารยาทในการเขยี น การฟง และปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนาํ คําสัง่ งา ย ๆ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรูส กึ จากเรื่องที่ฟงและดูท้งั ทีเ่ ปนความรแู ละความ บนั เทิง การพดู ส่ือสารในชีวติ ประจําวัน มารยาทในการฟง มารยาทในการดู มารยาทในการพดู หลกั การใช ภาษา การบอกและเขยี นพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต เลขไทย การเขยี นสะกดคํา การแจกลูกและการอา น เปนคํา มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา การผันคาํ ความหมายของคํา การแตง ประโยค และตอคําคลองจอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม การอานหรือการฟง วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง สําหรบั เดก็ การทองบทอาขยานและบทรอยกรองตามทกี่ ําหนดและความสนใจ โดยใชก ระบวนการอา น การเขียน การฟง การดู การพูด และการวิเคราะห เพ่อื ใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสอ่ื สารส่งิ ท่ีเรยี นรู มคี วามสามารถในการสอื่ สาร คดิ วิเคราะห เห็นคณุ คา ของการนาํ ความรูไ ปใชป ระโยชนในชีวิตประจําวัน มีเจตคติทดี่ ตี อภาษาไทย มีมารยาทใน การอา น การเขยี น การฟง การดแู ละการพูด มคี วามซาบซึ้ง ภาคภูมใิ จในภาษาไทย รักความเปนไทย ใฝ เรียนรแู ละมคี า นิยมทีเ่ หมาะสม รหัสตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕,ป.๑/๖,ป.๑/๗,ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ รวมท้งั หมด ๒๒ ตัวชีว้ ดั หลกั สตู รโรงเรยี นวดั พชื นิมิต (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

16 คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ศกึ ษา ฝกทักษะการอาน การเขยี น การฟง การดแู ละการพูด หลกั การใชภ าษาไทย และวรรณคดี และ วรรณกรรมในสาระตอไปน้ี การอานออกเสียงและการบอกความหมายของคาํ คําคลองจอง ขอความและบท รอ ยกรองงา ย ๆ ท่ปี ระกอบดวยคําพ้ืนฐานเพิ่มจาก ป.๑ไมนอ ยกวา ๘๐๐ คํา รวมทงั้ คําที่ใชเรียนรใู นกลุม สาระ การเรยี นรูอ ืน่ ประกอบดว ยคําที่มรี ปู วรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยกุ ต คําท่มี ีตวั สะกดตรงตามมาตราและ ไมตรง ตามมาตรา คาํ ควบกล้าํ คาํ ที่มีอักษรนํา คําที่มีตัวการันต คาํ ที่มี รร คําท่มี ีพยญั ชนะและสระที่ ไมออกเสยี ง การอา นจบั ใจความสําคัญจากการส่อื ตา งๆ นทิ าน เรือ่ งสน้ั บทเพลงและบทรอยกรองงาย ๆ เรื่องราวจาก บทเรียนในกลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทยและกลมุ สาระการเรียนรูอ่นื ขา วเหตกุ ารณประจําวัน การอานหนังสอื ตามความสนใจ การอา นขอเขียนเชิงอธบิ ายและปฏิบตั ิตามคาํ ส่ังหรอื ขอแนะนาํ มารยาทในการอา น การเขียน การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทยการเขียนเร่ืองสัน้ ๆเกีย่ วกบั ประสบการณ การเขียนเรื่องส้ันๆ เกย่ี วกับจินตนาการ มารยาทในการเขียน การฟง การดู และการพดู การฟง และปฏบิ ัตติ าม คําแนะนํา คําส่งั ท่ีซับซอน การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ ความรสู ึกจากเร่อื งทีฟ่ ง และดู ทัง้ ท่ีเปน ความรูและความบนั เทงิ การพูดสื่อสาร ในชวี ติ ประจาํ วัน มารยาทในการฟง มารยาทในการดูมารยาทในการ พดู หลักการใชภ าษา การบอกและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เลขไทย การเขยี นสะกดคาํ การแจก ลกู และการอานเปน คาํ มาตราตัวสะกดท่ตี รงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่าํ คาํ ทม่ี ตี วั การนั ต คําทม่ี พี ยญั ชนะควบกลํ้า คําท่มี ีอักษรนํา คําท่มี ีความหมาย ตรงขา ม คาํ ทม่ี ี รร ความหมายของคํา การแตงประโยค การเรยี บเรียงประโยคเปน ขอความสน้ั ๆ คําคลอ งจอง การใช ภาษาไทยไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ วรรณคดีและวรรณกรรม การอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกว และรอ ย กรองสําหรับเด็ก การรองบทรองเลน ที่มีคณุ คา การทองบทอาขยานและรอยกรองที่มีคุณคาตามที่กาํ หนดและ ความสนใจ โดยใชกระบวนการอา น การเขยี น การฟง การดู การพูด และการวเิ คราะห เพ่ือใหเ กดิ ความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสื่อสารส่งิ ทเี่ รียนรู มคี วามสามารถในการสือ่ สาร คดิ วิเคราะห เห็นคณุ คาของการนําความรูไปใชประโยชนในชวี ติ ประจาํ วนั มีเจตคตทิ ่ีดตี อภาษาไทย มีมารยาทใน การอาน การเขยี น การฟง การดแู ละการพูด มีความซาบซงึ้ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย รักความเปน ไทย ใฝ เรยี นรูและมีคานิยมท่เี หมาะสม รหัสตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗,ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓ รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชีว้ ดั หลักสูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คาํ สวสั ดิร์ าษฎรบํารงุ ) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

17 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ศึกษา ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด หลักการใชภาษาไทย และวรรณคดีและ วรรณกรรมในสาระตอไปนี้ การอานออกเสียงและการบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความ และบท รอยกรองงายๆ ท่ีประกอบดวยคําพื้นฐานเพ่ิมจาก ป.๒ ไมนอยกวา ๑,๒๐๐ คํา รวมทั้งคําที่เรียนรูในกลุมสาระ การเรยี นรอู ื่น การอานจับใจความจากสื่อตา ง ๆ การอา นหนังสือตามความสนใจ การอา นขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา การอานขอมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มารยาทในการอาน การเขียน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนบรรยายเก่ียวกับ ลักษณะของ คน สัตว ส่ิงของ สถานท่ี การเขียนบันทึกประจําวัน การเขียนจดหมายลาครู การเขียนเร่ือง ตามจินตนาการจากคาํ ภาพ และหวั ขอ ทกี่ าํ หนด มารยาทในการเขยี น การฟง การดู และการพูด การ จับใจความและพูดแสดงความคิดเหน็ และความรสู ึกจากเร่อื งที่ฟงและดู ทั้งท่ีเปนความรูและความบันเทิง การ พูดส่ือสารในชีวิตประจําวัน มารยาทในการฟง มารยาทในการดู มารยาทในการพูด หลักการใชภาษา การ สะกดคํา การแจกลูกและการอานเปนคํา มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา การผัน อักษรกลาง อักษรสูงและอักษรต่ํา คําที่มีพยัญชนะควบกล้ํา คําที่มีอักษรนํา คําที่ประวิสรรชนียและคําที่ไม ประวิสรรชนีย คําที่มี ฤ ฤๅ คําท่ีใช บัน บรร คําท่ีใช รร คําท่ีมีตัวการันต ความหมายของคํา ชนิดและ หนาที่ของคํา การใชพจนานุกรม การแตงประโยคเพื่อการสื่อสาร การแตง คําคลองจองและคําขวัญ การใชภ าษาไทยไดเหมาะสมกับกาลเทศะวรรณคดีและวรรณกรรม การอา นวรรณคดี วรรณกรรม การทองจํา บทอาขยานและบทรอยกรองทีม่ ีคณุ คา ตามท่ีกําหนดและความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน การเขียน การฟง การดู การพูด และการวิเคราะห เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถในการสื่อสาร คิดวิเคราะหและ วิจารณ อยางสรา งสรรค เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีเจตคติที่ดีตอภาษาไทย มีมารยาทใน การอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด มีความซาบซึ้ง ภาคภูมิใจในภาษาไทย รักความเปนไทย ใฝ เรยี นรแู ละมคี า นิยมท่ีเหมาะสม รหัสตวั ช้วี ดั ท ๑.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔ รวมท้ังหมด ๓๑ ตวั ช้วี ัด หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คําสวัสดร์ิ าษฎรบ าํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คาํ อธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน 18 ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด หลักการใชภาษาไทย และวรรณคดี และ วรรณกรรมในสาระตอไปน้ี การอานออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกวและบทรอยกรอง การ อานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ การอานจับใจความจากส่ือตางๆ การอานหนังสือตามความสนใจ มารยาท ในการอาน การเขียน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนส่ือสาร การนําแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ ไปพัฒนางานเขียนการเขียนยอความจากสอ่ื ตางๆ ประกาศ จดหมาย คําสอน การเขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดามารดา การเขียนบันทึก และเขียน รายงานจากการศึกษาคนควา การเขียนเรือ่ งตามจินตนาการ มารยาท ในการเขยี น การฟง การดู และการ พูด การจําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเหน็ จากเรื่องที่ฟงและดูในชีวติ ประจําวนั การจับใจความและการพูดแสดง ความรู ความคดิ ในเรอ่ื งท่ีฟง และดจู ากสื่อตา งๆ การพดู รายงาน มารยาทในการฟง การดูและการพดู หลกั การใช ภาษา การสะกดคําในแม ก กา มาตราตัวสะกด การผันอักษร คําเปนคําตาย คําพองชนิดและหนาที่ของ คํา การใชพจนานุกรม ประโยคสามัญ การแตงกลอนสี่และคําขวัญ สํานวนท่ีเปนคําพังเพยและสุภาษิต เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาทองถ่ินได วรรณคดีและวรรณกรรม การอานวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทอ งถนิ่ การทอ งจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามทกี่ ําหนดและความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน การเขียน การฟง การดู การพูด และการวิเคราะห เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขา ใจ สามารถสื่อสารสิง่ ทเ่ี รยี นรูมีความสามารถในการสื่อสาร คิดวเิ คราะห และ วิจารณ อยาง สรางสรรค เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีเจตคติที่ดีตอภาษาไทย มีมารยาทใน การอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด มีความซาบซ้ึง ภาคภูมิใจในภาษาไทย รักความเปนไทย ใฝ เรยี นรแู ละมีคา นิยมทเี่ หมาะสม รหสั ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗,ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗,ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔ รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวชี้วดั หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

19 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลุม สาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ศกึ ษา ฝกทกั ษะการอา น การเขียน การฟง การดูและการพูด หลกั การใชภาษาไทย และวรรณคดี และวรรณกรรมในสาระตอ ไปนี้ การอานออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกวและบทรอยกรอง การอานบทรอยกรองเปนทาํ นองเสนาะ การอา นจับใจความจากสอื่ ตาง ๆ การอานงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คาํ สง่ั ขอแนะนําและปฏิบัติตาม การอานหนังสือตามความสนใจ มารยาทในการอาน การเขียน การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสาร การนําแผนภาพโครง เรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน การเขียนยอความ จากส่ือตาง ๆ การเขียนจดหมายถึง ผูปกครองและญาติ การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น การกรอกแบบรายการ การเขียนเรื่องตาม จินตนาการ มารยาทในการเขียน การฟง การดูและการพูด การจับใจความและการพูดแสดงความรู ความคิด ในเร่อื งที่ฟง และดูการพูดแสดงความรู ความคิดเหน็ และความรูสึกจากเร่ืองทฟี่ งและดจู ากส่ือตางๆ การวิเคราะห ความนาเช่ือถือ จากเรื่องท่ีฟงและดูในชีวิตประจําวัน การพูดรายงาน มารยาทในการฟง การดูและการพูด หลักการใชภาษาไทย ชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ประโยคและสวนประกอบของประโยค การ เปรียบเทียบภาษาไทย การใชคําราชาศัพท คําท่ีมาจากภาษาตางประเทศ การแตงกาพยยานี ๑๑ การใช สํานวนท่ีเปนคําพังเพยและสุภาษิตวรรณคดีและวรรณกรรม การสรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน การนําความรู และขอคิดท่ีไดจากการอานไปใชในชีวิตจริง การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรม การทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมคี ุณคาตามที่กาํ หนดและความสนใจ โดยใชกระบวนการอา น การเขียน การฟง การดู การพดู และการวิเคราะห เพ่ือใหเกดิ ความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่ือสารสิง่ ท่เี รียนรู มคี วามสามารถในการส่อื สาร คิดวเิ คราะห และ วจิ ารณ อยางสรา งสรรค เห็นคุณคาของการนาํ ความรไู ปใชป ระโยชนในชีวิตประจาํ วนั มีเจตคตทิ ด่ี ีตอภาษาไทย มีมารยาทใน การอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด มคี วามซาบซงึ้ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย รักความเปน ไทย ใฝ เรียนรูแ ละมีคานิยมท่ีเหมาะสม รหสั ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗,ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗,ป.๕/๘,ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔ รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้ีวัด หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบ าํ รุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

20 คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เวลาเรียน ๑๖๐ ชั่วโมง ศกึ ษา ฝกทักษะการอา น การเขียน การฟง การดูและการพดู หลกั การใชภ าษาไทย และวรรณคดแี ละ วรรณกรรมในสาระตอไปนี้ การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกวและบทรอยกรอง การ อา นบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ การอานจบั ใจความจากสอื่ ตา ง ๆ การอานเร็ว การอานงานเขยี นเชิง อธบิ าย คาํ สั่ง ขอ แนะนําและปฏบิ ตั ติ าม การอานขอมูลจากแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ และกราฟ การอาน หนงั สอื ตามความสนใจ มารยาทในการอาน การเขยี น การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครึ่งบรรทดั ตาม รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทยการเขยี นสื่อสาร การนําแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคิด การเขียน เรยี งความ การเขียนยอความจากส่ือตาง ๆ การเขยี นจดหมายสว นตวั การกรอกแบบรายการ การเขียน เรือ่ งตามจนิ ตนาการมารยาทในการเขยี น การฟง การดูและการพูด การพูดแสดงความรู ความเขาใจใน จดุ ประสงคของเร่ืองที่ฟงและดูจากสอ่ื ตาง ๆ การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากการฟงและดูสอ่ื โฆษณา การพูด รายงาน การพูด โนม นา ว ในสถานการณต า ง ๆ มารยาทในการฟง การดแู ละการพูด หลกั การใชภาษาไทย ชนิดและหนาที่ของคาํ ในประโยค การใชคําราชาศพั ท ระดบั ภาษาการใชภ าษาถ่ิน คําท่มี าจาก ภาษาตางประเทศ ลักษณะประโยค กลมุ คําหรือวลี ประโยคสามญั ประโยครวม ประโยคซอน การแตงกลอน สภุ าพ การวิเคราะหเ ปรยี บเทยี บสํานวนทเี่ ปน คําพงั เพยและสุภาษติ วรรณคดีและวรรณกรรม การแสดงความ คดิ เหน็ จากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมนิทานพน้ื บาน การนําความรูและขอคิดท่ีไดจากการอานไปประยกุ ตใ ชใน ชีวิตจรงิ การอธิบายคณุ คาของวรรณคดแี ละวรรณกรรม การทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองทีม่ ีคณุ คา ตามที่กําหนดและความสนใจ โดยใชก ระบวนการอา น การเขียน การฟง การดู การพูด และการวเิ คราะห เพื่อใหเกดิ ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสือ่ สารสง่ิ ทเี่ รยี นรู มคี วามสามารถในการสอื่ สาร คิดวเิ คราะห และ วิจารณ อยา งสรา งสรรค เห็นคุณคาของการนาํ ความรูไ ปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจําวัน มเี จตคติทด่ี ีตอภาษาไทย มีมารยาทในการ อาน การเขียน การฟง การดแู ละการพูด มีความซาบซึ้ง ภาคภมู ิใจในภาษาไทย รักความเปนไทย ใฝเ รียนรู และมคี านยิ มที่เหมาะสม รหัสตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖,ป.๖/๗,ป.๖/๘,ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖,ป.๖/๗,ป.๖/๘,ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔ รวมทั้งหมด ๓๔ ตัวช้ีวัด หลักสตู รโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบ าํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

21 คาํ อธบิ ายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร หลกั สตู รโรงเรียนวัดพืชนิมติ (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบ ํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร 22 ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 คําอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ศึกษาการใชจํานวนบอกปริมาณท่ีไดจากการนับ การอาน และการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลข ไทยแสดงจาํ นวนนับไมเ กิน ๑๐๐ และ ๐ การนบั ทลี ะ ๑ และทีละ ๑๐ การบอกอันดบั ท่ี การแสดงจํานวนนับไม เกิน ๒๐ ในรูปความสัมพันธของจานวนแบบสวนยอย – สวนรวม หลักและคาของเลขโดดในแตละหลัก การ เขียนตัวเลขแสดงจาํ นวนนับในรปู กระจายการเปรียบเทียบจาํ นวน และการใชเ คร่อื งหมาย = ≠ > < การเรยี งลา ดับจานวนไมเกิน ๕ จํานวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ ความสัมพันธของการบวกและการลบ โจทยปญหา แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซาํ้ ของจํานวน รปู เรขาคณิตและรปู อ่ืน ๆ การเปรียบเทยี บและการวดั ความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร การเปรียบเทียบและการวดั น้ํา หนักเปนกิโลกรัม เปนขีด โจทยปญหาการบวก และโจทยปญหาการลบเก่ียวกบั ความยาว นํ้าหนัก การจําแนกรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย การใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพ เม่ือกําหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หนวย ในการหาคําตอบ ของโจทยปญหา โดยการจัดประสบการณหรือการสรางสถานการณที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคํานวณ และทักษะการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสารและ การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทกั ษะและกระ บวนการท่ไี ดไ ปใชใน การเรียนรสู งิ่ ตา ง ๆ และใชในชวี ิตประจาํ วนั อยา งสรา งสรรค เห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตรสามารถทํางานอยางเปนระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความ รบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรค และมีความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง รหสั ตวั ชี้วัด ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวมทัง้ หมด ๑๐ ตัวชว้ี ดั หลักสตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบ ํารุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

23 คาํ อธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน วชิ า ค ๑2๑๐๑ คณิตศาสตร กลุม สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 2 เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษาการอา น และการเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจาํ นวนนับไมเ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ การนับทลี ะ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทลี ะ ๑๐๐ จํานวนคู จํานวนค่ี หลกั คาของเลขโดด ในแตล ะหลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทียบและการเรียงลําดับจํานวน การ บวกและการลบจํานวน ความหมายของการคูณและการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ ความสัมพันธของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน และโจทยปญหา แบบรูปของจํานวนท่ี เพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ ๒ ทีละ ๕ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปซ้ําของรูปเรขาคณิต และรูปอ่ืน ๆ การวัดและการ เปรียบเทียบความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเปนเมตร การวัดและการเปรียบเทียบ น้ําหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเปนชอ นชา ชอนโตะ ถวยตวง ลติ ร โจทยปญหาการบวกและโจทยปญ หาการลบเกี่ยวกับความยาว นาํ้ หนัก ปริมาตรและความจุ การ บอกเวลาเปนนาฬิกาและนาที (ชวง ๕ นาที) การบอกระยะเวลาและการเปรยี บเทียบระยะเวลาเปนช่ัวโมง เปน นาที การอานปฎิทิน โจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา การจําแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และ วงรี การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชแบบของรูป การใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพ เมื่อกําหนดรูป ๑ รูป แทน ๒ หนว ย ๕ หนว ย หรอื ๑๐ หนวย ในการหาคาํ ตอบของโจทยป ญหา โดยการจัดประสบการณหรือการสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฎิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดคํานวณ และทักษะการแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือสารและ การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีไดไปใชใน การเรยี นรูส่งิ ตา งๆ และใชในชีวิตประจําวนั อยางสรางสรรค เห็นคุณคา และมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางเปนระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความ รับผิดชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคดิ ริเร่ิมสรางสรรค และมคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง รหัสตัวช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวมทั้งหมด ๑๖ ตวั ชวี้ ัด หลักสูตรโรงเรียนวดั พชื นิมติ (คาํ สวัสดริ์ าษฎรบ าํ รงุ ) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

24 คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ค ๑3๑๐๑ คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 3 เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ศึกษาการอานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ หาคาของตัวไมทราบคาใน ประโยคสัญลักษณแสดงการบวก การลบของจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมทราบคาใน ประโยคสญั ลกั ษณ แสดงการคูณของจํานวน ๑ หลักกบั จํานวนไมเกนิ ๔ หลัก และจํานวน ๒ หลกั กบั จํานวน ๒ หลัก หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ แสดงการหารที่ตัวตั้งไมเกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก หา ผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย ปญ หา ๒ ข้ันตอน ของจํานวนนบั ไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐บอก อาน และเขยี นเศษสวนแสดงปรมิ าณส่ิงตาง ๆ และแสดงสิ่งตาง ๆ ตามเศษสวนท่ีกําหนด เปรียบเทียบเศษสวนท่ีตัวเศษเทากันโดยท่ีท่ีตัวเศษนอยกวาหรือ เทากับตัวสวน หาผลบวกของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันและผลบวกไมเกิน ๑ และหาผลลบของเศษสวนที่มีตัว สวนเทากัน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวกเศษสวนท่ีมีตัวสวนเทากัน และผลบวกไมเกิน๑ และ โจทยป ญหาการลบเศษสว นท่ีมีตวั สวนเทากันระบจุ ํานวนที่หายไปในแบบรปู ของ จํานวนทเ่ี พ่มิ ขึ้นหรือลดลงทีละ เทา ๆ กัน เลือกใชเคร่ืองมือวัดความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งตาง ๆเปนเซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตร และเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหวาง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเคร่ืองช่ังท่ี เหมาะสม วัดและบอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ําหนักเปนกิโลกรัมและเปน ขดี เปรียบเทียบนํ้าหนักระหวางกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันเปนกิโลกรัม จากสถานการณตาง ๆ ระบุรูปเรขาคณิต สองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจํานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ และใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา คําตอบของโจทยปญหา และเขียนตารางทางเดียวจากขอมูลท่ีเปนจํานวนนับ และใชขอมูลจากตารางทางเดียว ในการหาคําตอบของโจทยปญหาแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวเงิน ของโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา ระยะเวลา ความยาว ท่ีมีหนวยเปนเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร และ แสดงวธิ หี าคาํ ตอบของโจทยปญหาเกยี่ วกบั นา้ํ หนักทม่ี หี นวยเปน กโิ ลกรมั กับกรัม เมตริกตนั กบั กิโลกรัม โดยการจัดประสบการณหรือการสรางสถานการณที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฎิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคํานวณ และทักษะการแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือสารและ การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีไดไปใชใน การเรียนรูสงิ่ ตา งๆ และใชใ นชวี ติ ประจําวนั อยา งสรา งสรรค เห็นคุณคา และมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางเปนระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความ รับผิดชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค และมีความเชื่อม่ันในตนเอง รหัสตัวชว้ี ัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒,ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒ รวมทัง้ หมด ๒๘ ตวั ช้วี ดั หลกั สตู รโรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คําสวสั ดิร์ าษฎรบ ํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

25 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ค ๑4๑๐๑ คณิตศาสตร กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 4 เวลา 16๐ ชั่วโมง ศึกษาการอานและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับท่ีมาก กวา 100,000 และ 0 หลกั คาประจาํ หลักและคาของเลขโดดในแตล ะหลัก การเขียนตวั เลขแสดงจํานวนในรูป กระจายการเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนท่ีมากกวา 100,000 คาประมาณของจํานวนนับ การใช เคร่ืองหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ การหาร การประมาณผลลัพธ การหาตัวไมทราบคาในประโยค สญั ลักษณ โจทยป ญ หาการบวกการลบ การคณู และการหาร แบบรปู ของจํานวนทีเ่ กดิ จากการคณู การหารดวย จํานวนเดียวกัน เสนตรง สวนของเสนตรง สวนประกอบของมุม ชนิดของมุม การวัดและการสรางมุม ชนิดและ สมบัติของรูปสี่เหล่ียมมุมฉากโจทยปญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปส่ีเหล่ียม มุมฉาก ความหมาย การอานและเขียนเศษสวนและจํานวนคละท่ีตัวสวนตัวหน่ึงเปนพหุคูณของอีกตัวหน่ึง ความหมาย การอานและการเขียนทศนิยมไมเกินสามตําแหนง หลัก คาประจําหลักและคาของเลขโดดในแตละหลักของ ทศนิยม การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลําดับทศนิยม การบวก การลบเศษสวนและ จํานวนคละที่ตัวสวนตัวหน่ึงเปนพหุคูณของอีกตัวหน่ึง โจทยปญหาการบวก การลบเศษสวนและจํานวนคละ การบวก การลบทศนิยมไมเ กนิ สามตําแหนง โจทยปญ หาการบวก การลบทศนิยม การบอกระยะเวลาเปนวนาที นาที ช่ัวโมง วัน สัปดาห เดือน ป การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใชความสัมพันธระหวางหนวยเวลา การอาน ตารางเวลา โจทยปญหาเก่ียวกับเวลา การเก็บรวบรวมขอมูลและการจําแนกขอมูล การอานและการเขียน แผนภูมิแทง (ไมร วมการยน ระยะ) การอานตารางสองทาง โดยการจดั ประสบการณหรอื สรางสถานการณท่ีใกลต วั ผเู รยี นไดศกึ ษา คนควา ฝก ทักษะ โดยการปฏิบตั ิ จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือ พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ไดไปใช ในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชใ นชีวติ ประจําวันอยา งสรางสรรค เห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สรางสรรคและมคี วามเชือ่ ม่นั ในตนเอง รหสั ตัวชวี้ ัด ค ๑.๑ ป.4/๑, ป.4/2,ป.4/3,ป.4/4,ป.4/5,ป.4/6,ป.4/7,ป.4/8,ป.4/9,ป.4/๑0, ป.4/๑1, ป.4/๑2,ป.4/๑3,ป.4/๑4,ป.4/๑5,ป.4/๑6 ค 2.1 ป.4/๑, ป.4/2,ป.4/3 ค 2.2 ป.4/๑, ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวมทง้ั หมด 22 ตัวช้ีวัด หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คําสวสั ดิร์ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

26 คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ค ๑5๑๐๑ คณิตศาสตร กลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 เวลา 16๐ ชั่วโมง ศึกษาฝกทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหา การบวก การลบ การคูณ และการหารของโจทยปญหา จํานวนนับและ 0 เปรียบเทียบเศษสวนและจํานวนคละ การบวก การลบ การคูณ การหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน และการแกโจทยปญหาของเศษสวนและจํานวนคละ ความสัมพันธระหวางเศษสวนและทศนิยม คาประมาณของทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนงท่ีเปนจํานวนเต็ม ทศนิยม 1 ตําแหนงและ 2 ตําแหนง การใช เครื่องหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม การประมาณผลลัพธ การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับ ทศนิยม ความสัมพันธระหวางหนวยความยาว เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร โดยใชความรูเร่ืองทศนิยม ความสัมพันธระหวางหนวยนํ้าหนัก กิโลกรัมกับกรัมโดยใชความรูเรื่องทศนิยม การ แกโจทยปญหาเกี่ยวกับความยาวและนํ้าหนักโดยใชความรูเร่ืองการเปล่ียนหนวยและทศนิยม การแกโจทย ปญหาโดยใชบัญญัติไตรยางศ การอานและการเขียนรอยละหรือเปอรเซ็นต การแกโจทยปญหารอยละ การหา ปริมาตรของทรงสี่เหลยี่ มมุมฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ความสมั พันธระหวา งมิลลลิ ิตร ลิตร ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร และลูกบาศกเมตร การแกโ จทยปญหาเกย่ี วกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจุ ของภาชนะทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก เสนตั้งฉากและสัญลักษณแสดงการตั้งฉาก เสนขนานและสัญลักษณแสดงการ ขนาน การสรางเสนขนาน มุมแยง มุมภายในและมุมภายนอกท่ีอยูบนขางเดียวกันของเสนตัดขวาง (Transversal) ชนิดและสมบัตขิ องรูปสีเ่ หลีย่ ม การสรางรูปสีเ่ หลี่ยม ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หล่ยี ม พ้ืนที่ของ รูปสี่เหลี่ยมดานขนานและรูปสเี่ หลย่ี มขนมเปยกปูน และการแกโจทยปญหา ลักษณะและสวนตาง ๆ ของปริซึม การอา นและการเขียนแผนภมู แิ ทง การอานกราฟเสน โดยใชว ธิ ีการที่หลากหลายแกปญ หา ใชค วามรู ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีใน การแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยาง เหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการส่ือสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยาง ถูกตองและเหมาะสม เช่ือมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตรแ ละเชื่อมโยงคณิตศาสตร กับศาสตรอ ่นื ๆ มีความคิด รเิ ร่มิ สรางสรรค เพื่อใหคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ เช่ือมั่นในตนเอง รักชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซอ่ื สัตยสจุ รติ มีวนิ ัย ใฝเ รยี นรู อยู อยางพอเพยี ง มงุ ม่นั ในการทํางาน รักความเปนไทย และ มจี ิตสาธารณะ รหสั ตัวชว้ี ดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/2, ป.๕/3, ป.๕/4, ป.๕/5, ป.๕/6, ป.๕/7, ป.๕/8, ป.๕/9 ค 2.1 ป.๕/๑, ป.๕/2, ป.๕/3 ,ป.๕/4 ค 2.2 ป.๕/๑, ป.๕/2, ป.๕/3 ,ป.๕/4 ค 3.1 ป.๕/๑, ป.๕/2 รวมท้งั หมด ๑๙ ตวั ช้วี ัด หลักสตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คําสวสั ดริ์ าษฎรบ ํารุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

27 ค ๑6๑๐๑ คณิตศาสตร คําอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร เวลา 16๐ ชั่วโมง ศึกษาตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. ค.ร.น. โจทย ปญหาเกย่ี วกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การเปรียบเทียบเศษสวนและจาํ นวนคละ การเรียงลาํ ดบั เศษสว นและจาํ นวน คละ การบวก การลบเศษสวนและจํานวนคละ การแกโจทยปญหาเศษสวนและจํานวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสวนและจํานวนคละ การแกโ จทยปญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว น และจาํ นวน คละ ความสัมพันธระหวางเศษสวนและทศนิยม การหารทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเปนทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง โจทยปญหาเก่ียวกับทศนิยม อัตราสวน อัตราสวนท่ีเทากัน มาตราสวน โจทยปญหาอัตราสวนและ มาตราสวน โจทยปญหารอยละ ชนิดและสมบัติของรูปสามเหล่ียม การสรางรูปสามเหลี่ยม สวนตาง ๆ ของ วงกลม การสรา งวงกลม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสามเหลย่ี ม มมุ ภายในของรูปหลายเหลี่ยม ความยาว รอบรูปและพื้นท่ีของรูปหลายเหล่ยี ม โจทยปญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปหลายเหล่ียม ความ ยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม โจทยปญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และพีระมิด รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด ปริมาตรของรูปเรขาคณิต สามมิติที่ประกอบดวยทรงส่เี หล่ยี มมุมฉาก โจทยป ญ หาเกย่ี วกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณติ สามมติ ิท่ีประกอบดวย ทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก การแกปญหาเก่ยี วกับแบบรูป และการนาํ เสนอขอ มลู โดยการจดั ประสบการณห รอื สรา งสถานการณท่ีใกลตัวผเู รียนไดศกึ ษา คน ควา ฝก ทกั ษะ โดยการปฏบิ ตั ิ จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การเช่ือมโยง การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะและ กระบวนการท่ไี ดไ ปใชใ นการเรยี นรูสิ่งตา ง ๆ และใชใ นชวี ิตประจาํ วันอยา งสรา งสรรค เพอื่ ใหเหน็ คุณคา และมเี จตคติทด่ี ีตอ คณิตศาสตร สามารถทาํ งานไดอ ยางเปน ระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคดิ รเิ ริม่ สรา งสรรคและมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง รหสั ตวั ช้วี ัด ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙,ป.๖/๑๐,ป.๖/๑๑ ป.๖/๑๒ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวมทง้ั หมด ๒1 ตวั ชว้ี ัด หลักสตู รโรงเรียนวดั พืชนิมติ (คําสวสั ด์ริ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

28 คาํ อธบิ ายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คําสวสั ดิร์ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

29 คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ว ๑1๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 1 เวลา 80 ชวั่ โมง ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาท่ีและการดูแลรักษาสวนตางๆ ของรางกายมนุษย ลักษณะและหนาที่ของสวนตางๆ ของสัตวและพืชรอบตัว และสภาพแวดลอมในบริเวณท่ีสัตวและพืชอาศัยอยู ชนดิ และสมบัติของวสั ดุทใี่ ชท ําวัตถุรอบตัว การเกิดเสยี งและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง ลักษณะของหิน และ การมองเห็นดาวบนทองฟา ในเวลากกลางวนั และกลางคนื การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ การเขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแ วรห รือส่ือการใชงานอปุ กรณเ ทคโนโลยเี บื้องตน การใชง านซอฟตแวร เบอื้ งตน ใชก ารสืบเสาะหาความรู สงั เกต สาํ รวจตรวจสอบโดยใชเ ครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอ มูลบนั ทึก และ อธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขียน โปรแกรมโดยใชส่ือ สราง จัดเกบ็ และเรยี กใชไฟลตามวัตถุประสงค มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพนื้ ฐานและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเบอ้ื งตน สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางาน รว มกบั ผอู ื่นได ตระหนักถึงประโยชนของการใชค วามรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชวี ิต ใชเทคโนโลยี สารสนเทศอยางปลอดภยั ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ อยา งเหมาะสม มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมทีเ่ หมาะสม รหสั ตัวช้วี ดั ว 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 1.2 ป.1/1 , ป.1/2 ว 2.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 2.3 ป.1/1 ว 3.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 3.2 ป.1/1 ว 4.2 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5 รวมทั้งหมด 15 ตัวชีว้ ัด หลักสูตรโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบาํ รุง) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

30 คาํ อธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑2๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 80 ชัว่ โมง ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ความจําเปนของแสง และ น้ําตอการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับนํ้าของวัสดุและการนําไปใชประโยชน สมบัติของวัสดุท่ีเกิดจากการนําวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดุมาใชทําวัตถุตามสมบัติของวัสดุ การนําวัสดุที่ใช แลวกลับมาใชใหม การเคลื่อนที่ของแสง การมองเห็นวัตถุ การปองกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณท่ีมี แสงสวางไมเหมาะสม สวนประกอบและการจําแนกชนิดของดิน การใชประโยชนจากดิน การแสดงข้ันตอนการ แกปญหา การตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแวรเบ้ืองตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง ปลอดภัย ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจ ตรวจสอบ เพือ่ ใหเ กดิ ความรูความเขาใจ แสดงข้นั ตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมเี ง่ือนไขโดย ใชบตั รคําสงั่ และตรวจหาขอผดิ พลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จัดหมวดหมูไฟลและโฟลเดอร มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข น้ั พื้นฐานและมีทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบื้องตน สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางาน รวมกับผูอื่น ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ตระหนักถึง ความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดูแลรักษาอุปกรณ คอมพิวเตอร มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทเี่ หมาะสม รหสั ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3 ว 1.3 ป.2/1 ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 ว 2.3 ป.2/1 , ป.2/2 ว 3.2 ป.2/1 , ป.2/2 ว 4.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 รวมทง้ั หมด 16 ตัวชีว้ ัด หลกั สูตรโรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวัสดริ์ าษฎรบ ํารงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

31 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ว ๑3๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 เวลา 80 ช่วั โมง ศึกษา วิเคราะห ส่ิงที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษยและสัตว ประโยชนของ อาหาร น้ํา และอากาศ การดูแลตนเองและสัตวใหไดรับสิ่งเหลานี้อยางเหมาะสม วัฏจักรชีวิตของสัตว สวนประกอบของวัตถุ และการเปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อทําใหรอนข้ึนหรือทําใหเย็นลง แรงที่มีตอการ เปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไมสัมผัสที่มีผลตอการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ การดึงดูดระหวาง แมเหล็กกับวัตถุ ขั้วแมเหล็ก การเปล่ียนพลังงาน การทํางานของเคร่ืองกําเนิดไฟฟา และแหลงพลังงานในการ ผลติ ไฟฟา ประโยชนและโทษของไฟฟา วิธีการใชไ ฟฟาอยางประหยัด และปลอดภยั เสนทางการข้ึนและตกของ ดวงอาทติ ย การเกิดกลางวนั กลางคืน และการกําหนดทิศ ความสาํ คญั ของดวงอาทิตยตอสิ่งมีชีวติ สวนประกอบ ของอากาศ ความสําคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศตอส่ิงมีชีวิต การปฏิบัติตนในการลด การเกิดมลพิษทางอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม แสดงอัลกอริทึมในการทํางานหรือการ แกปญหาอยางงายโดยใชภาพ สัญลักษณ หรือขอความ เขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ และ ตรวจหาขอ ผิดพลาดของโปรแกรม ใชอ นิ เทอรเน็ตคนหาความรู รวบรวม ประมวลผล และนาํ เสนอขอมลู โดยใช ซอฟตแ วรตามวตั ถปุ ระสงค ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั ปฏิบัตติ ามขอตกลงในการใชอนิ เทอรเ นต็ โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสบื เสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสบื คนขอมูล การ เปรียบเทียบขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ และการอภปิ ราย เพ่ือใหเ กดิ ความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถ ส่อื สารสง่ิ ทีเ่ รียนรู มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นาํ ความรไู ปใช ในชีวิตประจาํ วนั ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ตระหนักถึง ความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม รหัสตวั ชว้ี ัด ว 1.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 ว 2.1 ป.3/1 , ป.3/2 ว 2.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3, ป.3/4 ว 2.3 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 ว 3.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 ว 3.2 ป.3/1 , ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4 ว 4.2 ป.3/1 , ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4, ป3/5 รวมทงั้ หมด 25 ตวั ช้ีวดั หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พชื นมิ ติ (คาํ สวัสดร์ิ าษฎรบํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

32 คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ว ๑4๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4 เวลา 12๐ ช่ัวโมง ศึกษา วิเคราะห หนาที่ของราก ลําตน ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชขอมูลที่รวบรวมได จําแนก ส่ิงมีชีวิตโดยใชความเหมือน และความแตกตางของลักษณะของส่ิงมีชีวิตออกเปนกลุมพืช กลุมสัตว และกลุมท่ี ไมใ ชพชื และสตั ว จาํ แนกพืชออกเปน พชื ดอกและพืชไมมดี อกโดยใชก ารมีดอกเปนเกณฑ โดยใชขอมูลทรี่ วบรวมได จําแนกสัตวออกเปนสตั วมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลงั โดยใชก ารมีกระดูกสันหลังเปนเกณฑ โดยใช ขอมูลท่ีรวบรวมได บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตไดของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา กลุมสัตวสะเทินน้ํา สะเทินบก กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้านม และยกตัวอยางส่ิงมีชีวิตในแตละกลุม เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนําความรอน และการนําไฟฟาของวัสดุโดยใช หลักฐานเชิงประจักษจากการทดลองและระบุการนําสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยนุ การนําความรอน และ การนําไฟฟาของวัสดุไปใชในชีวิตประจาํ วันผานกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปล่ียนความคิดกับผูอื่นโดย การอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอยางมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ จากขอมูลที่ไดจากการสังเกตมวล การตองการที่อยู รูปรางและปริมาตรของสสาร ใชเครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโนมถวงท่ีมีตอวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ ใชเคร่ืองช่ัง สปริงในการวัดน้ําหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจาก หลักฐานเชิงประจักษ จําแนกวัตถุเปนตัวกลางโปรงใส ตัวกลางโปรงแสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะการ มองเห็นสิ่งตาง ๆ ผานวัตถุนั้นเปนเกณฑโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายแบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของ ดวงจันทร สรางแบบจําลองที่อธิบายแบบรูป การเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร และพยากรณรูปราง ปรากฏของดวงจันทร สรางแบบจําลองแสดงองคประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจร ของดาวเคราะหตาง ๆ จากแบบจาํ ลอง ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกป ญ หา การอธิบายการทาํ งาน การคาดการณ ผลลัพธ จากปญหาอยางงาย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟตแวรหรือสื่อ และตรวจหา ขอผิดพลาดและแกไข ใชอินเทอรเน็ตคนหาความรู และประเมินความนาเช่ือถือของขอมูล รวบรวม ประเมิน นําเสนอขอมูลและสารสนเทศ โดยใชซอฟตแวรท่ีหลากหลาย เพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวัน ใชเทคโนโลยี สารสนเทศอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาท่ีของตน เคารพในสิทธิของผูอื่น แจงผูเก่ียวของเม่ือพบขอมูลหรือ บคุ คลท่ไี มเหมาะสม โดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรการสบื เสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสบื คนขอมูล การ เปรียบเทียบขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ และการอภิปราย เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ สอ่ื สารสง่ิ ทเ่ี รียนรู มคี วามสามารถในการตดั สินใจ นําความรไู ปใช ในชีวิตประจําวัน ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรในการดํารงชีวติ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั และมีมารยาท มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคา นยิ มทเี่ หมาะสม รหัสตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ป.4/1 ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 หลกั สูตรโรงเรียนวัดพชื นิมติ (คําสวสั ดร์ิ าษฎรบาํ รงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

33 ว 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ว 2.3 ป.4/1 ว 3.1 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3 ว 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 รวมทั้งหมด 21 ตวั ชี้วัด หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบํารุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

34 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑5๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลา 12๐ ช่ัวโมง ศึกษา วิเคราะห โครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสม ในแตละแหลงที่อยู ความสัมพันธ ระหวางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต การถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมของพืช สัตว และมนุษย การเปล่ียนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้ํา การเปลี่ยนแปลงทาง เคมี การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ันกลับไดแ ละผนั กลบั ไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน การไดยนิ เสยี งผา นตวั กลาง ลักษณะ และการเกิดเสียงสูง เสียงตํ่า เสียงดัง และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพิษทางเสียง ความแตกตางของดาว เคราะหและดาวฤกษ การใชแผนท่ีดาว แบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป ปริมาณนํ้าในแตละแหลง ปริมาณน้ําท่ีมนุษยสามารถนํามาใชได การใชน้ําอยางประหยัดและการอนุรักษนํ้า วัฎ จักรน้ํา กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นํา้ คา ง และนํา้ คา งแขง็ กระบวนการเกิดฝน หมิ ะ และลกู เหบ็ การใชเหตุผล เชิงตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหัสลําลองเพื่อแสดงวิธีแกปญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรม แบบมีเงื่อนไขและการทํางานแบบวนซํ้า การใชซอฟตแวรประมวลผลขอมูล การติดตอส่ือสารผานอินเตอรเน็ต การใชอินเตอรเน็ตคนหาขอมูลและการประเมิน ความนาเชื่อถือของขอมูล อันตรายจากการใชงานและ อาชญากรรมทางอินเตอรเน็ต ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทําและส่ือความหมาย ขอมูล สรางแบบจําลองและอธิบายผลการสาํ รวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรข้ันพื้นฐานและทักษะารเรียนรูในศตววรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเบ้ืองตน สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอื่น แสดงวิธีการ แกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะ ใชรหัสจําลองแสดงวิธีการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน ออกแบบ และเขียน โปรแกรมแบบมีเง่ือนไข และการทํางานแบบวนซ้ํา ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม ใชซอฟตแวรชวยในการ แกปญหา ใชอินเตอรเน็ตติดตอส่ือสารและคนหาขอมูล แยกแยะขอเท็จจริงกับขอคิดเห็น ประเมินความ นาเชอื่ ถอื ของขอ มลู โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูล การ เปรียบเทียบขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ และการอภิปราย เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ สือ่ สารสิ่งทเี่ รยี นรู มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ นําความรไู ปใช ในชีวิตประจําวนั ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง วิทยาศาสตรในการดํารงชวี ติ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภัยและมีมารยาท มจี ิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นยิ มท่เี หมาะสม รหัสตวั ชี้วัด ว 1.1 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4 ว 1.3 ป5/1, ป5/2 ว 2.1 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4 ว 2.2 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5 ว 2.3 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5 ว 3.1 ป5/1, ป5/2 ว 3.2 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5 หลกั สตู รโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบาํ รุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

35 ว 4.2 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5 รวมทั้งหมด 32 ตัวช้ีวดั หลักสตู รโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คําสวัสดร์ิ าษฎรบ ํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

36 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว ๑6๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 6 เวลา 12๐ ชั่วโมง ศึกษา วิเคราะห สารอาหารประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน การเลือกรบั ประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถว นในสัดสว นที่เหมาะสมกบั เพศและวยั รวมทั้งความปลอดภัย ตอสุขภาพ แบบจําลอง ระบบยอยอาหาร หนาที่ของอวัยวะในระบบยอยอาหาร การยอยอาหารและการดูดซึม สารอาหาร ความสาํ คญั ของระบบยอยอาหาร การดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบยอยอาหารใหท ํางานเปนปกติ การ แยกสารผสม โดยการหยบิ ออก การรอน การใชแ มเหลก็ ดึงดดู การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน วธิ กี าร แกปญหาในชีวิตประจําวันเก่ียวกับการแยกสาร การเกิดและผลของแรงไฟฟาซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ีผานการขัดถู สวนประกอบ หนาท่ี ของวงจรไฟฟาแตละสวนอยางงาย แผนภาพการตอวงจรไฟฟาอนุกรมและแบบขนาน การตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและขนานดวยวิธีการที่เหมาะสม ประโยชน ขอจํากัด การเกิดเงามืด เงามัว แผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว แบบจําลองปรากฏการณสุริยุปราคา และจันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศและการใชประโยชนในชีวิตประจําวัน กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร แบบจําลองวัฏจกั รหิน การใชป ระโยชนของหินและแรในชีวติ ประจาํ วนั แบบจาํ ลองการเกิด ซาก ดึกดําบรรพสภาพแวดลอมในอดีต การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม จากแบบจําลอง ผลของมรสุมตอการเกิด ฤดูของประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของ นํ้าทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม แผนดินไหว สึนามิ ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย แนวทางการเฝาระวังและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ แบบจําลองอธิบายการเกิดและผลของปรากฏการณเรือนกระจก กิจกรรมท่ีกอใหเกิดแกสเรือนกระจก ผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจกลูกเห็บ ใชเหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกปญ หา การทาํ งาน การคาดการณ ผลลัพธ จากปญหาอยางงาย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟตแวร หรือสื่อ และตรวจหา ขอผิดพลาดและแกไขใชอินเทอรเน็ตคนหาความรู รวบรวม ประเมิน นําเสนอขอมูลและสารสนเทศ โดยใช ซอฟตแวรที่หลากหลาย เพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวัน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและ หนาทข่ี องตน เคารพในสทิ ธขิ องผูอ่นื โดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรู การสาํ รวจ ตรวจสอบ การสบื คนขอ มูล การ เปรียบเทียบขอมูลจากหลักฐานเชงิ ประจักษ และการอภิปราย เพอ่ื ใหเ กิดความรู ความคิด ความเขา ใจ สามารถ สือ่ สารสงิ่ ทเ่ี รยี นรู มคี วามสามารถในการตดั สินใจ นําความรไู ปใช ในชีวิตประจาํ วัน ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง วิทยาศาสตรใ นการดํารงชีวติ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั และมีมารยาท มีจติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมที่เหมาะสม รหัสตัวช้วี ดั ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5 ว 2.1 ป.6/1 ว 2.2 ป.6/1 ว 2.3 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8 ว 3.1 ป.6/1 , ป.6/2 หลักสูตรโรงเรยี นวดั พืชนิมติ (คําสวัสดริ์ าษฎรบาํ รงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

37 ว 3.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8 , ป.6/9 ว 4.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3, ป.6/4 รวมทั้งหมด 30 ตัวช้ีวัด หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คาํ สวัสด์ิราษฎรบ าํ รงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

38 คําอธบิ ายรายวิชา กลุมสาระการเรียนรสู ังคม ศาสนาและวฒั นธรรม หลักสูตรโรงเรยี นวดั พชื นิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

39 ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ คาํ อธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๑ กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชวั่ โมง ศึกษาพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอยาง ความหมายความสําคัญ และเคารพ พระรัตนตรยั ปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมโอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ฝก สวดมนตแ ละแผเมตตาการบาํ เพญ็ ประโยชน ตอวัดหรือศาสนสถาน การแสดงตนเปนพุทธมามกะ ประวัติโดยสังเขปของวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา การ บูชาพระรัตนตรัย การเปน สมาชกิ ทีด่ ีของครอบครวั และโรงเรียน ประโยชนข องการปฏิบตั ิตนเปนสมาชิกที่ดีของ ครอบครัวและโรงเรียน ลกั ษณะความสามารถและลักษณะความดีของตนเองและผูอื่น ผลของการกระทําความดี โครงสรางของครอบครัวและความสัมพันธของบทบาทหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว โครงสรางของโรงเรียน ความสัมพันธของบทบาท หนาท่ีของสมาชิกในโรงเรียน ความหมายและความแตกตางของอํานาจตามบทบาท สิทธิ หนาที่ในครอบครัวและโรงเรียน การใชอํานาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ หนาที่ กิจกรรมตาม กระบวนการประชาธิปไตยในครอบครวั กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยในโรงเรียน สินคาและบริการที่ ใชอยูในชีวิตประจําวัน สินคาและบริการท่ีไดมาโดยไมใชเงิน ท่ีไดมาโดยใชเงินซื้อ วิธีการใชประโยชนจากสินคา และบริการใหคุมคา การใชจายเงินในชีวิตประจําวันเพ่ือซื้อสินคาและบริการ ประโยชนของการใชจายเงินท่ีไม เกินตวั ประโยชนของการออม โทษของการใชจ า ยเงินเกินตัว วางแผนการใชจาย ทรพั ยากรที่ใชใ นชีวิตประจาํ วัน ทรัพยากรสวนรวมวิธีการใชทรัพยากรทงั้ ของสว นตวั และสวนรวมอยางถูกตอง ประหยัดและคุมคา ความหมาย ประเภทและความสําคัญของการทํางาน เหตุผลของการทํางาน ผลของการทํางานประเภทตาง ๆ ท่ีมีตอ ครอบครวั และสังคม การทาํ งานอยางสุจริตทาํ ใหส งั คมสงบสุข สง่ิ ตางๆ รอบตวั ที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติและท่ี มนุษยสรางขนึ้ ความสมั พันธข องตําแหนง ระยะทศิ ของสง่ิ ตา งๆ รอบตัว ทิศหลักและที่ตง้ั ของส่ิงตางๆ การแสดง ตําแหนงของสิ่งตางๆ ในหองเรียน การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวนั ส่ิงตางๆ ท่ีเกิดตามธรรมชาตทิ ี่ สงผลตอความเปนอยูของมนุษย การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัว การมีสวนรวมในการดูแล ส่งิ แวดลอ มทบ่ี านและชนั้ เรยี น โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล การอธิบาย การวิเคราะห และการอภปิ ราย การใชก ระบวนการเกมเสรมิ ความรู และนาํ เทคโนโลยีเขา มาชวยสอน เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารส่งิ ที่เรยี นรู มีความสามารถในการใชท ักษะชีวติ การคิดวิเคราะห การตัดสินใจและการแกปญหา เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน สามารถ ปรับตวั เองกบั บริบทสภาพแวดลอ ม เปนพลเมืองดี มีความรักชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซอ่ื สตั ยสจุ ริต มีวนิ ยั รกั ความเปน ไทย ใฝเ รียนรู มีจิตสาธารณะ และมีคณุ ธรรมและคา นยิ มทีเ่ หมาะสม รหัสตัวชี้วัด ส1.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ป 1/4 ส1.2 ป1/1 ป1/2 ส2.1 ป1/1 ป1/2 ส2.2 ป1/1 ป1/2 ป1/3 หลกั สตู รโรงเรยี นวดั พืชนมิ ติ (คาํ สวัสดิร์ าษฎรบํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

40 ส3.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส3.2 ป1/1 ส4.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส4.2 ป1/1 ป1/2 ส4.3 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส5.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ป1/4 ส5.2 ป1/1 ป1/2 ป1/3 รวมทั้งหมด 30 ตัวชี้วัด หลกั สตู รโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบ ํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

41 ส๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๒ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลา ๔๐ ชวั่ โมง ศึกษาความสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนา สรุปพุทธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนกิ ชนตัวอยาง พระรัตนตรัย โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ตัวอยางการกระทาํ ความดขี องตนเองและบุคคลในครอบครวั และใน โรงเรียนฝก สวดมนตไหวพระและแผเมตตาศาสดาและคัมภรี ของศาสนาตางๆ การฝกปฏิบตั ิมารยาทชาวพุทธ การเขารว มกิจกรรมและพธิ ีกรรมที่เกี่ยวเน่อื งกบั วันสาํ คญั ทางพุทธศาสนา ขอตกลงกติกา กฎ ระเบียบ หนา ที่ ท่ีตอ งปฏิบตั ิในครอบครัว โรงเรยี น สถานทส่ี าธารณะ การปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยการยอมรบั ความแตกตาง ของคนในสงั คมเร่ืองความคิดความเชื่อ ความสามารถ และการปฏิบัติตนของบคุ คลอน่ื ท่ีแตกตางกัน สทิ ธิ เสรภี าพของตนเองและผูอน่ื ความสัมพันธของตนเองและสมาชิกในครอบครัวกบั ชุมชน ผมู ีบทบาท อาํ นาจใน การตัดสินใจในโรงเรียนและชมุ ชน ทรพั ยากรทีน่ าํ มาใชในการผลติ สนิ คา และบริการทีใ่ ชในครอบครัวและ โรงเรยี น ผลของการใชท รพั ยากรในการผลติ ท่หี ลากหลายทม่ี ีผลตอ ราคา คณุ คา และประโยชนข องสนิ คา และ บริการรวมท้ังสิง่ แวดลอม การประกอบอาชีพของครอบครัว การแสวงหารายไดทีส่ ุจริตและเหมาะสมรายไดแ ละ รายจา ยในภาพรวมของครอบครัว รายไดและรายจายของตนเอง วธิ กี ารทําบญั ชรี ายรับ – รายจายของตนเอง อยา งงา ยๆ รายการของรายรบั ท่เี ปนรายไดที่เหมาะสมและไมเหมาะสมรายการของรายจายท่ีเหมาะสมและไม เหมาะสม ทีม่ าของรายไดส ุจรติ การใชจ า ยท่เี หมาะสม ผลดีของการใชจ ายทีเ่ หมาะสมกบั รายได การออมและ ผลดขี องการออม การนําเงินท่ีออมมาใชใ หเกดิ ประโยชนความหมายและความสําคัญของสนิ คาและบรกิ ารและ การแลกเปลีย่ นสนิ คาและบริการ ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสนิ คาและบริการโดยไมใชเงินรวมท้งั การแบงปน การชว ยเหลือ ลกั ษณะการแลกเปลย่ี นสินคา และบริการโดยการใชเ งิน ความหมายและบทบาทของผูซ้อื และ ผูขาย ผูผลติ และผบู รโิ ภคพอสงั เขป ความสมั พันธร ะหวางผซู ้ือและผูขายในการกําหนดราคาสนิ คาและบริการ ความสมั พนั ธร ะหวางผซู ้ือและผขู ายทําใหสังคมสงบสุขและประเทศมนั่ คง ส่ิงตา ง ๆ ท่เี ปนธรรมชาตกิ ับที่มนุษย สรา งขน้ึ ซง่ึ ปรากฏระหวางโรงเรยี นกบั บา น ตําแหนงอยา งงา ยและลกั ษณะทางกายภาพของสง่ิ ตาง ๆ ที่ปรากฏ ในลกู โลก แผนที่ แผนผงั และภาพถาย ความสมั พันธข องปรากฏการณร ะหวางโลก ดวงอาทติ ยแ ละดวงจนั ทร คณุ คา ของสง่ิ แวดลอมทางธรรมชาติ ประเภททรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใชแลว หมดไปและทใ่ี ชแลว ไมหมดไป ความสัมพนั ธข องฤดูกาลกับการดําเนินชวี ติ ของมนุษยก ารเปลยี่ นแปลงของสิง่ แวดลอ ม การรักษาและฟน ฟู ส่ิงแวดลอมในชมุ ชน โดยใชกระบวนการสบื เสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล การอธิบาย การวิเคราะห และการอภปิ ราย วิธกี ารสอนแบบอปุ นัย การสอนโดยทักษะเกม เพื่อใหเ กดิ ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสอื่ สารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ การคดิ วเิ คราะห การตดั สนิ ใจและการแกปญ หา เหน็ คุณคา ของการนําความรูไปใชใ นชวี ิตประจาํ วัน สามารถ ปรับตวั เองกบั บริบทสภาพแวดลอ ม เปน พลเมืองดี มคี วามรักชาติ ศาสน กษตั รยิ  ซื่อสัตยส จุ รติ มีวินัย รัก ความเปน ไทย ใฝเรยี นรู มีจิตสาธารณะ และมคี ณุ ธรรมและคานยิ มทเ่ี หมาะสม หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นิมิต (คําสวสั ดร์ิ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

42 รหัสตัวช้ีวัด ส1.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ป2/5 ป2/6 ป2/7 ส1.2 ป2/1 ป2/2 ส2.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ส2.2 ป2/1 ป2/2 ส3.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ส3.2 ป2/1 ป2/2 ส4.1 ป2/1 ป2/2 ส4.2 ป2/1 ป2/2 ส4.3 ป2/1 ป2/1 ส5.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ส5.2 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 รวมทั้งหมด 34 ตัวช้วี ดั หลกั สูตรโรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวสั ดริ์ าษฎรบ ํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

43 ส๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ คําอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ศึกษาความสัมพันธของพระพุทธศาสนากับการดําเนินชีวิตประจําวัน พระพุทธศาสนากับการดําเนิน ชีวิตประจําวัน พระพุทธศาสนามีอิทธิพลตอการสรางสรรคผลงานทางวัฒนธรรมไทยอันเกิดจากความศรัทธา สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอยาง ความสําคัญของพระไตรปฎก พระรัตนตรัย โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ฝกสวดมนตไหวพระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยและแผเมตตา ชื่อ ของศาสนวัตถุและความสําคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนาครสิ ตแ ละศาสนาฮนิ ดู การปฏบิ ัติตนทเี่ หมาะสมตอ ศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบคุ คลในศาสนาอื่น ๆ ฝกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ การปฏิบัติตนในศาสนพิธี ความเปนมาของการแสดงตนเปนพุทธมามกะ การ แสดงตนเปน พทุ ธมามกะ ประเพณีและวัฒนธรรม ในครอบครวั และในทอ งถ่ิน พฤติกรรมของตนเองและเพื่อน ๆ ในชีวิตประจําวัน สาเหตุท่ีทําใหพฤติกรรมการดําเนินชีวิตในปจจุบันของนักเรียนและผูอื่นแตกตางกัน วันหยุดราชการท่ีสําคัญ บทบาทหนาที่ของสมาชิกในชุมชน การมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง วิธีการเลือกตัวแทนอยางถูกตองและ เหมาะสม การตัดสินใจของบุคคลและกลุมที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงในช้ันเรียน โรงเรียนและชุมชน สินคาที่ จําเปนในการดํารงชีวิตท่ีเรียกวาปจจัย ๔ สินคาที่เปนความตองการของมนุษย ประโยชนและคุณคาของสินคา และบริการที่สนองตอความตองการของมนุษย หลักการเลือกสินคาที่จําเปน ใชบัญชีรับจายวเิ คราะหการใชจา ย ที่จําเปนและเหมาะสม วางแผนการใชจายเงินของตนเอง วางแผนการแสวงหารายไดที่สุจริตและเหมาะสม วางแผน การนําเงินที่เหลือจา ยมาใชอ ยางเหมาะสม ความหมายของผูผลิตและผูบรโิ ภค ความหมายของสินคา และบริการ ปญหาพื้นฐานของเศรษฐกิจท่ีเกิดจากความหายากของทรัพยากรกับความตองการของมนุษยที่ไม จํากัด สินคาที่บริการภาครัฐทุกระดับจัดหาและใหบริการแกประชาชน ความหมายและความสําคัญของภาษีท่ี รัฐนํามาสรางความเจริญและใหบ รกิ ารแกประชาชน ตัวอยางของภาษี บทบาทหนาที่ของประชาชนในการเสยี ภาษี ความสําคัญและผลกระทบของการแขงขันทางการคาที่มีผลทําใหราคาสินคาลดลงการใชแผนที่ แผนผัง และภาพถาย ในการหาขอมูลทางภูมิศาสตรในชุมชน แผนผังแสดงตําแหนงที่ต้ังของสถานที่สําคัญในโรงเรียน และชุมชน ความสัมพันธของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน การเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมในชุมชนจากอดีตถึงปจจุบัน การพ่ึงพาส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความ ตองการพื้นฐานของมนุษยและการประกอบอาชีพ มลพิษและการกอใหเกิดมลพิษโดยมนุษย ความแตกตางของ ชมุ ชนกบั ชนบท การเปล่ียนแปลงของสิง่ แวดลอ มในชมุ ชน โดยใชกระบวนการสบื เสาะหาความรู การสาํ รวจตรวจสอบ การสบื คน ขอ มูล การอธิบาย การวิเคราะห และการอภปิ ราย วธิ ีการสอนแบบอปุ นัย ใชเกมสรา งความรแู ละเรยี นอยา งสนุกสนาน เพอื่ ใหเ กดิ ความรู ความคิด ความเขา ใจ สามารถส่ือสารสง่ิ ทเี่ รียนรู มีความสามารถในการใชทักษะชวี ิต การคิดวิเคราะห การตัดสนิ ใจและการแกปญ หา เหน็ คุณคาของการนําความรไู ปใชในชวี ติ ประจําวนั สามารถ หลักสูตรโรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คาํ สวัสดริ์ าษฎรบาํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

44 ปรบั ตวั เองกบั บรบิ ทสภาพแวดลอม เปน พลเมอื งดี มีความรกั ชาติ ศาสน กษตั ริย ซ่ือสตั ยส จุ ริต มวี ินยั รักความ เปนไทย ใฝเ รยี นรู มจี ติ สาธารณะ และมคี ุณธรรมและคา นยิ มที่เหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ส1.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 ป3/7 ส1.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส2.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ส2.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส3.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส3.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส4.1 ป3/1 ป3/2 ส4.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส4.3 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส5.1 ป3/1 ป3/2 ส5.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 รวมท้ังหมด 39 ตัวชว้ี ดั หลกั สตู รโรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คําสวสั ดิร์ าษฎรบาํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook