Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore King Taksin 1

King Taksin 1

Published by kobkum_550977, 2019-02-24 02:26:31

Description: King Taksin 1

Search

Read the Text Version

พระราชประวตั สิ มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชหรือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระนามเดิมว่า สิน พระราช สมภพเมื่อวันท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2277 เปน็ บุตรของ นายไหฮอง และ นางนกเอี้ยง ซ่ึงพระยาจักรไี ด้ ขอไปเล้ียงเป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่ยังเยาว์ เมื่ออายุได้ 5 ปี พระยาจีกรีได้นาไปฝากเรียนกับพระ อาจารย์ทองดี วัดโกษาวาส (วดั คลงั ) โดยเรยี นหนังสอื ขอมและหนงั สือไทยจนจบบริบูรณ์ แล้วจึงเรียน พระไตรปิฎกจนแตกฉาน เมื่ออายุครบ 13 ปี เจ้าพระยาจักรีได้นาตัวเด็กชายสินไปถวายตัวเป็น มหาดเลก็ ในสมเด็จพระธรรมราชาธิราชที่ 3 (สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวบรมโกศ) พระองคไ์ ด้ทรงพระกรุณาโป รกเกล้าฯให้ทาราชการกับหลวงศักด์ินายเวรซึ่งเป็นบุตรของพระยาจักรี เมื่อมีเวลาว่างจะไปเรียนวิชากับ อาจารยจ์ ีน อาจารย์ญวนและอาจารย์แขก จนสามารถพูดภาษาท้ังสามได้อย่างคล่องแคล่วเม่ืออายุครบ 21 ปี ได้อุปสมบท ณ วัดโกษาวาส พระภิกษุสิน อยู่ในสมณเพศได้ 3 พรรษา ก็ลาสิขาและกลับเข้ารับ ราชการตามเดิม ด้วยความฉลาดรอบรู้ขนบธรรมเนียม ภารกิจต่างๆเป็นอย่างดีจนสามารถทางานต่าง พระเนตรพระกรรณได้ จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นมหาดเล็กรายงานราชการท้ังหลายในกรม มหาดไทยและกรมวังศาลหลวง คร้ัน พ.ศ.2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเสด็จสวรรคต สมเด็จ เสวยราชสมบัติได้ 3 เดือนเศษก็ถวายราชสมบัติให้พระเชษฐาสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (สมเด็จพระเจ้า เอกทัศน์)สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์โปรดเกล้าฯให้นายสินมหาดเล็กรายงานเป็นข้าหลวงเชิญท้องตรา ราชสีห์ข้ึนไปชาระความหัวเมืองฝ่ายเหนือ ซ่ึงนายสินปฏิบัติราชการได้สาเร็จเรียบร้อยจนมีความชอบ มากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นหลวงยกบัตรเมืองตากช่วยราชการพระยาตาก เมื่อพระยาตาก ถึงแก่กรรมกโ็ ปรดใหเ้ ลอ่ื นเป็นพระยาตากเพือ่ ปกครองเมอื งตาก

ในปี พ.ศ. 2307 พม่ายกกองทัพมาตีหัวเมืองปักษ์ใต้ของไทยโดยมีมังมหานรธาเป็นแม่ทัพ ปรากฏว่าพม่าตีเมืองทางใต้ได้อย่างง่ายดายจึงตีเร่ือยตลอดหัวเมืองทางใต้จนถึงเมืองเพชรบุรี ทาง อยุธยาได้ส่งกองทัพไทยซ่ึงมีพระยาโกษาธิบดีกับพระยาตากไปรักษาเมืองเพชรบุรีไว้จนพม่าแตกถอยไป ทางดา่ นสงิ ขร ต่อมาปี พ.ศ. 2308 พมา่ ยกกองทัพมาตีไทยอีก พระยาตากได้มาชว่ ยรักษาพระนครไว้ได้ จงึ ไดบ้ าเน็จความดีความชอบในสงครามจึงโปรดให้เล่ือนเป็นพระยาวชิรปราการเจ้าเมืองกาแพงเพชรแต่ ยงั ไม่ทันไดป้ กครองเมืองกาแพงเพชรกเ็ กิดสึกกบั พม่าครัง้ สาคญั ขึน้ จงึ ถูกเรียกตัวให้เขา้ รับราชการในกรุง เพื่อป้องกันพระนคร จนถึงปี พ.ศ. 2309 ขณะท่ีไทยกับพม่ากาลังรบกันอย่างดุเดือด พระยาวชิร ปราการเกิดทอ้ แทใ้ จหลายประการคือ 1. พระยาวชิรปราการตุมทหารออกไปรบนอกเมืองจนได้ชัยชนะยึดค่ายพม่าได้แต่ทางผู้รักษา พระนครไมส่ ง่ กาลงั ไปหนุนทาให้พม่าสามารถยึดคา่ ยกลับคืนได้ 2. ขณะท่ียกทัพเรือออกรบร่วมกับพระยาเพชรบุรีนั้นพระยาวชิรปราการเห็นว่าพม่ามีกาลัง มากกว่าจึงห้ามมใิ หพ้ ระยาเพชรบุรอี อกรบแต่พระยาเพชรบรุ ีไม่เชอ่ื ฟงั ขืนออกรบและพ่ายแพ้ แก่พม่าจนตัวตายในที่รบพระยาวชิรปราการถูกกล่าวหาว่าทอดท้ิงให้พระยาเพชรบุรีเป็น อันตราย 3. ก่อนเสียกรุง3เดือนพม่ายกทัพเข้าปล้นพระนครทางด้านที่พระยาวชิรปราการรักษาอยู่ เมื่อเห็นจวนตัวพระยาวชิรปราการจึงยิงปืนใหญ่ขัดขวางโดยมิได้ขออนุญาตจากศาลาลูกขุนจึงถูกฟ้อง ชาระโทษใหภ้ าคทณั ฑ์ด้วยสาเหตดุ ังกล่าวพระยาวชิรปราการเห็นว่าขนื ยังชว่ ยปอ้ งกนั พระนครต่อไปกไ็ ม่มี ประโยชน์อันใดและเชอ่ื ว่ากรุงศรอี ยุธยาตอ้ งเสยี แก่พมา่ ในคร้ังนี้เป็นแนด่ ้วยผู้นาออ่ นแอและไม่นาพาต่อ ราชการบ้านเมืองจึงรวบรวมสมัครพรรคพวกได้ประมาณ 500 คน ตีฝ่าวงล้อมออกจากค่ายพิชัยมุ่ง ออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พระเจ้าเอกทัศน์จึงนับว่าเป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรี อยุธยา หลังจากเสียกรงุ ศรีอยธุ ยาแล้วบ้านเมืองเกิดแตกแยก หวั เมืองต่างๆตั้งตัวเป็นใหญ่ตา่ งคนต่าง รวมสมัครพรรคพวกตั้งเป็นก๊กต่างๆได้แก่ ก๊กสุก้ีพระนายกอง ก๊กพระยาพิษณุโลก ก๊กเจ้าพระฝาง ก๊ก เจ้าพระยานครศรีธรรมราช และก๊กเจ้าพมิ าย

พระยาวชิรปราการได้จัดเตรียมกองทัพสะสมเสบียงอาหารศาสตราวุธและกองทัพเรืออยู่เป็น เวลา 3เดือน กย็ กกองทัพเรือข้ามมาทางปากน้าเจ้าพระยาตีเมืองธนบุรีแตก จับนายทองอินประหารแล้วเลย ไปตีค่ายโพธ์ิสามต้นจนแตกยับเยนิ สุกี้พระนายกองตายในที่รบขับไล่พม่าออกไปพ้นแผ่นดินไทยสาเร็จ ในปี พ.ศ. 2310 ซ่ึงใชเ้ วลากู้อิสรภาพคืนจากพม่า ภายในเวลา 7 เดือนเท่าน้ัน จากน้ันพระยาวชิรปราการจึง ยกทัพกลับมากรุงธนบุรีและปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษตั ริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 แต่ประชาชนนิยมเรยี กพระนามว่าพระเจ้าตากสิน เม่ือวนั ท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ.2311 และสถาปนากรุง ธนบุรีเป็นราชธานีด้วยและต่อจากน้ันพระเจ้าตากสินก็ยกทัพไปปราบปรามก๊กต่างๆจนราบคาบทรงใช้ เวลารวบรวมอาณาเขตอยู่ 3 ปี คอื ตั้งแต่ พ.ศ.2311-พ.ศ.2313 จงึ ตงั้ อาณาเขตกลับคืนมา รวมเป็นพระ ราชอาณาจักรเดียวกันดังเดิม สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงสวรรคตเม่ือปี พ.ศ. 2325 สิริพระชนมายุได้ 48 พรรษา ทรงครองราชย์เป็นเวลา 15 ปี พระองค์เป็นพระมหากษัตริยท์ ี่ทรงพระปรีชาสามารถกอบกู้ ประเทศชาติให้เป็นเอกราชอิสรภาพตราบเท่าทุกวันน้ี ประชาราษฎร์ผู้สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึง ยกยอ่ งถวายพระเกียรติพระองค์ท่านวา่ มหาราช คณะรัฐบาลข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนทุกหมู่เหลา่ ได้ พร้อมใจกันสร้างอนุเสาวรยี ์เพ่ือน้อมราลึกในพระเกียรติประวัติ เกียรตคิ ุณให้ปรากฏกับอนชุ นตราบเท่า ทุกวันน้ีเป็นอนุสรณ์เฉลิมพระบรมราชกฤดาภินิหารแห่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ผู้เป็น มหาวีรบุรุษของชาติไทย ประสูติ พ.ศ. 2277 สวรรคต พ.ศ.2325 รัฐบาลไทยและประชาชนชาวไทยได้ ร่วมกนั สร้างข้ึนประดษิ ฐานไว้เม่ือ วันที่ 17 เมษายน 2497 เพ่ือเตือนใจให้ประชาชนไทยราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ีได้ทรงเพียร พยายามปราบปรามอรริ าชศตั รู กอบก้เู อกราชของชาติไทยใหก้ ลับคืนดารงอิสรภาพสบื มา

พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ ทุ่งนาเชย ชาวเมืองจันท์นั้นภาคภูมิใจอย่างยิ่งต่อเกียรติประวัติของจังหวัดจันทบุรี รวมท้ังวีรกรรมของ บรรพบุรุษท่ีได้ยอมเสียสละเลือดเน้ือและชีวิต เข้าร่วมในกองทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพได้ สาเร็จ จึงพร้อมใจกันสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ณ บริเวณทุ่งนาเชย กลาง เมืองจันทบุรีในปัจจุบัน พิธีเปิดวันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2542 น้ัน ตรงกับวันปราบดาภิเษก วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 โดยทางกรมศิลปากรนาศิลาจารึกพระนามสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรี มา ประทับท่ีพระบรมราชานุสาวรีย์แตถ่ ูกชาวจันทบุรีร่วมกันคัดค้าน ขอเปลี่ยนชื่อเป็นจารึกพระราชสมัญญา นามเสียใหม่ว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยทาหนังสือถึงสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีให้นา เรอื่ งเขา้ ที่ประชมุ คณะรัฐมนตรี ซึ่งมติเหน็ ชอบเมอ่ื วนั ที่ 27 ตลุ าคม พ.ศ. 2542 เป็นตน้ มา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook