Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

oo1

Published by annlovesomo, 2019-01-28 05:05:43

Description: oo1

Search

Read the Text Version

วธิ ีการทดลอง ผลการทดลอง โครงงานวิทยาศาสตร์ 1. เพาะกล้าผักกวางตุ้งในถาดเพาะเมล็ดเป็นเวลา สรปุ ผลการทดลอง การทดสอบประสทิ ธภิ าพนา้ หมกั ชวี ภาพจากนมสดกบั น้า 10 วัน แล้วย้ายมาปลูกในกระถางทดลอง แบ่งแปลงทดลอง น้ า ห มั ก ชี ว ภ า พ จ า ก ไ ข่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง หมักชีวภาพจากไข่ในระยะเวลาการหมักทต่ี ่างกนั ต่อการ เปน็ 5 แปลง แปลงละ 4 กระถาง รวม 20 กระถาง ดงั นี ผักกวางตุ้งมากกว่าน้าหมักชีวภาพจากนมสด ในขณะที่ ระยะเวลาของการหมักนัน น้าหมักชีวภาพที่ใช้ระยะเวลา เจรญิ เตบิ โตของผักกวางตุ้ง แปลงที่ 1 รดดว้ ยนา้ หมกั นมสดหมักไมเ่ กิน 15 วนั หมักที่นานกว่าจะมีประสิทธิภาพท่ีดีกว่าน้าหมักชีวภาพท่ี หมักในระยะเวลานอ้ ยเช่นกัน ผจู้ ัดทา แปลงท่ี 2 รดดว้ ยนา้ หมักนมสดหมักมากกวา่ 30 วนั เด็กหญงิ ปวณี ล์ ดา สินธุระเวชญ์ แปลงที่ 3 รดด้วยนา้ หมกั จากไข่หมกั ไมเ่ กนิ 15 วัน แปลงที่ 4 รดดว้ ยน้าหมกั ไขห่ มักมากกวา่ 30 วัน แปลงที่ 5 รดด้วยนา้ เปลา่ (ไมผ่ สมน้าหมักชีวภาพ) 2. เมื่อย้ายต้นกล้ามาปลูกในกระถางเสร็จแล้วให้รด น้าทุกวัน เช้า-เย็น เม่ือครบ 3 วันหลังจากย้ายมาปลูกใน กระถาง น้าน้าหมักชีวภาพแต่ละชนิดในระยะการหมัก 15 วัน และ 30 วัน มาเจือจางกับน้าเปล่าในอัตราส่วน น้า:น้า หมัก 1,000 mL : 1 mL แบ่งออกเปน็ 5 ขวด 3. น้าน้าหมักแต่ละขวดไปรดโคนผักกวางตุ้งใน ท่ปี รึกษา แปลงทดลองทุกๆ 3 วัน จากนันวัดค่าความเป็นกรดด่างของ คุณครู จฑุ ารตั น์ ผงทวี ดินและวัดความสูงของผักกวางตุ้งในกระถางทุกๆ 7 วัน เป็น คุณครู ไพฑูรย์ กุมภาพันธ์ เวลา 1 เดอื น ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรียนโยธินบูรณะ

ทีม่ าและความสาคัญ สมมุติฐาน วิธกี ารหมกั นาหมักชีวภาพจากนมสด ถ้าชนดิ ของน้าหมักชีวภาพ ในระยะเวลาการหมกั ทแี่ ตกต่าง 1. น้านมสด (รสจืด) ย่ีห้อใดก็ได้เทลงในขวดเปล่า โครงงานนีมีแนวคิดมาจากความตอ้ งการที่ กนั มผี ลตอ่ การเจริญเติบโตของผักกวางตงุ้ ดังนันน้าหมัก จา้ นวน 1 กล่อง จะปลกู พืชผักสวนครัว ไว้ส้าหรับรบั ประทานใน ชีวภาพจากไข่ ในระยะเวลาหมกั หนง่ึ ๆ จะส่งผลต่อการ 2. เตมิ นา้ ตาลทรายแดงและนมเปรียว(ยาคูลท์)ลงไป ครวั เรอื น แต่ด้วยสภาพท่ีอยู่อาศยั เปน็ ชมุ ชนเมือง เจรญิ เติบโตของผักกวางตุ้งท่ีมากกวา่ การใช้น้าหมักชวี ภาพ อย่างละ 1 ช้อนโต๊ะ เสร็จแล้วปิดฝาเขย่าขวดให้ ทา้ ใหม้ ขี ้อจ้ากดั ด้านพืนทีใ่ นการปลูกดังนัน ผู้จดั ท้า จากนมสด ส่วนผสมเข้ากัน จดบันทึกวันผลิต แล้วน้าไปเก็บไว้ จึงได้คิดหาวธิ กี ารปลูกพืชผกั สวนในกระถางจากนัน ได้ศึกษาหาวธิ ีการผลติ ปยุ๋ ชีวภาพ ท่ใี ชว้ ตั ถุดิบท่หี า ตัวแปรในการทดลอง วธิ ีการหมกั นาหมกั ชีวภาพจากไข่ ได้งา่ ย มรี าคาไมแ่ พง คือไข่ไก่ และนมสด น้ามา 1. ตอกไข่ 5 ฟอง ใส่ภาชนะผสม ตีไข่ให้เข้ากัน หมกั เปน็ น้าหมักชีวภาพ แลว้ ศกึ ษาวา่ พืชสามารถ ตัวแปรต้น ชนดิ นา้ หมักชวี ภาพทใี่ ช้ในการทดลอง และ เสร็จแล้วเทใส่ขวดเปลา่ ท่เี ตรยี มไว้ เจริญเตบิ โตได้ดหี รือไมโ่ ดยนา้ น้าหมกั ชีวภาพทหี่ มัก ระยะเวลาการหมกั น้าหมักชวี ภาพทแี่ ตกตา่ งกนั 2. เติมน้าตาลทรายแดงและนมเปรียว(ยาคูลท์)ลง ไว้มาเจอื จางกับน้าเปล่าในอัตราสว่ นทกี่ ้าหนด แลว้ ไปอย่างละ 1 ช้อนโต๊ะ เสร็จแล้วปิดฝาเขย่าขวดให้ นา้ ไปรดผกั กวางตุง้ หากน้าหมกั ชวี ภาพทงั 2 ชนิด ตัวแปรตาม การเจริญเตบิ โตของผักกวางต้งุ (ความสูงของ ส่วนผสมเข้ากัน จดบันทึกวันผลิต แล้วน้าไปเก็บไว้ นสี ามารถชว่ ยเรง่ การเจริญเติบโตของพชื ได้ แลว้ ตน้ กวางตงุ้ และจา้ นวนใบของกวางตุ้ง ประเภทไหนท่ีใชแ้ ลว้ ได้ผลิตผลดกี วา่ กนั ระยะเวลา การหมักนา้ หมกั ชวี ภาพทงั 2 ชนิด ควรจะใช้ ตัวแปรควบคุม ปรมิ าณนา้ และน้าหมักชีวภาพ ชนิดของดนิ ระยะเวลาในการหมักมาก หรือนอ้ ยเพียงใดเปน็ การ ทปี่ ลูก ปรมิ าณดนิ จา้ นวนต้นผกั กวางตงุ้ ในกระถางปลูก สง่ เสริมให้ครวั เรือนปลูกพชื ผกั สวนครวั ปลอด ระยะเวลาในการปลกู และชนิดของพืช สารพษิ เพ่ือรบั ประทาน วัสดอุ ุปกรณ์ในการหมักนาหมกั ชีวภาพและทดลอง วัตถปุ ระสงค์ นมสด, ไข,่ น้าตาลทรายแดง,นมเปรียว(ยาคูลท)์ , ช้อนตวง 1. เพื่อเปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพของน้าหมักชีวภาพ ขวดน้าเปล่า เครอื่ งวดั กรด-ดา่ งดิน (pH Meter) , ถว้ ยตวง , ไซริง และ ขวดนา้ เปลา่ จากนมสดและน้าหมักชีวภาพจากไข่ ในระยะเวลา การหมักที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของ ผกั กวางตุง้ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของ พืช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook