Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

ไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

Published by ตฤณ บำรุงสวน, 2018-07-21 02:52:36

Description: เอกสารประกอบการสอนรายวิชาไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

Keywords: เอกสารประกอบการสอน,ไฟฟ้ายานยนต์,พื้นฐานไฟฟ้ารถยนต์

Search

Read the Text Version

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย อักข ระ อักษรผส ม ตัวเล ข ใน สี เห ลี ยมผืนผ ้า (BB1) จะแส ดงรหัส ขัวต่ อ และห ม ายเล ข ภายนอกสีเหลียมผืนผา้ (11) จะแสดงหมายเลข สลกั นอกจากนี สัญลักษณ์ ( ) จะระบุด้านข้าง ขวั ต่อตวั ผู้ รูปที 1.17 ตวั อยา่ งแสดงความหมายอกั ขระ จุดต่อและจุดลงกราวด์ อกั ษรผสมตวั เลข สั ญ ลัก ษ ณ์ รู ป ห ก เห ลี ย ม ใน พื น ที ที เน้น จ ะรูปที 1.18 ตวั อยา่ งแสดงจุดต่อและจุดลงกราวด์ แสดงจุดต่อ และสัญลักษณ์รูปสามเหลียมจะ แสดงจุดลงกราวดจ์ ุดต่อจะเชือมต่อโดยตรงกบั สายไฟโดยไม่ผา่ นขวั ต่อ (B7) และ (E1)คือรหสั จุดต่อจุดลงกราวด์จะเชือมต่อสายไฟกับตัวถงั หรือเครืองยนต์ เป็ นตน้ (BH) และ (EB) คือรหัส จุดลงกราวด์ สีของสายไฟ อกั ขระผสมตวั เลขในพืนทีทีเน้นจะแสดงสี ของสายไฟสีของสายไฟจะรวมสีทีขอบดว้ ยซึง จะแสดงเป็ น R- Lโดยอกั ษรตวั แรกคือสีพืน และ อกั ษรตวั ทีสองคือสีขอบรูปที 1.19 ตวั อยา่ งแสดงสีของสายไฟ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 46

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย ความหมายของอกั ขระตวั อกั ษรผสมตัวเลข ทงั หมดรูปที 1.20 แสดงสีของสายไฟ แหล่งจ่ายไฟรูปที 1.21 แสดงแหล่งจ่ายไฟ ในส่ วนนี จะเรี ยนรู้ว่าฟิ วส์แต่ละตัวจะ ครอบคลุมระบบใดบา้ งตวั อยา่ ง เช่น ผงั ดงั กล่าว นีจะระบุว่าฟิ วส์ \"10A, HORN\" จะครอบคลุม เฉพาะ \"แตร\"เช่นเดียวกนั ฟิ วส์ \"15A, DOME\" จะครอบคลุมหลายระบบ รวมถึง \"ไฟส่องสวา่ ง ภายในห้องโดยสาร\" \"เครืองปรับอากาศ (A/C แบบอตั โนมตั ิ)\" \"นาฬิกา\" \"มาตรวดั รวม\" และ ระบบอืนๆหมายเลขหน้าในผงั วงจรจะอา้ งถึง วงจรระบบ ข้อมูลของวงจรระบบ เมือพบพื นที ที จะซ่ อมหรื อตรวจสอบใน ผงั วงจรระบบให้ดูหน้าถดั ไปตามผงั หน้านีจะให้ ภาพรวมและขอ้ แนะนาํ เกียวกบั ระบบและยงั ให้ ข้อมูลอ้างอิงสําหรับ \"การวางผงั วงจรไฟฟ้า\" ซึงแสดงตาํ แหน่งของชินส่วนในรถยนต์รูปที 1.22 แสดงขอ้ มลู ของวงจรระบบ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 47

1.5.2 ตาํ แหน่งรีเลย์และเส้นทางเดนิ ของสายไฟ ตาํ แหน่งติดตงั กล่องรวมสาย (J/B) และกลอ่ งรีเลย์ (R/B) และเส้นทางเดินของสายไฟในรถยนต์ รูปที 1.23 แสดงตาํ แหน่งติดตงั กลอ่ งรวมสาย (J/B) และกลอ่ งรีเลย์ ( R/B) ในรถยนต์ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) รูปที1.24 แสดงตาํ แหน่งติดตงั รีเลยแ์ ละฟิ วส์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 48

รูปที1.25 แสดงเสน้ ทางเดินสายไฟในรถยนต์(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) รูปที1.26 แสดงเสน้ ทางเดินสายไฟในรถยนต์(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 49

1.5.3 วงจรไฟฟ้าทังหมดทเี ชือมต่อกบั ระบบต่างๆ วงจรไฟฟ้าทงั หมดทีเชือมต่อกบั ระบบต่างๆ จะแสดงการเชือมต่อระหวา่ งระบบต่อระบบและจุดลงกราวดด์ งั แสดงในรูป รูปที1.27 แสดงวงจรไฟฟ้ารถยนต์ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)2. เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าชนิด มลั ติมิเตอร์ เป็ นเครืองมือทีสามารถใช้วดั ความต้านทานของวงจรไฟฟ้า (โอห์ม) กระแสไฟฟ้า (แอมป์ ) และแรงดนั ไฟฟ้า (โวลต)์ รวมทงั ใชต้ รวจสอบความต่อเนืองของวงจร และทดสอบไดโอด การปรับสวิตช์เลือกการทาํ งานเพือวดั ค่าต่างๆใหเ้ หมาะสมกับงานทีจะทาํ การวดั สามารถทาํ การปรับเลือกโดยใชส้ วิตช์เลือกฟังก์ชนั เพือใหส้ ามารถวดั ค่าทีตอ้ งการวดั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง งานไฟฟ้ายานยนต์ 50

รูปที 1.28 แสดงมลั ติมเิ ตอร์แบบอนาลอ็ กรูปที 1.29 แสดงมลั ติมิเตอร์แบบดิจิตอล งานไฟฟ้ายานยนต์ 51

2 5 6 4 3 7 8 1 11 9 12 10 รูปที 1.30 แสดงส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์หมายเลข ความหมาย1 ป่ ุมหมนุ ตงั ค่ายา่ นวดั2 หนา้ จอแสดงค่า3 ฟังกช์ นั MIN/MAX ช่วยบนั ทึกค่าสูงสุดและตาํ สุดได้4 ป่ ุมเลือกตาํ แหน่งเปลียนค่าการวดั5 กดป่ ุม RANGE เลือกตาํ แหน่งทศนิยม6 ฟังกช์ นั REL (ค่าสมั พทั ธ)์ ใชร้ ะบคุ วามผนั แปรของการวดั7 Hold ตอ้ งการค่าในการอา่ นคงทีไมเ่ ปลียนแปลงแสดงผล ทีคา้ งไว้8 ฟังกช์ นั DUTY (สามารถวดั ความกวา้ งของพลั ส์/คาบของพลั ส์)9 สายวดั ขวั บวก10 สายวดั ขวั ลบ (Common)11 สายวดั กระแสขวั บวก ยา่ น (Range) กระแส 10 A12 สายวดั กระแสขวั บวก ยา่ น (Range) กระแส mA ตารางที 1.2 แสดงความหมายส่วนประกอบมลั ติมิเตอร์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 52

2.1 การวดั แรงดันไฟฟ้ากระแสสลบั วัตถุประสงค์เพือวัดแรงดันไฟฟ้าของสายไฟในครัวเรื อนหรื อโรงงาน วงจรไฟฟ้ ากระแสสลบั และแรงดนั ไฟฟ้าแยกของหมอ้ แปลงไฟฟ้า วิธีการวดั ให้ปรับสวิตช์เลือกฟังกช์ ันไปทีช่วงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั และตอ่ สายทดสอบขวั ของสายทดสอบสามารถสลบั กนั ได้ รูปที 1.31 แสดงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั 2.2 การวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง วตั ถุประสงคเ์ พือวดั แรงดนั ไฟฟ้าของแบตเตอรีประเภทต่างๆ อุปกรณ์ไฟฟ้า และวงจรทรานซิสเตอร์ รวมทงั แรงดนั ไฟฟ้า และแรงดนั ไฟฟ้าตกในวงจรต่างๆ วธิ ีการวดั ใหป้ รับสวติ ชเ์ ลือกฟังก์ชนั ไปทีช่วงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง วางสายทดสอบขวั ลบสีดาํ ทีแรงดนั ไฟฟ้าสายดินและวางสายทดสอบขวั บวกสีแดงไวบ้ นพืนทีทีจะทดสอบ แลว้ อา่ นค่า รูปที 1.32 แสดงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง งานไฟฟ้ายานยนต์ 53

2.3 การวดั ความต้านทาน วตั ถปุ ระสงคเ์ พือวดั ความตา้ นทานของตวั ตา้ นทาน ความต่อเนืองของวงจร วธิ ีการวดั ให้ปรับสวติ ช์เลือกฟังก์ชนั ไปทีความตา้ นทาน/ความต่อเนือง จากนนั ให้วางสายทดสอบทีปลายตวั ตา้ นทาน เพือวดั ความตา้ นทาน ขอ้ ควรระวงั ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ ไม่มีการใชแ้ รงดนั ไฟฟ้ากบัตวั ตา้ นทาน เพราะอาจทาํ ใหม้ ลั ติมเิ ตอร์ ชาํ รุดเสียหายได้ รูปที1.33 แสดงการวดั ความตา้ นทาน 2.4 การตรวจสอบความต่อเนือง วตั ถุประสงค์เพือตรวจสอบความต่อเนืองของวงจร วิธีการวดั ใหป้ รับสวติ ช์เลือกฟังกช์ นัไปทีช่วงค่าความตา้ นทาน/ความต่อเนือง (ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ หนา้ จอแสดงเครืองหมาย \" \"ในตอนนีถา้ ไม่มี ใหก้ ดสวิตช์เลือกโหมด SELECT เพือเปลียนเครืองมือทดสอบใหเ้ ป็นโหมดความต่อเนือง Ω/ ) ให้ต่อสายไฟทดสอบไปทีวงจรทีจะทดสอบ เสียงเตือนจะดงั ขึนในกรณีทีวงจรมีความต่อเนือง งานไฟฟ้ายานยนต์ 54

รูปที 1.34 แสดงการตรวจสอบความต่อเนือง 2.5 การทดสอบไดโอด วตั ถุประสงค์เพือทดสอบไดโอด วิธีการวดั ใหป้ รับสวิตช์เลือกฟังกช์ ันไปทีโหมดการทดสอบไดโอด ตรวจสอบความต่อเนืองของทงั สองทิศทาง หากไดโอดมีความต่อเนืองในทิศทางเดียว และไม่มีความต่อเนืองเมือมีการสลับสายทดสอบ แสดงว่าไดโอดปกติ หากไดโอดมีความต่อเนืองทงั สองทิศทาง แสดงวา่ มีการลดั วงจร ถา้ ไม่มีความต่อเนืองไม่วา่ ในทิศทางใดแสดงว่าวงจรเปิ ด รูปที 1.35 แสดงการทดสอบไดโอด งานไฟฟ้ายานยนต์ 55

2.6 การวดั ไฟฟ้ากระแสตรง วตั ถุประสงคเ์ พือวดั การใชจ้ าํ นวนกระแส ของอุปกรณ์ทีใชไ้ ฟฟ้ากระแสตรง วิธีการวดัให้ปรับสวิตช์เลือกฟังก์ชันไปทีช่วงการวดั กระแส กดสวิตช์โหมด SELECT เพือเลือกวดั ค่ากระแสตรง (DC)หรือกระแสสลบั (AC) และเลือกตําแหน่งทีจะใส่สายไฟทดสอบขวั บวกโดยใหม้ ีขนาดทีเหมาะสม เลือกตาํ แหน่ง (mA) หรือ (10A) ในการวดั จาํ นวนกระแสของวงจร ตอ้ งเชือมต่อแอมมิเตอร์ใหอ้ นุกรมกบั วงจร ดงั นนั จึงต่อวงจรไฟฟ้าตามรูปดา้ นลา่ ง โดยต่อสายไฟขวั บวกไวด้ า้ นทีมีแรงดนั ไฟฟ้าสูงกวา่ และตอ่ สายไฟทดสอบขวั ลบไปทีดา้ นทีมีแรงดนั ไฟฟ้าตาํ กวา่ แลว้ อา่ นค่า รูปที1.36 แสดงการวดั จาํ นวนแอมแปร์ไฟฟ้ากระแสตรง งานไฟฟ้ายานยนต์ 56

แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ชือ……………...นามสกุล…………………………..ชนั …………..……แผนกวิชาเทคนิคเครืองกลคาํ ชีแจง ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาํ ถามโดยเติมคาํ ลงในช่องว่างใหถ้ ูกตอ้ งและสมบูรณ์ (10 คะแนน)1. ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (electrical wiring diagram) หรือ EWD ประกอบดว้ ยส่วนประกอบที สาํ คญั อะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………2. รูปแบบขวั ตอ่ สาย และหมายเลขขวั มีวิธีการนบั อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………3.กล่อง (J/B) และ (R/B) ในวงจรไฟฟ้ารถยนตม์ ีความแตกต่างอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………4. จุดลงกราวดใ์ นวงจรไฟฟ้ารถยนต์ มีสญั ลกั ษณ์อยา่ งไร และจะมีจุดเชือมต่อสายไฟกบั ตวั ถงั หรือ เครืองยนต์ บริเวณใด …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………5. บอกความหมายอกั ษรยอ่ ทีใชใ้ นวงจรไฟฟ้า (abbreviation) ทีกาํ หนดให้ ดงั นี COMB , M/T, R/B , LH , IIA …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………6. การเสียบสายวดั ของมลั ติมิเตอร์เพือใชง้ าน โดย สายวดั สีแดงเสียบเขา้ ทีขวั ต่อ…………………………………….………………………………. สายวดั สีดาํ เสียบเขา้ ทีขวั ต่อ……………………………………….……………………………… งานไฟฟ้ายานยนต์ 57

7. การตงั ยา่ นวดั ค่าของมลั ติมิเตอร์ ตอ้ งตงั ยา่ นวดั ใหถ้ ูกตอ้ งตามชนิดของปริมาณไฟฟ้านนั ๆ เพราะ ถา้ ตงั ยา่ นวดั ผิดชนิดอาจทาํ ใหม้ ลั ติมิเตอร์…………………………………………………..…….8. การวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง ตอ้ งนาํ มลั ติมิเตอร์ต่อ …………………………………………… กบั จดุ ทีตอ้ งการวดั เสมอ9. การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง มีวธิ ีปรบั เลือกสวติ ชฟ์ ังกช์ นั อยา่ งไร และเลือกตาํ แหน่งใส่สาย มลั ติมเิ ตอร์อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………10. การวดั ความตา้ นทาน และความต่อเนืองของวงจร มีวธิ ีปรบั เลือกสวิตช์ฟังกช์ นั อยา่ งไร และมี ขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… งานไฟฟ้ายานยนต์ 58

ใบเฉลยแบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์1. ผงั วงจรไฟฟ้ารถยนต์ ประกอบดว้ ยส่วนทีสาํ คญั คือ 1.1 ไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ 1.2 ตาํ แหน่งรีเลยแ์ ละเสน้ ทางเดินสายไฟ 1.3 ไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าทงั หมดทีเชือมต่อกบั ระบบต่างๆ2. ส่วนลอ็ กขวั ตอ่ จะหงายขึนเพือใหส้ ามารถอ่านหมายเลขสลกั บนผิวขวั ต่อได้ โดยใหอ้ ่าน จากดา้ นซา้ ยบนสาํ หรบั ขวั ตอ่ ตวั เมียตามทีแสดงทีดา้ นซา้ ยมอื ในภาพประกอบสาํ หรับ ขวั ต่อตวั ผู้ ใหอ้ ่านหมายเลขจากดา้ นขวาบนเหมือนภาพสะทอ้ นในกระจกของขวั ต่อตวั เมีย ตามทีแสดงทีดา้ นขวามือในภาพประกอบ3. กล่องรวมสาย (J/B) เป็ นจุดรวมของขวั ต่อสายไฟของวงจรไฟฟ้าในรถยนต์ กล่องรีเลย์ ( R/B) เป็ นจุดรวมขวั ต่อของรีเลยแ์ ละฟิ วส์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 59

4. จุดต่อและจุดลงกราวด์ สัญลกั ษณ์รูปหกเหลียนในพืนทีทีเนน้ จะแสดงจุดต่อ และสัญลกั ษณ์ รูปสามเหลียมจะแสดงจุดลงกราวดจ์ ุดต่อจะเชือมต่อโดยตรงกบั สายไฟโดยไม่ผา่ นขวั ต่อ (B7) และ (E1)คือรหสั จุดต่อจุดลงกราวด์จะเชือมต่อสายไฟกบั ตวั ถงั หรือเครืองยนต์ เป็ นตน้ ( BH) และ (EB) คือรหสั จุดลงกราวด์5. COMB = หนา้ ปัด M/T = เกียร์ธรรมดา R/B = กล่องรีเลย์ LH = ซา้ ยมือ IIA = ชุดจดุ ระเบิดรวม6. สายวดั สีแดงเสียบเขา้ ขวั ต่อ บวก สายวดั สีดาํ เสียบเขา้ ขวั ต่อ ลบ7. แสดงคา่ ผิดและมลั ติมิเตอร์ชาํ รุดเสียหายได้8. ในการวดั จาํ นวนกระแสของวงจร ตอ้ งเชือมต่อแอมมเิ ตอร์ใหอ้ นุกรมกบั วงจร9. การวดั ไฟฟ้ากระแสตรงวธิ ีการวดั ใหป้ รับสวติ ช์เลือกฟังกช์ นั ไปทีช่วงการวดั กระแส กดสวติ ช์โหมด SELECT เพือเลือกวดั ค่ากระแสตรง (DC)หรือกระแสสลบั (AC) และเลือกตาํ แหน่งทีจะใส่สายไฟทดสอบขวั บวกโดยใหม้ ีขนาดทีเหมาะสม เลือกตาํ แหน่ง (mA) หรือ (10A) ในการวดัจาํ นวนกระแสของวงจร ตอ้ งเชือมต่อแอมมเิ ตอร์ใหอ้ นุกรมกบั วงจร10. การวดั ความตา้ นทาน วิธีการวดั ให้ปรับสวิตช์เลือกฟังกช์ ันไปทีความตา้ นทาน/ความต่อเนืองจากนัน ให้วางสายทดสอบทีปลายตัวตา้ นทาน เพือวดั ความต้านทาน ข้อควรระวงัตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีการใช้แรงดนั ไฟฟ้ากบั ตวั ต้านทาน เพราะอาจทาํ ให้มลั ติมิเตอร์ชาํ รุดเสียหายได้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 60

ใบงานที 1 หน่วยที 1วชิ า งานไฟฟา้ ยานยนต์ รหัสวชิ า - 104 สอนครังที 1ชือหน่วย พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ จาํ นวน 6 ชวั โมงหวั ข้อเรือง การใชเ้ ครืองมือวดั ทางไฟฟ้าวิเคราะห์ปัญหาวงจรไฟฟ้ารถยนต์จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือใหผ้ ูเ้ รียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจเกียวกบั รายละเอียดของมลั ติมิเตอร์ การใชง้ าน การ อ่านค่าของมลั ติมิเตอร์ ทงั ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลบั ตลอดจนสามารถนาํ ความรู้ไป วเิ คราะหป์ ัญหาวงจรไฟฟ้ารถยนตไ์ ด้จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. สามารถใชม้ ลั ติมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ งเครืองมือและอุปกรณ์ทีใช้ปฏิบตั ิงาน วสั ดุและอุปกรณ์ทีใช้สําหรับปฏิบัติงาน1. มลั ติมิเตอร์แบบดิจิตอล 1. แบตเตอรี 12 โวลท์ 1 ลูก 2. บอร์ดต่อวงจรพร้อมสายต่อ 1 ชุด 3. ฟิ วส์ ขนาด 10A 2 ตวั 4. สวิทช์ S1 S2 2 ตวั 5. รีเลย์ ปกติปิ ด 1 ตวั 6. โซลินอยด์ 1 ตวั 7. ผา้ เชด็ มอื งานไฟฟ้ายานยนต์ 61

ลาํ ดบั ขันการปฏบิ ตั ิงาน ภาพประกอบการปฏิบตั ิงาน1. ศกึ ษาการใชม้ ลั ติมเิ ตอร์จากคู่มอื การใช้เครืองหรือจากการฟังครูอธิบายการใช้2. เตรียมเครืองมือและอุปกรณ์3. ต่อวงจรไฟฟ้าทีกาํ หนดให้ บนแผงฝึ กปฏิบตั ิ4. การตรวจสอบแรงเคลือน 4.1 เงือนไขของแรงดนั จะอยูท่ ีจุดตรวจสอบ เช่น 4.1.1 A เปิ ดสวิทชจ์ ุดระเบิด 4.1.2 B เปิ ดสวิทชจ์ ุดระเบิดและสวทิ ชต์ วั ที 1 4.1.3 C เปิ ดสวิทชจ์ ุดระเบิดสวทิ ชต์ วั ที 1 และรีเลยท์ าํ งาน ( SW 2 off )4.2 ใชโ้ วลทม์ ิเตอร์ตรวจสอบแรงเคลือน โดย รูปที 1.1 แสดงตวั อยา่ งการตรวจแรงดนั ไฟฟ้าต่อสายลบลงดิน หรือขวั ลบแบตเตอรี และ รูปที 1.2 แสดงตวั อยา่ งการตรวจความต่อเนืองขวั บวกเขา้ กบั ขอ้ ต่อ หรือส่วนประกอบของขวั สายนอกจากนียงั สามารถหลอดไฟทดสอบแทนโวลทม์ ิเตอร์ได้5. การตรวจสอบความต่อเนือง และวดั ค่าความตา้ นทาน 5.1 ไม่ตอ้ งต่อแบตเตอรีเขา้ ทีขวั หรือ ไม่ตอ้ งใชแ้ รงเคลือนในระหวา่ งทาํ การวดั 5.2 ต่อขวั ทงั สองของโอห์มมิเตอร์เขา้ กบัอุปกรณท์ ีตอ้ งการวดั งานไฟฟ้ายานยนต์ 62

ลาํ ดบั ขันการปฏบิ ัตงิ าน ภาพประกอบการปฏบิ ัติงาน5.3 ถา้ ในวงจรมีไดโอด ทาํ การวดั การไหล รูปที 1.3 แสดงตวั อยา่ งการตรวจวดั ไดโอดยอ้ นกลบั อีกครัง เมอื ต่อสายลบเขา้ ทางดา้ นบวกของไดโอด และสายบวกเขา้ ดา้ นลบของไดโอด จะตอ้ งต่อเนือง เมือสลบั สายทงั สองขอโอห์มมิเตอร์จะตอ้ งไมต่ ่อเนือง5.4 ใชโ้ วลท/์ โอห์มมิเตอร์ ทีมีค่าความตา้ นทาน รวมของขดลวดสูงๆ(Impedance)(10 K/V) สาํ หรับการแกป้ ัญหาในวงจรไฟฟ้า รูปที 1.4 แสดงมลั ติมิเตอร์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 63

ลาํ ดบั ขันการปฏบิ ัตงิ าน ภาพประกอบการปฏบิ ัตงิ าน6. การหาจุดลดั วงจร 6.1 ถอดฟิ วส์ออกจากวงจร 6.2 ต่อหลอดไฟทดสอบเขา้ แทนทีฟิวส์ 6.3 ตรวจวดั จากหลอดไฟทดสอบตามภาวะต่างๆ เช่น 6.3.1 A เปิ ดสวทิ ช์จุดระเบิด 6.3.2 B เปิ ดสวิทชจ์ ุดระเบิดและสวิทชต์ วั ที 1 6.3.3 C เปิ ดสวิทชจ์ ุดระเบิดสวิทชต์ วั ที 1 และรีเลยท์ าํ งาน ( หนา้ สัมผสัต่อ )และปิ ดสวทิ ช์ตวั ที 2 ( หนา้ สมั ผสั ไม่ต่อ ) 6.3.4 ถอดและใส่ขอ้ ต่อขณะเดียวกนั ใหส้ งั เกตหลอดไฟ ไฟจะสวา่ งขึนเมือเกิดการลดั วงจรระหวา่ งขอ้ ต่อ เมือเสียบขอ้ ต่อเขา้ ไป หลอดจะไมด่ บั 6.3.4 ตรวจเช็คตาํ แหน่งของวงจรทีแน่นอน โดยการตรวจเช็จุดต่อ ขวั ต่อ ตามแนวตวั ถงั รูปที 1.5 แสดงตวั อยา่ งการหาจุดลดั วงจรข้อควรระวงั การตรวจสอบความต่อเนือง และวดัค่าความตา้ นทาน ตอ้ งไม่ต่อแบตเตอรีเขา้ ทีขวั หรือ ไมต่ อ้ งใชแ้ รงเคลือนในระหวา่ งทาํการวดั จะทาํ ใหค้ ่ามลั ติมิเตอร์ชาํ รุดเสียหาย งานไฟฟ้ายานยนต์ 64

ใบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน หน่วยที 1ใบงานที 1 การใช้เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าชือ……………………สกลุ ……….…………………….ระดบั ชนั ………………กลุ่ม……………. รายการ ค่าทีวดั ได้ ผลการทดสอบ หมายเหตุตรวจสอบแรงเคลือน1.ตรวจสอบแรงเคลือนไฟฟ้าจุด A ถูกตอ้ ง ไม่ถกู ตอ้ ง2. ตรวจสอบแรงเคลือนไฟฟ้าจุด B ถูกตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ ง3.ตรวจสอบแรงเคลือนไฟฟ้าจุด C ถกู ตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ งตรวจสอบการต่อเนืองและวดั ความ ถูกตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ งต้านทาน ถกู ตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ ง4.ตรวจสอบการต่อเนือง ถูกตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ ง5.ตรวจสอบความตา้ นทาน ถกู ตอ้ ง ไม่ถกู ตอ้ ง6.ตรวจสอบไดโอด ถกู ตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ งตรวจสอบการลดั วงจร7.ตรวจสอบการลดั วงจร จุด A8.ตรวจสอบการลดั วงจร จุด B9.ตรวจสอบการลดั วงจร จุด Cปัญหาทีพบในขณะปฏิบตั ิงาน……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….การแกไ้ ขปัญหา……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………. งานไฟฟ้ายานยนต์ 65

ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ………….…….……………… นกั ศึกษา ลงชือ……………………………. (นายตฤณ บาํ รุงสวน) ครูผสู้ อน งานไฟฟ้ายานยนต์ 66

แบบประเมนิ ผลทักษะการปฏิบตั ิงาน หน่วยที 1 ชืองาน การใช้เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าวทิ ยาลยั เทคนิคจันทบุรี การใ ้ชมัลติมิเตอ ์ร ผลการสาขางานเทคนคิ ยานยนต์ ขันตอนปฏิ ับติงาน ประเมนิ การใ ้ชเค ืรอง ืมอ ชัน...........กลุ่ม....... ความสะอาด ความปลอดภัย ความสม ูบร ์ณของงานงาน รวมลาํ ดบั ชือ-สกลุ 3 3 3 3 3 3 18 ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15ระดบั คะแนน 3 = ดี, 2 = ปานกลาง, 1 = ปรับปรุง (ดูตารางพิจารณาระดบั คะแนนหนา้ ถดั ไป)เกณฑก์ ารผา่ น คะแนนเต็ม 18 คะแนน ตอ้ งได้ 10 คะแนนขึนไปถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ลงชือ…………………………………ผูป้ ระเมิน งานไฟฟ้ายานยนต์ 67

ตารางการพจิ ารณาระดบั คะแนนประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน หน่วยที 1 ชืองาน การใช้เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าลาํ ดบั ที รายการประเมนิ ดี ปานกลาง ปรับปรุง 1 การใชม้ ลั ติมิเตอร์ (3) (2) (1) ใชม้ ลั ติมเิ ตอร์ ถูกตอ้ ง 2 ลาํ ดบั ขนั ตอนการ ร้อยละ 70 ใชม้ ลั ติมเิ ตอร์ ใชม้ ลั ติมเิ ตอร์ ปฏิบตั ิงาน ขึนไป ถกู ตอ้ งรอ้ ยละ ถกู ตอ้ งตาํ กวา่ ถูกทกุ ขนั ตอน 50-69 รอ้ ยละ 50 3 การใชเ้ ครืองมือ ผดิ บางขนั ตอน 4 ความปลอดภยั ในการ ใชถ้ ูกตอ้ งกบั งาน ผิดหลาย มีความระมดั ใชผ้ ิดบางขนั ตอน ขนั ตอน ทาํ งาน ระวงั ทุกขนั ตอน มีความระวงั เกือบ 5 ความสะอาด พืนทีปฏิบตั ิงาน ทุกขนั ตอน ใชผ้ ิดกบั งาน สะอาด เรียบร้อย พืนทีปฏิบตั ิงาน 6 ความสมบูรณข์ องงาน สะอาดเป็ น ไมม่ ีความ เสร็จสมบูรณท์ ุกจุด บางส่วน ระมดั ระวงั ไมส่ มบูรณ์ พืนที บางจุด ปฏิบตั ิงาน ค่อนขา้ ง สกปรก ไม่สมบูรณ์ หลายจดุ งานไฟฟ้ายานยนต์ 68

แบบสังเกตพฤตกิ รรม คุณลกั ษณะทีพงึ ประสงค์ ครังที 1ชือพฤตกิ รรม การมีวนิ ัยและการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน หวั ข้อการสังเกตพฤตกิ รรมชือ – สกลุ มวี ินยั ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนที ชัน ปวส. กลุ่มท.ี ............. ดี คะแนน ปานกลางสาขางานเทคนิคยานยนต์ ป ัรบ ุรง รวม ดี ปานกลาง ป ัรบป ุรง 321321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15หมายเหตุ การพจิ ารณาระดบั คะแนนมีวนิ ยั มีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนดี = แตง่ กายเรียบร้อยและมีมารยาทดี = ขยนั เรียน ศึกษาคน้ ควา้ อยตู่ ลอดเวลา ดี ปานกลาง = ขยนั ศึกษาคน้ คว้ าเป็นบา้ งครังปานกลาง = แต่งกายเรียบร้อยปรับปรุง = ไม่เรียบร้อยเอาเสือออกนอกกางเกง ปรับปรุง = ไม่ขยนั ศึกษาคน้ ควา้ ลงชือ ……………………………ครูผปู้ ระเมิน งานไฟฟ้ายานยนต์ 69

แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์คาํ ชีแจง ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาํ ถามแต่ละขอ้ ดว้ ยความคิดบนพืนฐานความรู้ทีผเู้ รียนรูแ้ ละเขา้ ใจในหน่วยการเรียนไม่ควรตอบเดา เพือครูจะไดท้ ราบขอ้ มลู ความรู้พืนฐานของผเู้ รียนไดถ้ ูกตอ้ งและแมน่ ยาํ ต่อการนาํ ไปแกไ้ ขและพฒั นาการสอนต่อไป ( 10 คะแนน )1. สายไฟแรงเคลือนตาํ ทีมีสัญลกั ษณ์ EB จะใชเ้ ป็นสายไฟอะไรในวงจรไฟฟ้ารถยนต์ ก. ในระบบจุดระเบิด ข. ในระบบไฟชาร์จ ค.ในขวั ต่อกล่องรวมสาย ง. เป็นแหล่งจ่ายไฟ จ. เป็นกราวด์2. กล่องรวมสาย (J/B) ทาํ หนา้ ทีอะไร ก. เป็ นจุดรวมของขวั ต่อสายไฟของวงจรไฟฟ้า ข.เป็นจุดเชือมต่อระหวา่ งสายไฟเขา้ ดว้ ยกนั ค. เป็นจุดรวมขอ้ ตอ่ ของรีเลยแ์ ละฟิ วส์ ง. เป็ นจุดสําหรับขวั ตรวจสอบ จ. ขอ้ ก.และ ค. ถูก3. จากรูป สญั ลกั ษณ์ ในวงจรหมายถึงอะไร ก. เป็นขวั ต่อตวั เมีย ข. เป็นขวั ต่อรวม ค. เป็นขวั ต่อตวั ผู้ ง. เป็นจดุ ตอ่ สายไฟ จ. ใหต้ ่อสายไฟได้ 2 เสน้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 70

4 . การใชง้ าน ผงั สายไฟฟ้า (EWD) ขอ้ ความใดไม่ถูกต้อง ก. สญั ลกั ษณ์ \"J2\" จะแสดงรหสั ขวั ต่อรวม ข. สีของสายไฟโดยอกั ษรตวั แรกคือสีขอบ และอกั ษรตวั ทีสองคือสีพืน ค. แต่ละขวั ต่อและสลกั จะมีรหสั และหมายเลขกาํ กบั อยู่ ง. อกั ขระอกั ษรผสมตวั เลขในสีเหลียมผนื ผา้ (BB1) จะแสดงรหสั ขวั ต่อ จ. \" วงจรระบบ\" แผนผงั จะแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งชินส่วนไฟฟ้าและสายไฟ5. อกั ษรยอ่ ทีใชใ้ นวงจรไฟฟ้า COMB หมายความวา่ อะไร ก. แบบคูเป้ ข. คอมเพลสเซอร์ ค.เซอร์กิตเบรกเกอร์ ง. หนา้ ปัด จ. อุปกรณ์อุ่นอากาศ6. ตอ้ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้า ของแบตเตอรีในรถยนต์ ตอ้ งปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นการวดั มาตาํ แหน่งใด ก. ข. ค. ง. จ.7. ตรวจสอบความต่อเนืองของวงจร ตอ้ งการใหม้ ีเสียงเตือนดงั ขึน จะตอ้ งปรบั สวติ ช์ฟังกช์ นั อยา่ งไร ก. ฟังกช์ นั MIN/MAXและเลือกโหมด SELECT ข. ฟังกช์ นั ค่าความตา้ นทาน และ เลือกโหมด SELECT ค. ฟังกช์ นั RELและเลือกโหมด SELECT ง. ฟังกช์ นั DUTY และ เลือกโหมด SELECT จ. กดป่ ุม RANGEและ เลือกโหมด SELECT งานไฟฟ้ายานยนต์ 71

8. เครืองมือทีใชว้ ดั แรงเคลือนไฟฟ้า เรียกวา่ อะไรก. โอห์มมิเตอร์ ข. แอมมิเตอร์ค. พารามิเตอร์ ง. โวลตม์ ิเตอร์จ. ไมโครมิเตอร์9. ตอ้ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้า ของแบตเตอรีในรถยนต์ ตอ้ งปรับสวติ ช์เลือกยา่ นการวดั ตาํ แหน่งใดก. 1 31 5ข. 2 2ค. 3 4ง. 4จ. 510. การใชโ้ วลตม์ ิเตอร์ตอ้ งต่อแบบใดกบั วงจรก. อนุกรมกบั วงจร ข. ผสมรวมกบั วงจรค. ขนานกบั วงจร ง. แบบใดกไ็ ด้จ. ตอ่ กบั จดุ ทีกาํ หนดไว้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 72

ใบเฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที 1 ข้อที ข้อถกู 1จ 2ก 3ค 4ข 5ง 6ก 7ข 8ง 9ค 10 ค งานไฟฟ้ายานยนต์ 73

บรรณานุกรมเกษม ประพฤติธรรม และคณะ. ไฟฟ้ายานยนต์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติง้ แอน พบั ลิชช่ิง จำกดั (มหำชน), 2529.ขนบ เพชรซอ้ น. งานไฟฟ้ายานยนต์. กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ่งเสริมอำชีวะ,ม.ป.ป.เฉลิมชยั โสมาบุตร. งานเกยี ร์อตั โนมตั ิ กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชนั่ . 2547โตโยตำ้ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกดั . (ผผู้ ลิต). คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์1NZ-FE [ซีดี]. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ำรศึกษำและฝึกอบรมโตโยตำ้ , 2547.โตโยตำ้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จำกดั . คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์ 4A-FE, 4A-GE. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ำรศึกษำและฝึกอบรมโตโยตำ้ , 2547.โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จากดั . (ผผู้ ลิต). คู่มืออบรมช่างโตโยต้า [ซีดี]. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ารศึกษาและฝึกอบรมโตโยตา้ , 2547โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จากดั . (ผผู้ ลิต). คู่มืออบรมช่างโตโยต้า [ซีดี]. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ารศึกษาและฝึกอบรมโตโยตา้ , 2550โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จากดั . (ผผู้ ลิต). คู่มืออบรมช่างโตโยต้า [ซีดี]. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ารศึกษาและฝึกอบรมโตโยตา้ , 2551โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จากดั . คู่มือการซ่อมเกยี ร์อตั โนมตั ิ รุ่น A241L A241E. กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ารศึกษาและฝึกอบรมโตโยตา้ , 2544โตโยตำ้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จำกดั . TOYOTA SOLUNA ELECTRICALWIRING DIAGRAM. ฉะเชิงเทรำ : ศูนยก์ ำรศึกษำและฝึกอบรมโตโยตำ้ , 2545.โตโยตำ้ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกดั . (ผผู้ ลิต). คู่มือการซ่อมเคร่ืองยนต์ 1 KD-FTV, 2 KD-FTV [ซีดี]. ฉะเชิงเทรำ: ศูนยก์ ำรศึกษำและฝึกอบรมโตโยตำ้ , 2547.นพดล เวชวฐิ ำน.เครื่องยนต์หัวฉีด EFI. กรุงเทพฯ: สมำคมส่งเสริมเทคโนโลย(ี ไทย-ญ่ีป่ ุน),2549.นพดล เวชวฐิ ำน.ระบบไฟฟ้ารถยนต์2. กรุงเทพฯ: สมำคมส่งเสริมเทคโนโลย(ี ไทย-ญ่ีป่ ุน),2545.นริศ สุวรรณำงกูล. งานไฟฟ้ารถยนต์. กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์, 2550.ประสำนพงษ์ หำเรือนชีพ. ทฤษฏแี ละปฏบิ ตั อิ เิ ลก็ ทรอนิกส์ยานยนต์. กรุงเทพฯ: บริษทั ซีเอด็ ยเู คชน่ั จำกดั (มหำชน), 2542. .ประสำนพงษ์ หำเรือนชีพ. ทฤษฏแี ละปฏิบตั ไิ ฟฟ้ายานยนต์. กรุงเทพฯ: บริษทั ซีเอด็ ยเู คชนั่ จำกดั (มหำชน), 2544.

ประภำส พวงชื่น. งานไฟฟ้ารถยนต์. นนทบุรี : บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย จำกดั , 2555.อำพล ซื่อตรง. งานไฟฟ้ายานยนต์. กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ่งเสริมวชิ ำกำร, 2548.อาพล ซ่ือตรง และสายนั ต์ ศรีวเิ ชียร. งานเกยี ร์อตั โนมตั ิ กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ,2547ฮอนดา้ ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บริษทั จากดั . คู่มือฝึ กอบรมเกยี ร์อตั โนมัติ กรุงเทพฯ: แผนกฝึกอบรมการบริการ ส่วนงานฝึกอบรม, 2549ฮอนดา้ ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บริษทั จากดั . คู่มือแนะนารถหลกั สูตรระบบเกยี ร์ไฟฟ้า อตั โนมัติ สาหรับพนักงานรับรถระบบใหม่ กรุงเทพฯ: แผนกฝึกอบรมการบริการ ส่วน งานฝึกอบรม, 2549ฮอนดา้ ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บริษทั จากดั . (ผผู้ ลิต). คู่มือแนะนารถหลกั สูตรระบบ เกยี ร์ไฟฟ้า อตั โนมตั ิ สาหรับพนักงานรับรถระบบใหม่ [ซีดี]. กรุงเทพฯ: แผนกฝึกอบรม การบริการ ส่วนงานฝึกอบรม, 2549ฮอนดา้ ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บริษทั จากดั . คู่มือซ่อมรถยนต์ HAT รุ่น CIVIC 2004 กรุงเทพฯ: แผนกฝึกอบรมเทคนิค ส่วนงานบริการ, 2547ฮอนดา้ ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บริษทั จากดั . คู่มือซ่อมรถยนต์ HAT รุ่น Accord 2004 กรุงเทพฯ: แผนกฝึกอบรมเทคนิค ส่วนงานบริการ, 2547

ภาคผนวกรายชื่อผู้เชี่ยวชาญ

รายช่ือผู้เชี่ยวชาญ รายนามผเู้ ช่ียวชำญ ที่ใหค้ ำปรึกษำกำรจดั ทำผลงำนทำงวชิ ำกำร เอกสำรประกอบการสอนวชิ างานไฟฟ้ายานยนต์ รหสั วชิ า 3101-2104 ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง พุทธศกั ราช 2557ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคนิคเคร่ืองกล ประกอบดว้ ย 1. นายโอภาส วงษเ์ กษมศิริ ตาแหน่ง ครูเชี่ยวชาญ สาขาเทคนิคเครื่องกล สถานที่ทางาน วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี 2. นายพิพฒั น์ จนั ทร์ประสพพร ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ สาขาเทคนิคเคร่ืองกล สถานท่ีทางาน วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี 3. นายวรพจน์ ตรีรัตนฤดี ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ สาขาเทคนิคเคร่ืองกล สถานที่ทางาน วทิ ยาลยั เทคนิคตราด 4. นายวโิ รจน์ บวั พนั ธุ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ สาขาเทคนิคเคร่ืองกล สถานที่ทางาน วทิ ยาลยั เทคนิคตราด 5. นายบารุง วรรณไทย ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ สาขาเทคนิคเครื่องกล สถานที่ทางาน วทิ ยาลยั เทคนิคพิษณุโลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook