ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS https://cmu.ac.th ปี ท่ี 18 ฉบบั ท่ี 21 วันท่ี 22 - 28 พฤษภาคม 2566 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย ศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศรบี ณั ฑติ มงคล อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ าร และประธานท่ีประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เป็นประธานพิธีเปิดการสัมมนาเครือข่าย มหาวิทยาลัย ร่วมงานเล้ียงอ�ำลาต�ำแหน่ง นายอู๋ จ้ืออู่ กงสุลใหญ่ รองอธิการบดีฝ่ายการวางแผนอุดมศึกษาของท่ีประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เพ่ือจัดท�ำ แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนประจ�ำเชียงใหม่ ในโอกาสครบรอบวาระ ขอ้ เสนอ แผนยุทธศาสตร์อดุ มศึกษาเพอ่ื การขับเคล่ือนประเทศ โดยไดม้ กี ารวเิ คราะห์แผนด้าน ประจำ� การ และเดนิ ทางไปรบั ตำ� แหนง่ อคั รราชทตู ณ สถานเอกอคั รราชทตู อุดมศึกษาเพ่อื ผลิตและก�ำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 - 2570 ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2566 - สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจ�ำราชอาณาจักรไทย โดยมีนายนิรัตน์ 2570, แผนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ (ววน.) พ.ศ. 2566 - 2570 และ พงษส์ ทิ ธถิ าวร ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เชยี งใหม่ พรอ้ มดว้ ยกงสลุ ตา่ งประเทศ นโยบายพรรคการเมืองต่าง ๆ เพ่ือจัดท�ำเป็นข้อเสนอการพัฒนาการอุดมศึกษาของประเทศ เจา้ นายฝา่ ยเหนอื ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และหวั หนา้ ให้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศและยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส่วนราชการหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ เข้าร่วมงานจ�ำนวนมาก และการพ่ึงพาตนเองมากข้ึน ระหว่างวันที่ 11 - 13 พฤษภาคม 2566 ณ สถาบันเทคโนโลยี เมอื่ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2566 ณ ศนู ยป์ ระชมุ นานาชาติ โรงแรมดเิ อม็ เพรส พระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั วทิ ยาเขตชุมพรเขตรอดุ มศกั ดิ์ จังหวัดชุมพร เชียงใหม่ “รับน้องรถไฟ” กลบั มาอีกครง้ั !! ผลแงลไดาะนหร้ วนบัแจิล่วรัยายะถงอจว่าาัดยัลจกทาGารอรrยดaท์คเnรทณdัพคะpยโเนrทส์ iโzนิคลeทนยาจคิี มงากชปกา.ญักรแาญพราทย์ ต้อนรบั น้องใหม่ มช. น�ำ ผลงานวจิ ยั เขา้ รว่ ม Pitching for Venture ดว้ ยความอบอนุ่ พร้อมตู้แอร์เย็นฉำ่� อาจารย์คณะเทคนิคการแพทย์ และหน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปญั ญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ไดร้ ับคดั เลือก กลับมาอีกคร้ังกับ \"ประเพณีรับน้องรถไฟ\" ปี 2566 จากสถานีกรุงเทพหัวล�ำโพงสู่ ให้น�ำผลงานเข้าร่วม Workshop on “Venture co-creation: สถานีเชยี งใหมท่ ี่น้องปี 1 จะไดร้ ับการตอ้ นรับอย่างอบอุ่นจากรนุ่ พ่ีนักศึกษาเก่า มช. ในทุก ๆ Co-Creation from deep tech to startups; from 0-1” และ สถานี โดยกจิ กรรมจะจดั ขนึ้ ในวนั ที่ 2 - 3 มถิ นุ ายน 2566 กบั รถไฟขบวนพเิ ศษสำ� หรบั มหาวทิ ยาลยั ได้รับรางวัล Grand prize จากการน�ำผลงานวิจัยเข้าร่วมกิจกรรม เชยี งใหม่โดยเฉพาะ Pitching for Venture ศาสตราจารย์ ดร. ชัชชัย ตะยาภิวฒั นา อาจารย์ประจ�ำแขนงภมู ิ “รบั นอ้ งรถไฟ” เปน็ ประเพณกี ารตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาใหมข่ อง มช. ทจ่ี ดั ขนึ้ ในทกุ ๆ ปจี น ค้มุ วทิ ยาคลินิก ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ หวั หน้า เป็นเอกลักษณ์ สืบต่อกันมาอย่างยาวนานกว่า 60 ปี นับต้ังแต่นักศึกษารุ่นแรก โครงการวจิ ัย พร้อมกบั นกั วิจยั ดร. วีรญา ทองค�ำ สงั กัดส�ำนักงานบรหิ าร แตเ่ น่อื งจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมา จึงไดง้ ดจัดกจิ กรรมไป และในปี 2566 นไ้ี ด้กลับมา งานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจ�ำท่ีศูนย์พัฒนานวัตกรรมชุดตรวจ จัดกิจกรรมอีกครั้งในรูปแบบใหม่ ที่ขบวนรถไฟน้ีจะเป็นรถไฟขบวนพิเศษส�ำหรับมหาวิทยาลัย วินจิ ฉยั ทางภมู ิคุ้มกัน และศูนย์ชีวโมเลกุลเพ่ือการรักษาและตรวจวนิ จิ ฉัย เชียงใหม่โดยเฉพาะ เพ่ือตอ้ นรับลกู ช้างเชือกใหมเ่ ขา้ ส่รู ัว้ ร่มแดนชา้ ง มช. คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ และ ดร.สรรพวรรธ วทิ ยา ปี 2566 สโมสรนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จะไดจ้ ดั กิจกรรมประเพณรี ับนอ้ งรถไฟ ศยั พรอ้ มดว้ ยนางสาวพนั ทนา คำ� เขยี ว สงั กดั หนว่ ยจดั การทรพั ยส์ นิ ทาง ประจ�ำปี 2566 ในวันที่ 2 - 3 มิถุนายน 2566 ด้วยรถไฟขบวนพิเศษ เป็นตู้นอน ปญั ญาและสทิ ธปิ ระโยชน์ สำ� นกั งานบรหิ ารงานวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ปรับอากาศชั้น 2 ที่สะดวกสบายและปลอดภัย โดยออกเดินทางจากสถานีรถไฟหัวล�ำโพง ไดร้ ับคดั เลอื กใหน้ ำ� ผลงาน เรื่อง “Modified interferon-gamma for กรุงเทพฯ ในวันท่ี 2 มิถุนายน 2566 เวลา 15.00 น. มุ่งสู่จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงจะจอดพัก adult onset immunodeficiency therapy” เข้าร่วมกิจกรรม ท่ีสถานีรถไฟลพบุรี สถานีรถไฟนครสวรรค์ สถานีรถไฟพิษณุโลกและสถานีรถไฟล�ำปาง Workshop on “Venture co-creation: Co-Creation from deep ในแต่ละสถานีท่ีขบวนรถไฟเคล่ือนผ่านจะจอดประมาณ 20 นาที นักศึกษาใหม่จะได้สัมผัส tech to startups; from 0-1” จัดโดย ส�ำนกั งานจดั การสิทธเิ ทคโนโลยี บรรยากาศความอบอุ่นของลูกช้างที่จะมีรุ่นพ่ีนักศึกษาเก่า มช. น�ำน้�ำด่ืม ขนม อาหารและ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ รอยยิม้ รว่ มใหก้ ำ� ลงั ใจ รอส่งน้องๆ ในแตล่ ะจงั หวดั เพื่อเดินทางสู่มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เปน็ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ภายใตโ้ ครงการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพและการสนบั สนนุ บรรยากาศความทรงจ�ำของประเพณีรับน้องรถไฟอันอบอุ่นที่ส่งต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ที่ชาว เส้นทางวิชาชีพของบุคลากรด้านทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศไทย ลกู ช้าง มช. มีให้กนั อย่างเสมอมา สำ� นกั งานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สป.อว.) ซ่ึงมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับข้นั ตอนการ (อา่ นต่อหน้า 2) สรรหา Deep Tech ทน่ี า่ ลงทนุ ตลอดจนข้นั ตอนการผลักดนั ผลงานวิจยั ไปยังกลุ่มนักลงทุนเพ่ือสร้างโอกาสในการสานต่อไปสู่การใช้ประโยชน์ใน รูปแบบธุรกจิ อยา่ งเต็มรปู แบบ โดยมีทีมวทิ ยากรจาก Origgin Ventures Pte Ltd. ซ่งึ เปน็ The Deep-Tech Venture Creator of Singapore กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น ณ โรงแรมแมนดาริน จังหวัด กรุงเทพมหานคร ระหว่างวนั ท่ี 23-26 เมษายน พ.ศ. 2566 และผลงานดงั กลา่ วไดร้ ับรางวลั วสิ ัยทัศน์ : มหาวิทยาลยั ชน้ั นำ�ท่รี ับผิดชอบตอ่ สังคมเพ่ือการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ดว้ ยนวัตกรรม (A Leading University Committed to Social Responsibility for Sustainable Development through Innovation)
ขา่ วรอบสปั ดาห์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ I ฉบับที่ 21 วนั ที่ 22 - 28 พฤษภาคม 2566 รับนอ้ งรถไฟ กลบั มาอกี ครั้ง ฯ (ต่อจากหน้า 1) เขตร้ัว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นักศึกษาน้องใหม่จะได้พบกับกิจกรรมการต้อนรับที่ทั้งอบอุ่น และสนุกสนาน ด้วยกิจกรรม edutainment ทีม่ ีท้งั เกมและของรางวลั มากมายจากพี่ๆ ในระหวา่ งการเดนิ ทาง นอกจากนี้ ยังไดร้ จู้ กั เม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2566 ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์พงษ์รักษ์ เพ่ือนใหม่คณะตา่ งๆ ท่รี ่วมเดินทางด้วยกนั แมจ้ ะจากบ้านมาไกลแตไ่ ม่รสู้ กึ ถงึ ความเหงา ศรบี ัณฑติ มงคล อธิการบดีมหาวิทยาลยั เชยี งใหมแ่ ละคุณรตั นะ สวามชี ยั เลขาธิการสภา รถไฟขบวนพิเศษของเหล่าลูกช้าง มช. จะจอดเทยี บชานชาลาของสถานีรถไฟเชียงใหม่ ในเช้า เกษตรกรแห่งชาติ พร้อมดว้ ยทมี ผูบ้ ริหารของท้ังสองฝา่ ย ได้รว่ มลงนามตอ่ อายุบันทกึ ความ ของวันที่ 3 มถิ นุ ายน 2566 เวลาประมาณ 06.20 น .ซึง่ จะมีนักศึกษารนุ่ พ่ีจากคณะต่างๆ มารอต้อนรบั ร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่กับส�ำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อยา่ งอบอนุ่ และนำ� นกั ศกึ ษาใหมเ่ ดนิ ทางมายงั ศาลาธรรม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เพอ่ื รว่ มสกั การะพระพทุ ธ เพอื่ สานตอ่ โครงการความรว่ มมอื เพอ่ื สนบั สนนุ องคค์ วามรแู้ ละความชาํ นาญในการประกอบ รูปประจ�ำมหาวิทยาลัยและท�ำพิธีรับขวัญน้องใหม่เพื่อความเป็นสิริมงคล มีผู้บริหาร คณาจารย์ อาชพี เกษตรกรรม และใหก้ ารศกึ ษาและส่งเสริมงานวิจัย เพ่อื สร้างและพฒั นาองคค์ วามรู้ นักศึกษาเก่าคล้องพวงมาลัยดอกมะลิแก่นักศึกษาใหม่เป็นการรับขวัญ จากน้ันอธิการบดีมหาวิทยาลัย และเทคโนโลยี ดา้ นการเกษตร ตลอดจนการมสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ กจิ กรรมขององคก์ ร เชียงใหม่กล่าวต้อนรับ นายกสมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่กล่าวต้อนรับ ชมการแสดง เกษตรกร จากผนู้ ำ� เชยี ร์ การแสดงชมรมพนื้ บา้ นลา้ นนา สโมสรนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เมอื่ เสรจ็ สน้ิ กจิ กรรม ร่นุ พจ่ี ะนำ� นกั ศกึ ษาใหม่ไปส่งยังหอพกั นกั ศึกษา ขอเชญิ รนุ่ พนี่ กั ศกึ ษาเกา่ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ทกุ รนุ่ ทกุ รหสั รว่ มตอ้ นรบั ลกู ชา้ งเชือกใหม่ ณ สถานีรถไฟหวั ล�ำโพง กรุงเทพฯ ลพบุรี นครสวรรค์ พษิ ณุโลก ลำ� ปาง และสถานรี ถไฟเชียงใหม่ ส�ำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโครงการสัมมนาเชิง ปฏบิ ตั กิ าร เรือ่ ง การจดั ท�ำแผนพัฒนางาน ตามภารกจิ ส�ำนกั งานมหาวทิ ยาลยั (ปี 2566 - 2570) โดยมศี าสตราจารยป์ ฏบิ ตั ิ ดร.ชรนิ ทร์ เตชะพนั ธ์ุ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เป็นประธานเปิดและเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ การสร้างองค์กรแบบเอไจล์และ ยดื หยุ่นสงู ตามแผนพัฒนาการศกึ ษามหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ระยะท่ี 13 (พ.ศ. 2566-2570) เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มสมั มนา ไดร้ บั ทราบทศิ ทางและ นโยบายของมหาวทิ ยาลยั และไดม้ สี ว่ นรว่ ม ในการจัดท�ำแผนพัฒนางานตามภารกิจส�ำนักงานมหาวิทยาลัย เพ่ือใช้เป็นแนวทาง ในการขบั เคลอ่ื น สำ� นกั งานมหาวทิ ยาลยั ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ใหแ้ กผ่ อู้ ำ� นวยการกองฯ / ศนู ยฯ์ / ส�ำนักงานฯ และหวั หน้างาน หวั หนา้ กลมุ่ เลขานุการกลมุ่ พรอ้ มทีมงาน เขา้ รว่ มโครงการ สัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ พร้อมร่วมจัดท�ำ Workshop ณ ห้องประชุมดอยสุเทพ โรงแรม แคนทารีฮลิ ล์ เมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทศพร พิชัยยา รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงษร์ กั ษ์ ศรบี ณั ฑติ มงคล เป็นประธานกล่าวเปิดการสัมมนาบุคลากรงานบริการการศกึ ษา และเปน็ วทิ ยากรบรรยาย อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วยคณะ เพ่ือเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับระบบทะเบียนการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี ผู้บริหาร รับมอบเงินจากนายแพทย์สุวิช อุปถัมภ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ สกลุ ชา่ งสจั จะทยั ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั ทะเบยี นและประมวลผล นักศกึ ษาเกา่ มช. รหสั 08 และคุณพนดิ า เกษมมงคล กลา่ วรายงาน พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ าร คณาจารยแ์ ละเจา้ หนา้ ที่ ทรี่ บั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั ระบบ เพอื่ สนบั สนนุ การศกึ ษาโครงการ \"กองทนุ 60 ปี CMU ทะเบยี นการศกึ ษา เขา้ รว่ มสมั มนาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ณ หอ้ งประชมุ โรงแรมเซน็ ทารารเิ วอรไ์ ซด์ Student Start-Up\" จ�ำนวน 100,000 บาท เมือ่ วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2566 (หนึง่ แสนบาทถ้วน) ณ ห้องหม่อมหลวงปิน่ มาลากลุ ส�ำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมอ่ื วนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เป็นประธานเปิดพิธีเปิดการฝึกอบรมปฏิบัติการ การจัดท�ำข้อมูลฐานทรัพยากร ท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ความส�ำคัญ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ พระราชด�ำริ แนวทาง การดำ� เนนิ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ ความหมายของงานฐานทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ วตั ถปุ ระสงค์ ของการฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ ปรชั ญาการสรา้ งนกั อนรุ กั ษ์ วธิ กี ารดำ� เนนิ งานและการบรหิ าร จัดการเรียนรู้งานฐานทรัพยากรท้องถ่ิน การบริหารและการจัดการเรียนรู้ต่างๆ 2 ณ หอ้ งประชุมอนิ ทนลิ สำ� นักบริการวชิ าการ เม่อื วนั ที่ 18 พฤษภาคม 2566 www.cmu.ac.th
พธิ ลี งนามบนั ทกึ ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ขา่ วรอบสปั ดาห์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ I ฉบบั ที่ 21 วนั ท่ี 22 - 28 พฤษภาคม 2566 ระหวา่ งวทิ ยาลยั นานาชาตนิ วตั กรรมดจิ ทิ ลั กบั สภาอตุ สากรรมทอ่ งเทย่ี วภาคเหนอื เขต 1 เขตร้ัว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (ภาคเหนอื ตอนบน) วิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิธีลงนามบันทึกความ เ ปน็ ประธานเผปู้ดิชก่วจิ ยกศรารมสสตมั รมานจาาปรยระ์ จทำ� พปี.2ด5ร6.6นฤโดมยนมัสกี ารคบอรวรยนาิชยสคำ� หณรบบั ดอีคาจณาะรยท์ บันคุตลแาพกทรสยำ� ศนากั สงตานร์ ร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างวิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล กับสภาอุตสากรรมท่องเท่ียว บุคลากรโรงพยาบาลทันกรรม และบคุ ลากรศนู ยท์ ันตกรรมบริการ ในหวั ขอ้ ผลการดำ� เนนิ งานคณะ ภาคเหนือเขต 1 (ภาคเหนือตอนบน) โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิรา อุ่นเจริญ คณบดี ทันตแพทยศาสตร์ และการใช้งบประมาณปี 2565 และ 2566 แผนพัฒนาคณะฯ และแนวทาง วิทยาลยั นานาชาตนิ วัตกรรมดิจิทัล เปน็ ผู้ลงนามฝ่ายแรก และคณุ พลั ลภ แซจ่ วิ ประธานสภา การขับเคลื่อนนโยบายคณะทนั ตแพทยศาสตร์ ปกั หมดุ ปี 2566 - 2567 เล่าสกู่ ันฟงั แลว้ รวมพลัง อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ วภาคเหนอื เขต 1 (ภาคเหนอื ตอนบน) เปน็ ผลู้ งนามอกี ฝา่ ยหนงึ่ และมผี ชู้ ว่ ย เพื่อการพัฒนา ระดมความคิดเห็นบุคลากรต่อแผนพัฒนาคณะ การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน การท�ำ ศาสตราจารย์ วา่ ทร่ี อ้ ยตรี ดรณ์ สทุ ธภิ บิ าล ผชู้ ว่ ยประธานสภาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ วภาคเหนอื มระีกบาบรนH�ำเAสนใอนผโรลงกพายราปบราะลเทมันินตคกุณรธรรมรมรแับลมะือคอวยา่ามงโไรป?รน่งักใสศขึกอษงาอไมงค่เข์ก้ารเรียCนMUพ-รIT้อAมก2ัน5น6ั้น6 คปณระบกดาีไศด้ เขต 1 และ อาจารย์ ดร.เพยี งออ เลาหะวิไลย อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชานวัตกรรมดิจิทัล เจตจำ� นงสจุ รติ ในการบรหิ ารงาน ประกาศนโยบายการไมร่ บั ของขวญั และของกำ� นลั ทกุ ชนดิ จากการ ร่วมลงนามเป็นพยานในบนั ทึกความร่วมมือดังกลา่ ว ปฏิบัติหน้าท่ี (No Gift Policy) และเผยแพร่วีดทิ ศั นก์ ารส่งเสริมจริยธรรมของบคุ ลากร เพ่ือสง่ เสรมิ โดยทั้งสองฝ่ายมีความตกลงร่วมกันในด้านการศึกษา การวิจัย และการส่งเสริม การประพฤตติ นตามแนวทางดา้ นจรยิ ธรรมของมหาวทิ ยาลยั ใหก้ บั ผบู้ รหิ าร หวั หนา้ งานและบคุ ลากร อตุ สากรรมการทอ่ งเทยี่ วในภาคเหนอื ภายใตโ้ ครงการการพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบการในกลมุ่ ในคณะรับทราบเพ่ือส่งเสริมการประพฤติตนตามแนวทางด้านจริยธรรมของมหาวิทยาลัย และ ประเทศสมาชิกกรอบความร่วมมือล้านช้าง-แม่โขง เพ่ือรองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานต่อไป ณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เม่ือวันที่ นวัตกรรม (Strengthening Entrepreneurs in LMC for Route Number 1 Innovation 26 - 27 เมษายน 2566 Corridor Development Project) โดยมี คณุ นิรดา วีระโสภณ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการส�ำนักงาน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดบ้านต้อนรับ บุคลากรและ นโยบาย การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมแห่งชาติ (สอวช.), คุณดำ� รงค์ องอาจ อาสาสมัครของหน่วยฟื้นฟูนกป่าล้านนา รวมถึงนักศึกษาในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวข้องและมีความสนใจ นายกสมาคมการบินภาคเหนือ, ดร.ม่ิงขวัญ แดงสุวรรณ อุปนายกสมาคมการบินภาคเหนือ, เเกพี่ยื่อวศกึกับษกาาสรัณสตฐัฟาฟน์นวิทกยใานกใชาร้เปเข็น้าอตบัวลรม่อใ“นกกาารรสปตรัฟับฟพ์นฤกตเิกบร้ือรงมตล้นูก”นกสใ�ำหห้รรู้ับจักใชช้ในนิดกขารอคงงตสัวภเอาพงแสลัตะว์ คุณรงั สี เรอื งศร นายกสมาคมสมาพนั ธท์ อ่ งเท่ยี วภาคเหนือเชยี งใหม,่ คณุ ธนกฤษ เวยี งแก้ว โไดมย่ตมิดีคคนุณตปลิยอะดมจานศเปค็นงกถาึงรปแลลูกะฝคังแุณนธวีรคะิดพใงนศก์าโรปอธนาุรักนษัก์ธวริทรยมาชศาาตสิใตหร้แ์ กค่นณักะศสึกัตษวาแแพลทะผยู้ศทา่ีสสนตใจร์ นายกสมาคมส่งเสริมการท่องเท่ียวจังหวัดเชียงใหม่ 2015, คุณพิกุล เรืองไชย นายกสมาคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ ณ ห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์ มคั คเุ ทศก์เชยี งใหม่, คุณอำ� นาจ ตวงสงิ ห์ นายกสมาคมบูตกิ เชียงใหม,่ คุณกัญญ์สริ ิ ปนิ ไชย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวนั ที่ 22-23 เมษายน 2566 พัฒน์ เลขานุการประธานสภาอุตสากรรมการท่องเท่ียวภาคเหนือเขต 1, คุณฤทธี คุรุสิงห์ ผู้แทน พล.ต.ต. ปชา รัตน์พันธ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเชียงใหม่, คณะผู้บริหารวิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล, และนักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการฯ ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีลงนามความร่วมมือดังกล่าวใน เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2566 ณ โรงแรมเชียงใหมแ่ กรนดว์ ิว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดกิจกรรมชิมลางสถาปัตยกรรม คร้ังที่ 24 ส�ำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อให้นักเรียนได้สัมผัสแนวทางการศึกษา ด้านสถาปัตยกรรม และตดั สนิ ใจเลือกศกึ ษาต่อในระดับอุดมศกึ ษา ระหว่างวนั ที่ 3 – 7 พฤษภาคม 2566 ณ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ กจิ กรรมชิมลางสถาปัตยกรรม ครง้ั ที่ 24 ประกอบไปด้วยกิจกรรมการบรรยายใหค้ วามรู้ การฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ และการทัศนศกึ ษา ซึ่งเปน็ ความรู้พื้นฐานส�ำหรับการเรียนต่อในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ โดยมีอาจารย์ประจ�ำคณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์เปน็ ผสู้ อน และยงั มีพี่ ๆ นักศกึ ษาเปน็ ผดู้ ูแลตลอดระยะเวลาการท�ำกิจกรรม “เลา่ สูก่ นั ฟงั กบั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม”่ ทุกวนั อาทติ ย์ เวลา 08.10 – 08.30 น. ทางสถานวี ทิ ยเุ สยี งสือ่ สารมวลชน FM100 คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิธีปิดและมอบประกาศนียบัตร การอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิต • วันอาทติ ย์ ท่ี 14 พฤษภาคม 2566 • พนั ธใ์ุ หมแ่ ละกำ� ลงั คนทม่ี สี มรรถนะเพอ่ื ตอบโจทยภ์ าคการผลติ ตามนโยบายการปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา \"รับน้องรถไฟ\" 66 วันที่ 2-3 มิ.ย. นี้ ไทย รุ่นที่ 3 โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานี แก้วธรรมานุกูล คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ต้อนรับ ลูกช้าง มช. สนุกคึกคัก และอบอุ่น ตลอดเส้นทาง มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เปน็ ประธาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศริ ริ ตั น์ ปานอทุ ยั ประธานกรรมการ จากสถานีกรุงเทพหัวลำ�โพง สู่สถานีเชียงใหม่ หลักสูตรฯ กล่าวรายงาน เม่ือวันที่ 29 เมษายน 2566 ทั้งน้ี การอบรมดังกลา่ วจัดขน้ึ ระหวา่ งวนั ท่ี 20 กนั ยายน 2565 – 30 เมษายน 2566 วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พัฒนาศกั ยภาพของพยาบาลวิชาชีพ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรพจน์ เสรีรัฐ ให้เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุสามารถให้บริการด้านสุขภาพ ผชู้ ว่ ยอธิการบดี มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ cmu 3ใหส้ อดคลอ้ งกับปญั หาและความต้องการของผ้สู งู อายอุ ยา่ งมีคณุ ภาพและประสิทธิภาพตอ่ ไป ผลติ รายการโดย ศูนยส์ ่อื สารองคก์ รและนกั ศึกษาเก่าสัมพนั ธ์ ส�ำ นกั งานมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ www. .ac.th
นกั ศึกษาช้นั ปที ี่ 4 คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มช. ไดร้ บั รางวลั การประกวดการน�ำ เสนอโครงร่างงานวจิ ัยดีเดน่ นักศึกษาช้ันปีที่ 4 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลการประกวดการน�ำเสนอโครงร่างงานวิจัยดีเด่น ในการน�ำเสนอ โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ประจ�ำปีการศึกษา 2565 กระบวน วิชาการวางแผนโครงร่างงานวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ (DRS 425491) เมอ่ื วนั ท่ี 10 เมษายน 2566 ณ หอ้ งประชุมสทุ ธาสิโนบล และ หอ้ งบรรยาย 6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้รับรางวัลชนะเลิศ จำ� นวน 2 รางวลั ในหัวขอ้ ผลงานวิจยั เรื่อง 1. \"การยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟัน และความพึงพอใจของ ผู้ป่วยการใช้อุปกรณ์ช่วยกันลิ้นและแก้มพร้อมแท่นกัดเทียบกับม้วนฝ้าย ทันตกรรมในผู้ป่วยเด็กโดยนักศึกษาทันตแพทย์ระดับปริญญาตรี: การศึกษา แบบการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มแบ่งส่วนในช่องปาก\" (Fissure Sealant Retention and Patient Satisfaction Using EasyPrep in Comparison with Cotton Roll Isolation Technique in Pediatric Patients Performed by Undergraduate Dental Students: A Split-mouth Randomized Controlled Trial) 2. \"ประสิทธิภาพของระบบการใช้งานยูนิเวอร์แซลแอดฮีซีฟที่มีสาร คู่ควบไซเลนชนิดใหม่ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค ในการ ซ่อมแซมวัสดเุ รซนิ คอมโพสิต\" (Effectiveness of modes of new silanized universal adhesive on microtensile bond strength for resin com- posite repair) และรางวลั รองชนะเลิศ จ�ำนวน 2 รางวลั ในหวั ขอ้ ผลงานวจิ ยั เรื่อง 1. \"การพฒั นาระบบการใหค้ ะแนนบนพน้ื ฐานของภาพรงั สพี านอรามกิ สำ� หรบั การตรวจสอบความสมั พนั ธส์ มั ผสั จรงิ ระหวา่ งฟนั กรามลา่ งซที่ สี่ ามและ เส้นประสาทอินฟิเรียอัลวีโอลาร์\" (The development of panoramic radiograph-based scoring system detecting real contact relationship between mandibular third molar and inferior alveolar nerve) 2. \"การประมาณอายขุ องประชากรไทยวยั ผใู้ หญจ่ ากภาพรงั สแี พโนรา มาโดยใชก้ ารเรยี นรเู้ ชงิ ลกึ \" (Chronological age estimation in Thai adults from panoramic radiographs using deep learning) ท่ปี รึกษา : ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษร์ กั ษ์ ศรบี ณั ฑติ มงคล อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ขข่า่าววรรออบบสสัปัปดดาาหห์ ์ บรรณาธกิ ารบริหาร : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญานุภาพ อานันทนะ รองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ บรรณาธิการ : อาจารย์ ดร.อฬญิ ญา พงษ์วาท ผู้อ�ำ นวยการศูนย์สือ่ สารองค์กรและนักศกึ ษาเกา่ สมั พันธ์ กองบรรณาธิการ : ม.ล.กัตตกิ า เกษมสนั ต์ ละอองศรี นางสาวศภุ วรรณ ข�ำ เจริญ นางสาวอรรตั น์ สวา่ งแสง CCHHIIAANNGGMMAAIIUUNNIIVVEERRSSIITTYY WWEEEEKKLLYYNNEEWWSS hhttttppss:/:///ccmmuu.a.acc.t.thh นางสาวเมธาพร เฉลิมเขตต์ นางสายฝน จัตุรัตน์ นางวรศิ รา มาละแซม นายปาณทั สนิ สวุ รรณ์ ฝา่ ยภาพ : ว่าที่ ร.ต.มงคล ลายค�ำ นายกนั ตคณุ วงศอ์ าษา นางสาวธนั ยรัศ พนั ธพุ์ วง ฝา่ ยเผยแพร่ : นายอนุญาชัย ตันติเสนียพ์ งศ์ ส่งข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ที่ ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทร. 0-5394-4444 โทรสาร 0-5394-4900 E-mail : [email protected] พมิ พ์ท่ี : หจก.นนั ทกานต์ กราฟฟคิ การพมิ พ์ www.nantakarngraphic.com
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: