Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

ไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

Published by ตฤณ บำรุงสวน, 2018-07-21 02:52:36

Description: เอกสารประกอบการสอนรายวิชาไฟฟ้ายานยนต์ หน่วยที่1 ตฤณ วท.จบ.

Keywords: เอกสารประกอบการสอน,ไฟฟ้ายานยนต์,พื้นฐานไฟฟ้ารถยนต์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวชิ า 3101-2104 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง พทุ ธศักราช 2557 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม หน่วยที่ 1 พืน้ ฐานไฟฟ้ารถยนต์ โดย นายตฤณ บารุงสวนสาขาวชิ าเทคนิคเครื่องกล วทิ ยาลยั เทคนิคจันทบุรีสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารประกอบการสอน วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวชิ า 3101-2104 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม หน่วยท่ี 1 พืน้ ฐานไฟฟ้ารถยนต์ นายตฤณ บารุงสวน ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ สาขาวชิ าเทคนิคเคร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคจันทบุรีสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ นํา เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหสั วชิ า 3101-2104 ฉบบั นีจดั ทาํ ขึนตามหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั สูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2557 โดยแบ่งเนือหาออกเป็น 9หน่วย แต่ละหน่วยไดอ้ อกแบบกระบวนการเรียนเพือพฒั นากาํ ลงั คนระดบั เทคนิคใหม้ ีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ สามารถประกอบอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คมแห่งชาติและแผนการศึกษาของชาติ ในดา้ นการจดั การเรียนการสอนม่งุ เนน้ ใหม้ ีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรูเ้ ตม็ ภมู ิ ปฏิบตั ิไดจ้ ริงมีความเป็นผนู้ าํ และสามารถทาํ งานร่วมกนั เป็นหม่คู ณะไดด้ ี ดงั นนั จึงจดั ทาํ เอกสารประกอบการสอนเพือสนบั สนุนกระบวนการจดั การเรียนการสอนใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพ การดาํ เนินการในครังนี ขา้ พเจา้ ไดท้ าํ การศึกษาและวิเคราะห์หลกั สูตรทงั ดา้ นหลกั การจุดมุ่งหมาย วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร ระเบียบการจดั การศึกษา การวดั ผลทีเนน้ การประเมนิ สภาพจริง การใชเ้ ทคโนโลยีใหม่ๆทีมีความเหมาะสมกับสภาพผูเ้ รียน แลว้ ทาํ การวิเคราะห์คาํ อธิบายรายวิชา จุดประสงคร์ ายวชิ า และสมรรถนะรายวิชา ทาํ ใหท้ ราบเนือหาทีตอ้ งเรียนรู้ ตอ้ งปฏิบตั ิ และเจตคติทีตอ้ งการให้เกิดขึนกบั ผูเ้ รียน จากนนั ก็จะกาํ หนดหน่วยการเรียนรู้ ศึกษาสภาพของวสั ดุอุปกรณ์และชุดฝึ ก ทีจะใชใ้ นการเรียนการสอน ซึงจะทาํ ให้สามารถออกแบบกิจกรรมทีมีความเหมาะสม และหาวธิ ีการแกป้ ัญหาในการจดั การเรียนการสอน ศึกษาสภาพสือการสอน เอกสารและตาํ รา ใบงานและสืออืนๆ รวมทงั สถานที ทีจะใชส้ ือการสอน ทาํ ใหท้ ราบความพร้อมและเตรียมหาแนวทางแกไ้ ข ศึกษาเทคนิคการสอน การวดั ผลและประเมินผลทีจะทาํ ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนบรรลุวตั ถุประสงคท์ ีกาํ หนดไว้ รวมถึงศึกษาศกั ยภาพและประสบการณ์ของผูเ้ รียน ทีเกียวเนืองกบัวชิ าทีสอน ซึงจะทาํ ใหไ้ ดข้ อ้ มูล ในการจดั ทาํ แผนการเรียนรู้ไดด้ ียงิ ขึน การดาํ เนินการในครังนี สําเร็จลุล่วงเป็ นอย่างดี เนืองจากไดร้ ับการสนบั สนุนดว้ ยดีจากคณะผูบ้ ริหาร เพือนร่วมงาน และนักเรียน-นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคนิคเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี โดยเฉพาะอย่างยิง คือ ผูเ้ ชียวชาญ ทงั 5 ท่าน ทีใหค้ าํ แนะนาํ รูปแบบการจดั ทาํ เอกสารจนสาํ เร็จ ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคุณทุกๆ ทา่ นเป็นอยา่ งสูง มา ณ โอกาสนี นายตฤณ บาํ รุงสวน ผจู้ ดั ทาํ

สารบญัคาํ นาํ หน้า กสารบญั ขคาํ แนะนาํ การใชเ้ อกสารประกอบการสอน 1รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า 6โครงการสอนรายวชิ า 25เอกสารประกอบการสอนหน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ารถยนต์ แผนการจดั การเรียนรู้ 28 แบบทดสอบก่อนเรียน 28 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 33 36 ใบเนือหา 37 57 แบบฝึ กหดั 59 เฉลยแบบฝึ กหดั 61 65 ใบงานที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ารถยนต์ 67 ใบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ใบงานที 1 พืนฐานไฟฟ้ารถยนต์ 69 แบบประเมินผลทกั ษะการปฏิบตั ิงานหน่วยที 1 พืนฐานไฟฟ้ารถยนต์ 70 แบบสงั เกตพฤติกรรม คุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ คุณธรรมและจริยธรรมหน่วยที 1 73 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 74 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 75 บรรณานุกรม ภาคผนวก

คาํ แนะนําการใช้เอกสารประกอบการสอน วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหสั วชิ า 3101-2104 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชันสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาเทคนิคเครืองกล สาขางานเทคนิคยานยนต์ เอกสารประกอบการสอน วชิ างานไฟฟ้ายานยนต์ (รหสั 3101-2104) หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั สูง พทุ ธศกั ราช 2557 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าเทคนิคเครืองกลสาขางานเทคนิคยานยนตน์ ี เนือหาวชิ ามีทงั หมด 9 หน่วย โดยจดั ทาํ แยกออกเป็นหน่วย ๆละ 1 เล่ม เพอืสะดวกในการใชง้ าน1. ส่วนประกอบเอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอนวิชางานไฟฟ้ายานยนต์ (รหสั 3101-2104) สาํ หรับครูเล่มนี ใช้ประกอบการเรียนการสอนกบั นกั ศึกษาในหอ้ งเรียน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้นกั เรียนตอ้ งร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนไปพร้อมๆกนั โดยมีส่วนประกอบดงั นี 1.1 รายละเอยี ดหลกั สูตรรายวชิ า ไดแ้ ก่ หลกั สูตร ประเภทวชิ า รหสั วชิ า ชือวชิ า จาํ นวนทฤษฎีปฏิบตั ิ และหน่วยกิจ จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา คาํ อธิบายรายวชิ า การวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวิชาและโครงการสอนรายวชิ า 1.2 หน่วยการสอนและเวลาทีใชใ้ นการจดั การเรียนรู้โดยวิเคราะหเ์ นือหา จากคาํ อธิบายรายวชิ าสามารถแบง่ เนือหารายวชิ าได้ 9 หน่วย ดงั นี 1.2.1 หน่วยที 1 พืนฐานงานไฟฟ้ายานยนต์ 1.2.2 หน่วยที 2 ระบบจุดระเบิดแบบใชห้ นา้ ทองขาว 1.2.3 หน่วยที 3 ระบบจุดระเบิดแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 1.2.4 หน่วยที 4 ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา 1.2.5 หน่วยที 5 ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกเู รเตอร์ 1.2.6 หน่วยที 6 ระบบไฟแสงสวา่ งและสญั ญาณไฟเตือน 1.2.7 หน่วยที 7 อุปกรณอ์ าํ นวยความสะดวก 1.2.8 หน่วยที 8 ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง 1.2.9 หน่วยที 9 ระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 1

เอกสารประกอบการสอนวชิ างานไฟฟ้ายานยนต์ (รหสั 3101-2104) มีส่วนประกอบดงั นี 1. รายละเอยี ดหลกั สูตรรายวชิ า 2. โครงการสอนรายวิชา 3. เอกสารประกอบการสอนแต่ละหน่วย ประกอบดว้ ย 3.1 แผนการจดั การเรียนรู้ 3.2 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.3 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 3.4 ใบความรู้ 3.5 แบบฝึ กหดั 3.6 เฉลยแบบฝึ กหดั 3.7 ใบงาน 3.8 แบบบนั ทึกการปฏิบตั ิงาน 3.9 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงาน 3.10 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนปฏิบตั ิงาน 3.11 แบบสงั เกตพฤติกรรม คุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ 3.12 แบบทดสอบหลงั เรียน 3.13 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 4. บรรณานุกรม 5. ภาคผนวก2. คาํ ชีแจงสําหรับผู้สอน 2.1 ครูศึกษาเนือหาวชิ าและแผนการจดั การเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นทาํ การสอน และตอ้ งเตรียมวสั ดุ อุปกรณต์ ่าง ๆ เพอื ใชใ้ นการเรียนการสอนตามทีระบุไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรูแ้ ต่ละหน่วย การเรียน 2.2 ครูตอ้ งดาํ เนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ครบทุกหน่วยการเรียน 2.3 การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน แบ่งออกเป็นขนั ตอนดงั นี ขนั ที ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ขนั ที 2 นาํ เขา้ สู่บทเรียน (Motivation) ขนั ที 3 ใหเ้ นือหา (Information) ขนั ที 4 ประกอบกิจกรรมการเรียน (Application) ขนั ที 5 สรุปผล (Progress) ขนั ที 6 ทดสอบหลงั เรียน (Post-test) งานไฟฟ้ายานยนต์ 2

โดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผสู้ อนจะตอ้ งมที กั ษะและความชาํ นาญในการอภิปรายใหน้ กั ศึกษาเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล 2.4 การสรุปบทเรียน เป็นกิจกรรมร่วมระหวา่ งครูกบั นกั ศึกษาหรือจะเป็นกิจกรรม นกั ศึกษา ทงั หมดก็ได้ 2.5 หลงั จากเรียนครบหวั ขอ้ เรืองในแตล่ ะหน่วยการเรียนแลว้ ใหน้ กั ศึกษาทาํ แบบฝึ กหดั ปฏิบตั ิงาน ตามใบงาน และทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 2.6 หลงั จากนกั ศึกษา เรียนจนครบทุกหน่วยเรียนแลว้ ครูจะตอ้ งเก็บขอ้ มลู ผลการเรียน จดั ทาํ ประวตั ิการเรียนของนกั ศึกษา เพือดูการเปลียนแปลง พฤติกรรมและ ความกา้ วหนา้ ของ นกั ศึกษา3. บทบาทของนักศึกษา เนืองจากเอกสารประกอบการสอนวชิ านี เป็นเอกสารสาํ หรบั ครูผสู้ อนเป็ นผดู้ าํ เนินการ โดยใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ิกิจกรรมตามบทบาทผูเ้ รียน ดงั นี 3.1 นกั ศึกษาตอ้ งปฏิบตั ิกิจกรรมคาํ แนะนาํ ของคุณครูอย่างเคร่งครดั 3.2 นกั ศึกษาตอ้ งพยายามทาํ แบบฝึ กหดั ฝึ กปฏิบตั ิขณะเรียน ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนอยา่ งเต็ม ความสามารถ 3.3 นกั ศึกษาจะตอ้ งสรุป และปฏิบตั ิงานตามทีครูมอบหมายในการเรียนดว้ ยความตงั ใจและตอ้ ง มีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ทีการเรียน4. การจดั ชันเรียน ใชก้ ารจดั ชนั เรียนตามปกติ สาํ หรับการสอนภาคทฤษฎี โดยจดั การเรียนการสอนแบบบรรยายหรือถามตอบ สภาพการจดั ชนั เรียนตอ้ งจดั ให้เหมาะสม สามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแก่นกั ศึกษาอยา่ งทวั ถึง ส่วนการสอนภาคปฏิบตั ิจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการใหน้ กั ศึกษาฝึกปฏิบตั ิตามกิจกรรมทีเสนอไวใ้ นแผนการเรียนรู้ เพือใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ ผา่ นเกณฑต์ ามใบประเมินผล 5. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธีวดั ผลและประเมินผล 5.1.1 นกั ศึกษาทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนเพอื ประเมินพืนความรู้ของผูเ้ รียน 5.1.2 นกั ศึกษาตอ้ งทาํ แบบฝึ กหัดหลงั จากศึกษาเนือหาในบทเรียนนนั ๆ 5.1.3 การดาํ เนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผสู้ อนจะวดั ผลและประเมินผลดา้ นทฤษฎีดว้ ย แบบทดสอบหลงั เรียน หลงั จากทีผเู้ รียนไดผ้ า่ นการปฏิบตั ิงานตามใบงาน 5.1.4 ผสู้ อนประเมินผลดา้ นเจตคติและคุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ ในขณะเรียน 5.2 นกั ศึกษาตอ้ งมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ 80% ของเวลาเรียนทงั หมด งานไฟฟ้ายานยนต์ 3

5.3 เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล แบ่งคะแนนออกเป็น 3 กลุม่ คือ5.3.1 คะแนนความตงั ใจและกิจนิสัย (คะแนนคุณธรรม-จริยธรรม) 2 คะแนน5.3.2 คะแนนทดสอบระหวา่ งเรียน 50 คะแนน แบ่งออกดงั นี5.3.2.1 คะแนนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที1-95.3.2.1 คะแนนประเมินผลทกั ษะปฏิบตั ิงานหน่วยที1-9 2 คะแนน 20 คะแนน5.3.2.3 คะแนนแบบฝึ กหดั หน่วยที1-9 1 คะแนน5.3.3 คะแนนสอบปลายภาค 3 คะแนน รวมทงั หมด 100 คะแนนหมายเหตุ คะแนนการทดสอบก่อนเรียนไม่นํามาพิจารณาค่าระดับคะแนนแต่นําไปใช้เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิทางการเรียนก่อนและหลงั ใชเ้ อกสารประกอบการสอน5.4 เกณฑก์ ารประเมินผลแบ่งออกเป็น 8 ระดบัใชเ้ กณฑก์ ารประเมินแบบอิงเกณฑ์ มีระดบั ดงั นี80 – 100 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 475 – 79 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 3.570 – 74 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 365 – 69 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 2.560 – 64 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 255 – 59 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 1.550 – 54 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 10 – 49 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 0 งานไฟฟ้ายานยนต์ 4

ใบสรุปผลคะแนนชือวชิ างานไฟฟ้ายานยนต์ รหสั วิชา 3101-2104 แผนกวชิ าเครืองกลระดบั ชนั ............................กลุ่ม...........ภาคเรียนที ....... ปี การศึกษา .........ลาํ ดบั ชือ-สกลุ คะแนนการทดสอบหน่วยที1-9 ที คะแนน รวม ุคณธรรม จ ิรยธรรม ทดสอบหลังเ ีรยน การป ิฏบั ิตงาน แบบ ึฝกหัด สอบปลายภาค 20 20 20 10 30 100 งานไฟฟ้ายานยนต์ 5

รายละเอยี ดหลกั สูตรรายวชิ า1. ชือวชิ าและรหัส งานไฟฟ้ายานยนต์ (3101-2104)2. ลกั ษณะรายวิชา หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั สูง (ปวส.) พ.ศ. 2557 สาขาวชิ าเทคนิคเครืองกล สาขางานเทคนิคยานยนต์3. จํานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต4. เวลาศึกษา เรียนตลอด 18 สัปดาห์ จาํ นวน 7 ชวั โมง/สัปดาห์ (รวม 126 ชวั โมง)5. จุดประสงค์รายวชิ า เพือให้5.1 เขา้ ใจหลกั การทาํ งานและตรวจสอบแกไ้ ขระบบไฟฟ้ายานยนต์5.2 สามารถใชเ้ ครืองมือ ตรวจวิเคราะห์ ซ่อมและปรบั แต่ง ขอ้ ขดั ขอ้ งของอปุ กรณ์ ในระบบ ไฟฟ้ายานยนต์5.3 กิจนิสยั ทีดี ในการสืบเสาะหาความรู้ ในการทาํ งานปฏิบตั ิงาน ดว้ ยความประณีต รอบคอบ ประหยดั มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลาตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในการทาํ งานและ รกั ษาสิงแวดลอ้ ม6. สมรรถนะรายวิชา6.1 แสดงความรู้เกียวกบั หลกั การทาํ งานและตรวจสอบแกไ้ ขระบบไฟฟ้ายานยนต์6.2 แสดงความรู้เกียวกบั การการใชเ้ ครืองมือตรวจวิเคราะหซ์ ่อมและปรับแต่งขอ้ ขดั ขอ้ งของ อุปกรณ์ในระบบไฟฟ้ายานยนต์6.3 ซ่อมและปรับแต่งขอ้ ขดั ขอ้ งของอปุ กรณ์ในระบบไฟฟ้ายานยนตต์ ามคู่มือ7. คาํ อธิบายรายวชิ าศึกษาและปฏิบตั ิเกียวกบั การใชเ้ ครืองมือวดั เพือ ทดสอบ วิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ งและซ่อมในระบบจุดระเบดิ ระบบประจุไฟ ระบบแสงสวา่ งและสญั ญาณยานยนตส์ มยั ใหมอ่ ุปกรณ์อาํ นวยความสะดวก ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง ระบบควบคมุ การส่งกาํ ลงั เครืองยนต์8. เนือหา8.1 ศึกษาและปฏิบตั ิงานเกียวกบั การใชเ้ ครืองมือวดั และทดสอบระบบไฟฟ้ายานยนต์8.2 หลกั การทาํ งานของระบบไฟฟ้ายานยนต์8.3 ตรวจสอบและวิเคราะห์เปลียนชินส่วนงานไฟฟ้ายานยนต์ตามคู่มือ8.4 การบริการระบบไฟฟ้ายานยนต์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 6

9. การวเิ คราะห์เนือหาจากคาํ อธิบายรายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และจุดประสงค์รายวิชา ความรู้ ความเข้าใจ คุณลกั ษณะทพี ึงประสงค์ ทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน (Knowledge) คณุ ธรรม จริยธรรม กระบวนการ(Process) 50 คะแนน (Attitude) 20 คะแนน 30 คะแนนศึกษาและปฏิบตั ิเกียวกบั มีเจตคติและกิจนิสยั ทีดีในหลกั การทาํ งานและตรวจสอบ การศึกษาคน้ ควา้ ปฏิบตั ิงาน มีทกั ษะการใชเ้ ครืองมือตรวจแกไ้ ข ระบบ ไฟฟ้ายานยนต์ เพือใหเ้ กิดทกั ษะดว้ ยความ วิเคราะห์ แกไ้ ข ปรบั แต่ง( หน่วยที 1, 2, 3 ,4, 5, 6, 7, รับผิดชอบและสรา้ งสรรค์ ขอ้ ขดั ขอ้ งของอุปกรณ์ใน 8, 9) ระบบไฟฟ้ายานยนต์ สนใจ ใฝ่ รู้ ซือสตั ย์ มีวนิ ยั ปลอดภยั และตรงต่อเวลา การบริการระบบไฟฟ้ายาน ( หน่วยที 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, ยนตต์ ามคู่มอื ซ่อม 8, 9 ) ( หน่วยที 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9) งานไฟฟ้ายานยนต์ 7

10. การวเิ คราะห์หน่วยการสอนและเวลาทีใช้ในการจัดการเรียนรู้ วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวิชา 3101-2104 ทฤษฎี 1 ชัวโมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ 6 ชัวโมง/สัปดาห์ จํานวน 3 หน่วยกิตหน่วยที ชือหน่วยการเรียน สัปดาห์ที จํานวนชัวโมงสอน 1 71 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ 2 7 3-4 142 ระบบจุดระเบิดแบบใชห้ นา้ ทองขาว 5 7 6-7 143 ระบบจุดระเบิดแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 8-10 21 214 ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา 11-13 21 14-16 75 ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกเู รเตอร์ 17 7 18 1266 ระบบไฟแสงสวา่ งและสญั ญาณไฟเตือน 187 อุปกรณ์อาํ นวยความสะดวก8 ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิงดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์9 ระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ วดั ผลและประเมินผลปลายภาคเรียน รวม งานไฟฟ้ายานยนต์ 8

11. การวเิ คราะห์หน่วยการสอน หัวข้อการเรียนรู้และเวลาจัดการเรียนรู้วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวชิ า 3101-2104ทฤษฎี 1 ชัวโมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ 6 ชัวโมง/สัปดาห์ จาํ นวน 3 หน่วยกติหน่วยที เนือหาการเรียนรู้ เวลาเรียน จํานวน สัปดาห์ ทฤษฏี ปฏิบตั ิ (ชม.) การสอน1 1. พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ 16 71 1.1 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ 1.2 เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า2 2. ระบบจุดระเบิดแบบใช้หน้าทองขาว 1 67 2 2.1 ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิด 12 14 3-4 2.2 หนา้ ทีของระบบจุดระเบิด 2.3 การทาํ งานของจดุ ระเบิด 2.4 การตรวจวิเคราะห์ปัญหาระบบ จุดระเบิด3 3. ระบบจุดระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2 3.1 ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดแบบ อิเล็กทรอนิกส์ 3.2 เครืองกาํ เนิดสญั ญาณ 3.3 ตวั ช่วยจุดระเบิด 3.4 หลกั การทาํ งานของระบบจดุ ระเบิด อิเลก็ ทรอนิกส์แบบใชจ้ านจ่าย 3.5 หลกั การทาํ งานของระบบจุดระเบิด อิเล็กทรอนิกส์แบบไมใ่ ชจ้ านจ่าย 3.6 การตรวจสอบและวิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ ง ระบบจุดระเบิดแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 9

หน่วยที เนือหาการเรียนรู้ เวลาเรียน จาํ นวน สัปดาห์ (ชม.) การสอน4 4. ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา ทฤษฏี ปฏิบตั ิ 4.1 ส่วนประกอบของระบบประจุไฟฟ้า 16 75 4.2 หนา้ ทีของระบบประจุไฟฟ้า 4.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้า 4.4 การตรวจวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ระบบประจุไฟฟ้า5 5. ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกเู รเตอร์ 2 12 14 6-7 5.1 ส่วนประกอบของประจุไฟฟ้าแบบ ไอซีเรกูเรเตอร์ 5.2 หลกั การทาํ งานของไอซีเรกเู รเตอร์ 5.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้าแบบ ไอซีเรกูเรเตอร์ 5.4 การบริการตรวจสอบวิเคราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ งระบบประจุไฟแบบ ไอซีเรกเู รเตอร์6 6. ระบบไฟแสงสว่างและสัญญาณไฟเตือน 3 18 21 8-10 6.1 ส่วนประกอบของระบบไฟแสงสว่าง และ สัญญาณไฟเตือน 6.2 การทาํ งานของระบบไฟ แสงสวา่ ง และสญั ญาณไฟเตือน 6.3 การตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ ง ระบบไฟแสงสวา่ งและสญั ญาณ ไฟเตือน 6.4 การบริการระบบไฟแสงสวา่ งและ สญั ญาณไฟเตือน งานไฟฟ้ายานยนต์ 10

หน่วยที เนือหาการเรียนรู้ เวลาเรียน จาํ นวน สัปดาห์ ทฤษฏี ปฏิบัติ (ชม.) การสอน7 7. อุปกรณ์อาํ นวยความสะดวก 3 18 21 11-13 7.1 ส่วนประกอบของระบบปัดนาํ ฝนและ ฉีดนาํ ลา้ งกระจก 7.2 การทาํ งานของระบบปัดนาํ ฝนและ ฉีดนาํ ลา้ งกระจก 7.3 ส่วนประกอบของระบบกระจกไฟฟ้า และ กระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.4 การทาํ งานของระบบกระจกไฟฟ้า และ กระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.5 ส่วนประกอบระบบควบคุมการลอ็ ค ประตูและกนั ขโมยรถยนต์ 7.6 การทาํ งานของระบบควบคุมการล็อค ประตูและกนั ขโมยรถยนต์ 7.7 การตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ งของ อุปกรณ์อาํ นวยความสะดวก8 8.ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลงิ ด้วย 3 18 21 14-16 อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 8.1 ส่วนประกอบของระบบควบคุมการ ฉีดเชือเพลิงเครืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 8.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุมการ ฉีดเชือเพลิงเครืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 8.3 การตรวจสอบวเิ คราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ งของ ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง 8.4 การบริการระบบควบคุมการฉีด เชือเพลิง งานไฟฟ้ายานยนต์ 11

หน่วยที เนือหาการเรียนรู้ เวลาเรียน จํานวน สัปดาห์ (ชม.) การสอน9 9. ระบบควบคุมการส่งกาํ ลังเครืองยนต์ ทฤษฏี ปฏิบตั ิ 9.1 โครงสร้างของระบบควบคุมการส่ง 16 7 17 กาํ ลงั เครืองยนต์ 9.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุมการ ส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.3 การตรวจสอบวเิ คราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ ง ของ ระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.4 การบริการระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ สอบปลายภาค 1 6 7 18 ครอบคลุมจุดประสงค์ทุกดา้ นของหน่วย การเรียนที 1-9 งานไฟฟ้ายานยนต์ 12

12. ตารางการเรียนรู้ของผ้เู รียนตามมาตรฐานรายวิชาหน่วยที ชือหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวชิ า 1 2 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ สมรรถนะที 1 3 ระบบจุดระเบิดแบบหนา้ ทองขาว แสดงความรู้เกียวกบั หลกั การทาํ งาน 4 ระบบจุดระเบิดแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 5 และตรวจสอบแกไ้ ขระบบไฟฟ้ายาน 6 ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา ยนต์ 7 ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกูเรเตอร์ สมรรถนะที 2 8 ระบบไฟแสงสวา่ งและสัญญาณไฟเตือน อุปกรณอ์ าํ นวยความสะดวก แสดงความรู้เกียวกบั การการใช้ 9 ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิงดว้ ย เครืองมือตรวจวเิ คราะห์ซ่อมและ อิเลก็ ทรอนิกส์ ปรับแต่งขอ้ ขดั ขอ้ งของอปุ กรณ์ใน ระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ ระบบไฟฟ้ายานยนต์ สมรรถนะที 3 ซ่อมและปรับแต่งขอ้ ขดั ขอ้ งของ อุปกรณ์ในระบบไฟฟ้ายานยนตต์ าม คู่มือ งานไฟฟ้ายานยนต์ 13

13. การวเิ คราะห์เนือหาทีมาของหน่วยการสอน หน่วยกิต 3ชือรายวชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ ระดบั ชนั ปวส. 2ชือหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั สูง (ปวส.) ทีมา หน่วยการสอน 12345 1. พืนฐานงานไฟฟ้ายานยนต์  2. ระบบจุดระเบิดแบบใช้หน้าทองขาว  3. ระบบจุดระเบิดแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์  4. ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  5. ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกูเรเตอร์ 6. ระบบไฟแสงสว่างและสัญญาณไฟเตือน  7. อุปกรณ์อํานวยความสะดวก  8. ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลงิ ด้วยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์  9. ระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์  ทีมา 1: คาํ อธิบายรายวิชา 2: ตาํ รา 3: ประสบการณ์ผสู้ อน 4: ผเู้ ชียวชาญ 5: สิงพิมพ์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 14

14. การวเิ คราะห์เนือหาทีมาของเนือหา หน่วยกิต 3ชือรายวชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ ระดบั ชนั ปวส. 2ชือหลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั สูง (ปวส.) หน่วยการสอน ทีมา 123451. พืนฐานงานไฟฟ้ายานยนต์ 1.1 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (Electrical Wiring Diagram)   1.2 เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า 2. ระบบจุดระเบิดแบบใช้หน้าทองขาว 2.1 ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิด  2.2 หนา้ ทีของระบบจุดระเบิด  2.3 การทาํ งานของจุดระเบิด  2.4 การตรวจวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบ 3. ระบบจุดระเบิดแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์  3.1ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดแบบ อิเลก็ ทรอนิกส์  3.2 เครืองกาํ เนิดสัญญาณ  3.3 ตวั ช่วยจุดระเบิด  3.4 หลกั การทาํ งานของระบบจุดระเบิด อิเลก็ ทรอนิกส์แบบใช้ จานจ่าย  3.5 หลกั การทาํ งานของระบบจุดระเบิดอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบไม่ใช้ จานจ่ายทีมา 1: คาํ อธิบายรายวิชา 2: ตาํ รา 3: ประสบการณ์ผสู้ อน 4: ผเู้ ชียวชาญ 5: สิงพิมพ์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 15

หวั ขอ้ ทีมา 12345 3.6 การตรวจสอบและวิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ งระบบจดุ ระเบิดแบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ 4. ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  4.1 ส่วนประกอบของระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  4.2 หนา้ ทีของระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  4.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  4.4 การตรวจวเิ คราะหป์ ัญหาระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา 5. ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกูเรเตอร์  5.1ส่วนประกอบของประจุไฟฟ้าแบบไอซี เรกเู รเตอร์  5.2 หลกั การทาํ งานของไอซีเรกเู รเตอร์  5.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกูเรเตอร์ 5.4 การบริการตรวจสอบวเิ คราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ งระบบ ประจุไฟฟ้าแบบ ไอซีเรกเู รเตอร์ทีมา 1: คาํ อธิบายรายวิชา 2: ตาํ รา 3: ประสบการณ์ผสู้ อน 4: ผเู้ ชียวชาญ 5: สิงพิมพ์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 16

หวั ขอ้ ทีมา 123456. ระบบไฟแสงสว่างและสัญญาณไฟเตือน6.1 ส่วนประกอบของระบบไฟแสงสวา่ งและสญั ญาณไฟเตือน 6.2 การทาํ งานของระบบไฟ แสงสวา่ งและสญั ญาณไฟเตือน 6.3 การตรวจสอบวิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ ง ระบบไฟ แสงสวา่ ง และ สญั ญาณไฟเตือน6.4 การบริการระบบไฟแสงสวา่ งและสญั ญาณไฟเตือน 7. อปุ กรณ์อาํ นวยความสะดวก7.1 ส่วนประกอบของระบบปัดนาํ ฝนและฉีด นาํ ลา้ งกระจก 7.2 การทาํ งานของระบบปัดนาํ ฝนและฉีดนาํ ลา้ งกระจก 7.3 ส่วนประกอบของระบบกระจกไฟฟ้าและกระจกไฟฟ้ามองขา้ ง     7.4 การทาํ งานของระบบกระจกไฟฟ้า และกระจกไฟฟ้ามองขา้ ง     7.5 ส่วนประกอบระบบควบคุมการลอ็ คประตูและกนั ขโมยรถยนต์     7.6 การทาํ งานของระบบควบคุมการล็อคประตแู ละกนั ขโมยรถยนต์     7.7 การตรวจสอบวเิ คราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ งอปุ กรณอ์ าํ นวยความสะดวก     8. ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิงด้วยอเิ ลก็ ทรอนิกส์8.1 ส่วนประกอบของระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิงเครืองยนต์     8.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง 8.3 การตรวจสอบวิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ งของระบบควบคุมการ ฉีดเชือเพลิง8.4 การบริการระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง ทีมา 1: คาํ อธิบายรายวิชา 2: ตาํ รา 3: ประสบการณ์ 4: ผเู้ ชียวชาญ 5: สิงพมิ พ์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 17

หวั ขอ้ ทีมา 123459. ระบบควบคุมการส่งกาํ ลังเครืองยนต์9.1 โครงสร้างของระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.3 การตรวจสอบวิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ ง ของระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั     เครืองยนต์9.4 การบริการระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ ทีมา 1: คาํ อธิบายรายวิชา 2: ตาํ รา 3: ประสบการณ์ 4: ผเู้ ชียวชาญ 5: สิงพมิ พ์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 18

15. ตารางวิเคราะห์จดุ ประสงค์การเรียนรู้วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวชิ า 3101-2104 7 ชัวโมง/สัปดาห์หน่วย ระดบั พฤติกรรมทีตอ้ งการ จาํ นวน ที คาบ ชือหน่วยการเรียน/หวั ขอ้ ยอ่ ย พทุ ธิพิสยั ทกั ษะ จิตพิสยั พสิ ยั 123412121 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์   7 1.1 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์   1.2 เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า  72 ระบบจดุ ระเบิดแบบใช้หน้าทองขาว  2.1 ส่วนประกอบของระบบจดุ ระเบิด  2.2 หนา้ ทีของระบบจดุ ระเบิด  2.3 การทาํ งานของจุดระเบิด 2.4 การตรวจวเิ คราะหป์ ัญหาระบบ  จุดระเบิด 3 ระบบจุดระเบิดแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์  3.1 ส่วนประกอบของระบบจดุ ระเบิด  แบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ 3.2 เครืองกาํ เนิดสญั ญาณ 14 3.3 ตวั ช่วยจุดระเบิด 3.4 หลกั การทาํ งานของระบบ  จุดระเบิดอิเลก็ ทรอนิกส์แบบใช้ จานจ่าย  3.5 หลกั การทาํ งานของระบบจุด ระเบิดอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบไมใ่ ช้ จานจ่าย 3.6 การตรวจสอบและวิเคราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ งระบบจุดระเบิดแบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 19

หน่วย ระดบั พฤติกรรมทีตอ้ งการ จาํ นวน ที คาบ ชือหน่วยการเรียน/หวั ขอ้ ยอ่ ย พทุ ธิพิสยั ทกั ษะ จิตพิสยั พสิ ยั 7 14 12341212 214 ระบบประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา  4.1 ส่วนประกอบของระบบประจุ ไฟฟ้า  4.2 หนา้ ทีของระบบประจุไฟฟ้า  4.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้า  4.4 การตรวจวเิ คราะห์สภาพปัญหา ระบบประจุไฟฟ้า  5 ระบบประจุไฟฟ้าแบบไอซีเรกเู รเตอร์  5.1 ส่วนประกอบของประจุไฟฟ้า  แบบไอซีเรกูเรเตอร์ 5.2 หลกั การทาํ งานของไอซีเรกูเรเตอร์  5.3 การทาํ งานของระบบประจุไฟฟ้า  แบบไอซีเรกเู รเตอร์  5.4 การบริการตรวจสอบวเิ คราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ งระบบประจไุ ฟแบบ ไอซีเรกเู รเตอร์6 ระบบไฟแสงสว่างและสัญญาณ ไฟเตือน 6.1 ส่วนประกอบของระบบไฟ แสงสวา่ ง และ สญั ญาณไฟเตือน 6.2 การทาํ งานของระบบไฟแสงสวา่ ง และสญั ญาณไฟเตือน 6.3 การตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ ง ระบบไฟแสงสวา่ ง และสญั ญาณ ไฟเตือน งานไฟฟ้ายานยนต์ 20

หน่วย ระดบั พฤติกรรมทีตอ้ งการ จาํ นวน ที คาบ ชือหน่วยการเรียน/หวั ขอ้ ยอ่ ย พทุ ธิพิสยั ทกั ษะ จิตพิสยั พสิ ัย 21 12341212 6.4 การบริการระบบไฟแสงสวา่ ง  และสญั ญาณไฟเตือน 7 อปุ กรณ์อํานวยความสะดวก  7.1 ส่วนประกอบของระบบปัดนาํ ฝน  และฉีดนาํ ลา้ งกระจก  7.2 การทาํ งานของระบบปัดนาํ ฝนและ   ฉีดนาํ ลา้ งกระจก  7.3 ส่วนประกอบของระบบกระจก ไฟฟ้าและ กระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.4 การทาํ งานของระบบกระจกไฟฟ้า และกระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.5 ส่วนประกอบระบบควบคุมการ ลอ็ คประตูและกนั ขโมยรถยนต์ 7.6 การทาํ งานของระบบควบคุมการ ลอ็ คประตแู ละกนั ขโมยรถยนต์ 7.7 การตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ ง ของอปุ กรณ์อาํ นวยความสะดวก8 ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลงิ ด้วย อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 8.1 ส่วนประกอบของระบบควบคุมการ         ฉีดเชือเพลิงเครืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 8.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุม         21 การฉีดเชือเพลิงเครืองยนต์ แก๊สโซลีน งานไฟฟ้ายานยนต์ 21

หน่วย ระดบั พฤติกรรมทีตอ้ งการ จาํ นวน ที คาบ ชือหน่วยการเรียน/หวั ขอ้ ยอ่ ย พทุ ธิพิสยั ทกั ษะ จิตพสิ ยั พสิ ยั 7 7 12341212 8.3 การตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ ง  ของ ระบบควบคุมการฉีดเชือเพลิง  8.4 การบริการระบบควบคุมการฉีด เชือเพลิง  9 ระบบควบคมุ การส่งกาํ ลังเครืองยนต์  9.1 โครงสร้างของระบบควบคุมการ ส่งกาํ ลงั เครืองยนต์  9.2 หลกั การทาํ งานของระบบควบคุม การส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.3 การตรวจสอบวเิ คราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ ง ของระบบควบคุมการส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 9.4 การบริการระบบควบคุมการ ส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ สอบปลายภาค ครอบคลุมจุดประสงคท์ ุกดา้ นของ หน่วยการเรียนที 1-9หมายเหตุ 1 = ความรู้ความจาํ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาํ ไปใช้ 4 = สูงกวา่ พทุ ธิพสิ ัย 1 = การทาํ ตามแบบ 2 = การทาํ ถูกตอ้ งแม่นยาํ ทกั ษะพสิ ัย 1 = การประเมินคุณค่า 2 = การจดั ระบบ จิตพสิ ัย งานไฟฟ้ายานยนต์ 22

16. ตารางวเิ คราะห์ข้อสอบแบบทดสอบก่อนเรียน, หลงั เรียนตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ และข้อสอบปลายภาคหน่วยที ชือหน่วย นําหนักคะแนนตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ รวม 1 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ คะแนน ความรู้ ความ การ การ 10 ความจํา เข้าใจ นําไปใช้ วเิ คราะห์ 15 15 41 2 3 10 152 ระบบจุดระเบิดแบบ 4 6 3 2 20 หนา้ ทองขาว 6 4 2 3 20 3 2 2 33 ระบบจุดระเบิดแบบ 7 1 5 2 20 อิเลก็ ทรอนิกส์ 7 3 2 8 6 7 4 3 154 ระบบประจุไฟฟ้าแบบ 60 ธรรมดา 6 8 2 4 2005 ระบบประจุไฟฟ้าแบบ 3 7 2 3 ไอซีเรกเู รเตอร์ 20 16 10 14 66 55 34 456 ระบบไฟแสงสวา่ ง และสญั ญาณไฟเตือน7 อุปกรณ์อาํ นวยความ สะดวก ระบบควบคุมการ8 ฉีดเชือเพลิงดว้ ย อิเลก็ ทรอนิกส์9 ระบบควบคุมการส่ง กาํ ลงั อตั โนมตั ิ สอบปลายภาค รวม งานไฟฟ้ายานยนต์ 23

17. การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้ (โครงการสอน)วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัส 3101-2104 จาํ นวน 3 หน่วยกติ 7 ชัวโมง/สัปดาห์ส.ป. หวั ข้อ Teching Point กจิ กรรม สือ วดั ผล1 1.พืนฐาน 1.1 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดไฟฟ้ายาน 1.2 เครืองมอื วดั ทางไฟฟ้า 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัยนต์ 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียน พอยท์ 2.ใบประเมิน 3.ชุดฝึก ผลการ ปฏิบตั ิงาน2 2.ระบบจุด 2.1 ส่วนประกอบของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดระเบิดแบบ จุดระเบิด 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัใชห้ นา้ 2.2หนา้ ทีของระบบจดุ ระเบิด 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียนทองขาว 2.3 การทาํ งานของจดุ ระเบิด พอยท์ 2.ใบประเมิน 2.4 การตรวจวเิ คราะห์สภาพ 3.ชุดฝึก ผลการ ปัญหาระบบจดุ ระเบิด ปฏิบตั ิงาน3-4 3.ระบบจุด 3.1ส่วนประกอบของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดระเบิดแบบ จุดระเบิดแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัอิเลก็ ทรอนิก 3.2 เครืองกาํ เนิดสญั ญาณ 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียนส์ 3.3 ตวั ช่วยจุดระเบิด พอยท์ 2.ใบประเมิน 3.4 หลกั การทาํ งานระบบจุด 3.ชุดฝึก ผลการ ระเบิดอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ปฏิบตั ิงาน แบบใชจ้ านจ่าย 3.5 หลกั การทาํ งานของ ระบบจุดระเบิด อิเลก็ ทรอนิกส์แบบไมใ่ ช้ จานจ่าย 3.6 การตรวจสอบและ วิเคราะห์ขอ้ ขดั ขอ้ งระบบ จุดระเบิดแบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ งานไฟฟ้ายานยนต์ 24

ส.ป. หัวข้อ Teching Point กจิ กรรม สือ วดั ผล5 4.ระบบประจุ 4.1 ส่วนประกอบของ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดไฟฟ้าแบบ ระบบประจุไฟฟ้า 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัธรรมดา 4.2 หนา้ ทีของระบบประจุ 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียน ไฟฟ้า พอยท์ 2.ใบประเมนิ 4.3 การทาํ งานของระบบ 3.ชุดฝึก ผลการ ประจุไฟฟ้า ปฏิบตั ิงาน 4.4 การตรวจวเิ คราะห์ปัญหา ระบบประจุไฟฟ้า6-7 5.ระบบประจุ 5.1ส่วนประกอบของประจุ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดไฟฟ้าแบบ ไฟฟ้าแบบไอซี 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัไอซีเรกเู ร เรกเู รเตอร์ 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียนเตอร์ 5.2 หลกั การทาํ งานของ พอยท์ 2.ใบประเมนิ ไอซีเรกเู รเตอร์ 3.ชุดฝึก ผลการ 5.3 การทาํ งานของระบบ ปฏิบตั ิงาน ประจุไฟฟ้าแบบไอซี เรกเู รเตอร์ 5.4 การบริการตรวจสอบ วิเคราะหข์ อ้ ขดั ขอ้ ง ระบบ ประจุไฟแบบ ไอซีเรกเู รเตอร์8-10 6.ระบบไฟ 6.1 ส่วนประกอบของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดแสงสวา่ งและ ไฟแสงสวา่ งและ 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัสญั ญาณไฟ สญั ญาณไฟเตือน 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียนเตือน 6.2 การทาํ งานของระบบไฟ พอยท์ 2.ใบประเมิน แสงสวา่ งและ 3.ชุดฝึก ผลการ สญั ญาณไฟเตือน ปฏิบตั ิงาน งานไฟฟ้ายานยนต์ 25

ส.ป. หวั ข้อ Teching Point กจิ กรรม สือ วดั ผล 6.3 การตรวจสอบวิเคราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ ง ระบบไฟ แสงสวา่ งและสญั ญาณ ไฟเตือน 6.4 การบริการระบบไฟแสง สวา่ งและสญั ญาณ ไฟเตือน11-13 7.อปุ กรณ์ 7.1 ส่วนประกอบของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบ 1.แบบทดอาํ นวยความ ปัดนาํ ฝนและฉีดนาํ 2.สาธิต ความรู้ สอบหลงัสะดวก ลา้ งกระจก 3.ฝึ กปฏิบตั ิ 2.เพาเวอร์ เรียน 7.2 การทาํ งานของระบบปัด พอยท์ 2.ใบประเมนิ นาํ ฝนและฉีดนาํ ลา้ ง 3.ชุดฝึก ผลการ กระจก ปฏิบตั ิงาน 7.3 ส่วนประกอบของระบบ กระจกไฟฟ้าและ กระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.4 การทาํ งานของระบบ กระจกไฟฟ้า และ กระจกไฟฟ้ามองขา้ ง 7.5 ส่วนประกอบระบบ ควบคมุ การลอ็ คประตู และกนั ขโมยรถยนต์ 7.6 การทาํ งานของระบบ ควบคมุ การล็อคประตู และกนั ขโมยรถยนต์ 7.7 การตรวจสอบวิเคราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ งอปุ กรณ์ อาํ นวยความสะดวก งานไฟฟ้ายานยนต์ 26

ส.ป. หัวข้อ Teching Point กจิ กรรม สือ วดั ผล14-16 8.ระบบ 8.1 ส่วนประกอบของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบความรู้ 1.แบบทด ควบคุม ควบคุมการฉีดเชือเพลิง 2.สาธิต 2.เพาเวอร์ สอบหลงั การฉีด เครืองยนตแ์ ก๊สโซลีน 3.ฝึ กปฏิบตั ิ พอยท์ เรียน เชือเพลิง 3.ชุดฝึ ก 2.ใบ ดว้ ย 8.2หลกั การทาํ งานของระบบ ประเมนิ อิเลก็ ทรอนิก ควบคุมการฉีดเชือเพลิง ผลการ ส์ เครืองยนตแ์ ก๊สโซลีน ปฏิบตั ิงาน 8.3 การตรวจสอบวเิ คราะห์ ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบ ควบคุมการฉีดเชือเพลิง 8.4 การบริการระบบควบคุม การฉีดเชือเพลิง17 9. ระบบ 9.1 โครงสร้างของระบบ 1.บรรยาย 1.ใบความรู้ 1.แบบทดควบคุมการ ควบคุมการส่งกาํ ลงั 2.สาธิต 2.เพาเวอร์ สอบหลงัส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ 3.ฝึ กปฏิบตั ิ พอยท์ เรียนเครืองยนต์ 9.2 หลกั การทาํ งานของ 3.ชุดฝึก 2.ใบ ระบบควบคุมการ ประเมิน ส่งกาํ ลงั เครืองยนต์ ผลการ 9.3การตรวจสอบวิเคราะห์ ปฏิบตั ิงาน ขอ้ ขดั ขอ้ ง ของ ระบบ ควบคุมการส่ง กาํ ลงั เครืองยนต์ 9.4 การบริการระบบควบคุม การส่งกาํ ลงั เครืองยนต์18 สอบปลาย ครอบคลุมจุดประสงคท์ ุก ทดสอบ แบบ ใบประเมนิ ภาค ดา้ นของหน่วย ทดสอบ ผล การเรียนที 1-9 แบบ ทดสอบ งานไฟฟ้ายานยนต์ 27

ชือวชิ า เอกสารประกอบการสอน หน่วยที 1ชือรหัสชือหน่วย งานไฟฟ้ายานยนต์ ระดบั ปวส. 3101-2104 สอนครังที 1 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ เวลา 7 ชัวโมงหวั ข้อเรืองและงาน 1. ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (Electrical Wiring Diagram) หรือ EWD 2. เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าสาระสําคญั ระบบไฟฟ้ายานยนต์ เป็นระบบทีมีความสาํ คญั อยา่ งยิงสาํ หรับรถยนตใ์ นปัจจุบนั ซึงระบบไฟฟ้ายานยนต์จะทาํ หนา้ ทีควบคุมการทาํ งานของระบบต่างๆ ภายในรถยนต์ ทังนีเพือให้ผูข้ บั ขีมีความมนั ใจในการขบั ขีรถยนต์ มีความสะดวกสบาย ความประหยดั ความปลอดภยั สมรรถนะรถยนตด์ ีขึน และยงั ช่วยควบคุมมลภาวะอากาศเป็นพิษทีเกิดขึนกบั รถยนตป์ ัจจุบนั สาํ หรบั เนือหาในวิชางานไฟฟ้ายานยนต์ ผูศ้ ึกษาและผสู้ นใจ ควรตอ้ งมีพืนฐานไฟฟ้ารถยนต์ เพือใหส้ ามารถมีความเขา้ ใจเนือหา ทงั ทฤษฏีและปฏิบตั ิ ดงั นนั จึงควรมีความรู้พืนฐานเกียวกบั ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์(Electrical Wiring Diagram) หรือ EWD ซึงเป็ นวงจรไฟฟ้าทีเขียนขึน โดยใชส้ ัญลกั ษณ์ต่างๆ แทนอุปกรณ์และสายไฟทีใชใ้ นรถยนต์ ซึงในรถยนตแ์ ต่ละยีหอ้ แต่ละรุ่นมกั จะมีระบบไฟฟ้าหลายระบบดว้ ยกนั ดงั นนั ผงั วงจรไฟฟ้า จึงมีจุดประสงคเ์ พือใหก้ ารตรวจสอบของระบบไฟฟ้าในแต่ละแบบนนังา่ ยต่อการคน้ หา นอกจากนนั เพือเป็นพืนฐานของการตรวจสอบและวเิ คราะหป์ ัญหาในระบบไฟฟ้ายานยนต์ ควรมีความรู้พืนฐานเกียวกบั เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าชนิด มลั ติมิเตอร์ ซึงเป็ นเครืองมือทีสามารถใชว้ ดั ความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า และแรงดนั ไฟฟ้า รวมทงั การปรับสวิตช์เลือกการทาํ งานเพือวดั ค่าต่างๆใหเ้ หมาะสมกบั งานทีจะทาํ การวดั เพือใหผ้ ศู้ ึกษาไดม้ ีพืนฐานในการศึกษาในหน่วยต่อไป งานไฟฟ้ายานยนต์ 28

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทัวไป เพอื ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจพืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านความรู้ 1.1 อธิบายการใชผ้ งั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (Electrical Wiring Diagram) ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมด้านทกั ษะ 2.1 สามารถใชม้ ลั ติมเิ ตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมด้าน คุณลกั ษณะทพี ึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม 3.1 มีวินยั ประพฤติตนอยใู่ นกฎระเบียบ 3.2 มีความใฝ่ รู้ใฝ่เรียน คน้ ควา้ หาความรู้เพิมเติมสาระการเรียนรู้ . ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (electrical wiring diagram) หรือ EWD 1.1 สญั ลกั ษณแ์ ละขวั ต่อสายไฟ ( connector symbols) 1.2 อกั ษรยอ่ ทีใชใ้ นวงจรไฟฟ้า (abbreviation) 1.3 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (electrical wiring diagram) . เครืองมือวดั ทางไฟฟา้ 2.1 ส่วนประกอบของมลั ติมเิ ตอร์ 2.2 การใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ค่าตา่ งๆใหเ้ หมาะสมกบั งาน งานไฟฟ้ายานยนต์ 29

กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนกั ศึกษา. ทดสอบก่อนเรียน 1. ทาํ แบบทดสอบก่อนเขา้ เรียนให้นกั ศึกษาทาํ แบบทดสอบ ซึงเป็ นแบบ จาํ นวน 10 ขอ้ทดสอบปรนยั จาํ นวน 10 ขอ้ (ทาํ ทกุ ขอ้ ). นาํ เขา้ สู่บทเรียน 2. เขา้ สู่บทเรียนอธิบายถึงความสาํ คญั ของระบบไฟฟ้า นกั ศึกษาร่วมสนทนากบั ครู และร่วมกิจกรรมยานยนต์ บอกคะแนนก่อนเรียนใหท้ ราบ การตอบคาํ ถาม3. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียน 3. รับทราบจุดประสงคก์ ารเรียนแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนของหน่วยที 1 นกั ศึกษารบั ทราบจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมความรูพ้ ืนฐานเกียวกบั ระบบไฟฟ้ายานยนต์ ในเรือง ความรู้พืนฐานเกียวกบั ระบบไฟฟ้า ยานยนต์4. การเรียนรู้เพือพฒั นาศกั ยภาพ 4. เรียนรู้จากศูนยก์ ารเรียน จากฐานการเรียนหน่วยที 1 ความรู้พนื ฐานนกั ศึกษาดา้ นทกั ษะการเรียน การคิด การทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ืน การสือสารการจดั การ ความ เกียวกบั ระบบไฟฟ้ายานยนต์รับผิดชอบ และมีวินยั ในตนเอง โดยใช้เทคโนโลยกี ารสอนแบบศูนยก์ ารเรียน วธิ ีสอนแบบสาธิตร่วมกบั การฝึ กปฏบิ ตั ิครูชีแจงกบั นกั ศึกษาถึงขนั ตอนการเรียนรู้แบบศูนยก์ ลางการเรียนใหก้ บั นกั ศึกษาจากแผ่นภาพ เอกสารประกอบการสอน ของจริงโดยแบ่งการเรียนรู้ออกเป็ น 4 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กนั โดยเนน้ ใหน้ ักศึกษาได้มีกิจกรรมร่วมกนัแกป้ ัญหาโจทยท์ ีไดร้ ับมอบหมายใหเ้ สร็จภายในเวลาทีกาํ หนด5. สรุปความคิดรวบยอด 5. สรุปความคดิ รวบยอดครูอธิบายเนือหาเพือให้ได้องค์ความรู้ที นกั ศึกษาทุกคนฟังครูอธิบายเพิมเติมสมบูรณ์ และร่วมกับนักศึกษาอภิปรายสรุป ซกั ถามเมอื มีขอ้ สงสยั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรียน บทเรียน งานไฟฟ้ายานยนต์ 30

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั ศึกษา 6. ทาํ กิจกรรมในหน่วยที 1 ฝึกปฏิบตั ิ 6. ฝึ กทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่ม ร่ วมกัน ทํากิจกรรมในหน่ วยที 1 เรื องความรู้พืนฐานเกียวกบั ระบบไฟฟ้ายานยนต์ ลงมือฝึ กปฏิบตั ิ7. ทดสอบหลงั เรียน 7. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนครูใช้แบบทดสอบหลงั เรียนจาํ นวน 10 ข้อ นกั ศึกษาทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนจาํ นวนประเมินผลการเรี ยนรู้ในหน่วยที 1 ความรู้ 10 ขอ้พนื ฐานเกียวกบั ระบบไฟฟ้ายานยนต์8. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน 8. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนครูเฉลยแบบทดสอบแต่ละชุด ให้นกั ศึกษา นกั ศึกษาตรวจคาํ ตอบแบบทดสอบก่อนตรวจคาํ ตอบ เรียน หลงั เรียน จากแบบเฉลยสือการเรียนการสอน 1. สือสิงพมิ พ์ 1.1 เอกสารประกอบการสอนหน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ 1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ 1.3 แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ 1.4 ใบงานที 1 เรือง เครืองมอื วดั ทางไฟฟ้า 1.5 แบบประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิงานตามใบงานที 1 เรือง เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า 1.6 แบบสงั เกตพฤติกรรมคุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ ครังที 1 2. สือโสตทัศน์ 2.1 แผน่ CD, Power point และคอมพิวเตอร์ 2.2 โปรเจก็ เตอร์ 3. สือจาํ ลอง/ของจริง 3.1 มลั ติมิเตอร์ 3.2 บอร์ดต่อวงจรพร้อมสายต่อ 1 ชุด งานไฟฟ้ายานยนต์ 31

การวดั ผลและประเมนิ ผล1. วธิ ีวดั ผล1.1. ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจหลงั เรียนจบหน่วยการเรียนรู้1.2. ทดสอบทกั ษะการปฏิบตั ิงานการใชเ้ ครืองมือวดั ทางไฟฟ้า1.3. สงั เกตคุณลกั ษณะทีพึงประสงค์2. เครืองมือวดั ผล2.1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที 1 พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์2.2. แบบประเมินผลทกั ษะการปฏิบตั ิงานตามใบงานที 1 เรือง เครืองมือวดั ทางไฟฟ้า2.3. แบบสงั เกตพฤติกรรม คณุ ลกั ษณะทีพึงประสงค์ ครังที 13. เกณฑ์การวดั ผล3. . แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนนระดบั ดี 7 – 10 คะแนนระดบั ปานกลาง 5 - 6 คะแนนระดบั ตอ้ งปรับปรุง 0 - 4 คะแนน3.2. แบบประเมินผลทกั ษะการปฏิบตั ิงาน คะแนนเต็ม 18 คะแนนระดบั มีทกั ษะดี 15 - 18 คะแนนระดบั มีทกั ษะปานกลาง 10 - 14 คะแนนระดบั ตอ้ งปรับปรุง 0 - 9 คะแนน3.3. แบบสังเกตพฤติกรรม คุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ คะแนนเต็ม 6 คะแนนระดบั ดี 5 – 6 คะแนนระดบั ปานกลาง 3 - 4 คะแนนระดบั ตอ้ งปรับปรุง 0 - 2 คะแนน4. เกณฑ์การผ่าน4.1. ผลการทดสอบหลังเรียนหน่วยที 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน ถ้าผูเ้ รียนทําได้ 5คะแนน ขึนไปถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน4.2. ผลการประเมินทกั ษะการปฏิบัติงานหน่วยที 1 ตามใบงานที 1 คะแนนเต็ม 18คะแนน ถา้ ผเู้ รียนทาํ ได้ 10 คะแนนขึนไปถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน4.3. ผลการสังเกต คุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ ครังที 1 คะแนนเต็ม 6 คะแนน ถา้ ได้ 3คะแนนขึนไปถือวา่ ผา่ นเกฑณ์การประเมิน งานไฟฟ้ายานยนต์ 32

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์คาํ ชีแจง 1. ใหผ้ เู้ รียนตอบคาํ ถามในขอ้ สอบแต่ละขอ้ ดว้ ยความคิดบนพืนฐานความรู้ทีเคยเรียนมา เพือผูส้ อนจะไดท้ ราบขอ้ มลู ความรู้พืนฐานของผเู้ รียนไดถ้ กู ตอ้ งในการนาํ ไปเป็ น แนวทางพฒั นากิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป 2. คะแนนเตม็ 10 คะแนน1. สายไฟแรงเคลือนตาํ ทีมสี ญั ลกั ษณ์ EB จะใชเ้ ป็นสายไฟอะไรในวงจรไฟฟา้ รถยนต์ ก. ในระบบจุดระเบิด ข. ในระบบไฟชาร์จ ค.ในขวั ต่อกล่องรวมสาย ง. เป็นกราวด์ จ. เป็นแหล่งจ่ายไฟ2. กล่องรวมสาย (J/B) ทาํ หนา้ ทีอะไร ก. เป็นจุดรวมขอ้ ต่อของรีเลยแ์ ละฟิ วส์ ข. เป็นจุดเชือมต่อระหวา่ งสายไฟเขา้ ดว้ ยกนั ค. เป็นจุดรวมของขวั ตอ่ สายไฟของวงจรไฟฟ้า ง. เป็ นจุดสําหรับขวั ตรวจสอบ จ. ขอ้ ก.และ ค. ถูก3. จากรูป สญั ลกั ษณ์ ในวงจรหมายถึงอะไร ก. เป็นขวั ต่อตวั เมีย ข. เป็นขวั ตอ่ ตวั ผู้ ค. เป็นขวั ตอ่ รวม ง. เป็นจดุ ตอ่ สายไฟ จ. ใหต้ อ่ สายไฟได้ 2 เสน้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 33

4 . การใชง้ าน ผงั สายไฟฟ้า (EWD) ขอ้ ความใดไม่ถูกต้อง ก. สีของสายไฟโดยอกั ษรตวั แรกคือสีขอบ และอกั ษรตวั ทีสองคือสีพืน ข. แต่ละขวั ต่อและสลกั จะมีรหัสและหมายเลขกาํ กบั อยู่ ค. สญั ลกั ษณ์ \"J2\" จะแสดงรหสั ขวั ตอ่ รวม ง. อกั ขระอกั ษรผสมตวั เลขในสีเหลียมผนื ผา้ (BB1) จะแสดงรหสั ขวั ต่อ จ. \" วงจรระบบ\" แผนผงั จะแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างชินส่วนไฟฟ้าและสายไฟ5. อกั ษรยอ่ ทีใชใ้ นวงจรไฟฟ้า COMB หมายความวา่ อะไร ก. แบบคูเป้ ข. คอมเพลสเซอร์ ค. เซอร์กิตเบรกเกอร์ ง. อุปกรณ์อุ่นอากาศ จ. หนา้ ปัด6. ตอ้ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้าของแบตเตอรีในรถยนต์ ตอ้ งปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นการวดั มาตาํ แหน่งใด ก. ข. ค. ง. จ.7. ตรวจสอบความต่อเนืองของวงจร ตอ้ งการใหม้ ีเสียงเตือนดงั ขึน จะตอ้ งปรับสวิตช์ฟังกช์ นั อยา่ งไร ก. ฟังกช์ นั MIN/MAXและเลือกโหมด SELECT ข. ฟังกช์ นั RELและเลือกโหมด SELECT ค.ฟังกช์ นั ค่าความตา้ นทาน และ เลือกโหมด SELECT ง. ฟังกช์ นั DUTY และ เลือกโหมด SELECT จ. กดป่ ุม RANGEและ เลือกโหมด SELECT งานไฟฟ้ายานยนต์ 34

8. เครืองมือทีใชว้ ดั แรงเคลือนไฟฟ้า เรียกวา่ อะไรก. โอห์มมิเตอร์ ข. แอมมเิ ตอร์ค. โวลตม์ เิ ตอร์ ง. พารามิเตอร์จ. ไมโครมิเตอร์9. ตอ้ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้า ของแบตเตอรีในรถยนต์ ตอ้ งปรบั สวติ ช์เลือกยา่ นการวดั ตาํ แหน่งใดก. 1 23 1ข. 2 4ค. 3 5ง. 4จ. 510. การใชโ้ วลตม์ ิเตอร์ตอ้ งต่อแบบใดกบั วงจรก. อนุกรมกบั วงจร ข. ขนานกบั วงจรค. ผสมรวมกบั วงจร ง. แบบใดก็ได้จ. ต่อกบั จุดทีกาํ หนดไว้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 35

ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที 1 ข้อที ข้อถกู 1ง 2ค 3ข 4ก 5จ 6ข 7ค 8ค 9ข 10 ข งานไฟฟ้ายานยนต์ 36

หน่วยที 1 เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์1. ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (Electrical Wiring Diagram) หรือ EWD ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (electrical wiring diagram) หรือ EWD เป็ นวงจรไฟฟ้าทีเขียนขึนโดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ต่างๆ แทนอุปกรณ์และสายไฟทีใชใ้ นรถยนต์ ซึงในรถยนต์แต่ละยีห้อแต่ละรุ่นมกั จะมีระบบไฟฟ้าหลายระบบดว้ ยกนั ดงั นนั ผงั วงจรไฟฟ้า จึงมีจุดประสงคเ์ พือให้การตรวจสอบของระบบไฟฟ้าในแต่ละแบบนนั ง่ายต่อการคน้ หา ในคู่มือไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าของรถยนต์ จะไม่แสดงเฉพาะอุปกรณ์หลกั ๆ เท่านนั แต่จะรวมถึงตาํ แหน่งของฟิ วส์ กล่องรวมสาย(J/B) กล่องรีเลย์(R/B) ขัวต่อสายไฟ และจุดลงกราวด์ของระบบต่างๆอีกดว้ ย ไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าของรถยนต์ประกอบไปด้วยสัญลกั ษณ์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ทีใช้ในรถยนต์ สัญลกั ษณ์ของขวั ต่อสายไฟตาํ แหน่งการติดตงั ของกล่องรวมสาย กล่องรีเลย์ ทางเดินสายไฟภายในรถ จุดลงกราวด์ และอกั ษรยอ่ ต่างๆ ทีใชใ้ นระบบไฟฟ้า 1.1 สัญลกั ษณ์ (symbols) สญั ลกั ษณ์ทีใชแ้ ทนอปุ กรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ทีใชใ้ นรถยนต์ ตารางที 1.1 แสดงสญั ลกั ษณท์ ีใชแ้ ทนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ในรถยนต์ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 37

1.2 สัญลกั ษณ์และขัวต่อสายไฟ ( connector symbols) ในวงจรไฟฟ้ารถยนตร์ ะบบต่างๆ จะแสดงรูปแบบของขวั ตอ่ สายไฟ หมายเลขของขวั และสีของขวั ทีใชใ้ นวงจรนนั รูปที 1.1 แสดงขวั ต่อสายไฟแบบตา่ งๆ (ทีมา : http://www.tonyjobs.com. 2560) รูปที 1.2 แสดงรูปแบบขวั ต่อสาย หมายเลขขวั และสีของขวั ต่อสายไฟ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 38

1.3 จดุ ลงกราวด์ (ground point) เป็นสญั ลกั ษณ์แสดงตาํ แหน่งลงกราวด์ ของวงจรไฟฟ้าในระบบต่างๆดว้ ยรูปสามเหลียมกลบั หวั จุดตอ่ จุดลงกราวด์รูปที 1.3 แสดงสญั ลกั ษณ์จุดลงกราวดข์ องวงจรไฟฟ้าระบบต่างๆ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)1.4 อกั ษรย่อทใี ช้ในวงจรไฟฟ้า (abbreviation) อกั ษรยอ่ ต่างๆทีใชใ้ นผงั วงจรไฟฟ้ารถยนต์(electrical wiring diagram) หรือ EWD ดงั นีA/C = ปรับอากาศ O/D = โอเวอร์ไดรฟ์A/T = เกียร์อตั โนมตั ิCB = เซอร์กิตเบรกเกอร์ OVCV = ลินควบคุมระบายอากาศออกCMH = อุปกรณ์อนุ่ อากาศ OX = ออกซิเจน R/B = กล่องรีเลย์COMB = หนา้ ปัด RH = มือขวาC/P = แบบคูเป้ S/D = แบบซีดานEBCV = ลินควบคุมอากาศดว้ ยไฟฟ้า SW = สวติ ซ์ECU = กล่องคอมพวิ เตอร์ TEMP = อณุ หภูมิEGR = ลินควบคุมการไหลหมุนเวยี น TCCS = ระบบคอมพิวเตอร์ของรถยนต์ของแกส๊ ไอเสีย โตโยตา้ งานไฟฟ้ายานยนต์ 39

FL = ฟิ วสส์ ายอ่อน T-VIS = ระบบดูดอากาศของรถนต์โตโยตา้ VSV = ลินตดั ต่อสุญญากาศIIA = ชุดจุดระเบิดรวม W/P = มีJ/B = กล่องรวมสาย W/O = ไม่มีLH = มือซา้ ย W/G = แบบเวกอนM/T = เกียร์ธรรมดา 1.5 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ (Electrical Wiring Diagram) หรือ EWDในคู่มือการใชง้ านประกอบดว้ ยส่วนพืนฐาน 3 ส่วน คือ 1.5.1 วงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ 1.5.2 ตาํ แหน่งรีเลยแ์ ละเสน้ ทางเดินของสายไฟ 1.5.3 วงจรไฟฟ้าทงั หมดทีเชือมต่อกบั ระบบต่างๆ 1.5.1 วงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ วงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ แผนผงั จะแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งชินส่วนไฟฟ้าชุดสายไฟ ขวั ต่อ รีเลย์ กล่องรวมสาย และกล่องรีเลย์ เป็ นตน้ จากแหล่งจ่ายไฟไปยงั จุดลงกราวด์ของแต่ละระบบ แต่ละขวั ต่อ และสลกั จะมีรหสั หมายเลข การคน้ หารหัสและหมายเลข จะทาํ ให้สามารถพบตาํ แหน่งขวั ต่อและสลกั ซึงสามารถทาํ การแกไ้ ขปัญหาระบบไฟฟ้ารถยนต์ระบบต่างๆไดง้ ่าย และสะดวกมากขึน งานไฟฟ้ายานยนต์ 40

รูปที 1.4 ตวั อยา่ งแสดงวงจรไฟฟ้า(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 41

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย \"C8\" จะแสดงรหสั ขวั ต่อ และ \"สวิตชค์ อ พวงมาลยั \" จะแสดงชือชินส่วนรูปที 1.5 ตวั อยา่ งแสดงรหัสขวั ต่อและสวติ ช์ คอพวงมาลยั หมายเลขเหล่านี (9, 10, 11) จะแสดง หมายเลขสลกั ขวั ต่อ รูปที 1.6 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ต่อ วธิ ีการอ่านหมายเลขสลกั ขัวต่อรูปที 1.7 แสดงวิธีการอา่ นหมายเลขสลกั ขวั ตอ่ สลกั จะประกอบไปดว้ ยขาเสียบตวั ผูท้ ีใช้ เสียบเขา้ และขาเสียบตวั เมียทีรบั ขาเสียบตวั ผู้ ขวั ตอ่ ทีมีขาเสียบตวั ผจู้ ะเรียกวา่ ขวั ตอ่ ตวั ผู้ และ ขวั ต่อทีมีขาเสียบตวั เมียจะเรียกวา่ ขวั ต่อตวั เมีย ขวั ต่อจะมีลอ็ กเพือใหก้ ารเชือมขวั ต่อปลอดภยั(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 42

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย ส่วนล็อกขัวต่อจะหงายขึนเพือให้สามารถ อ่านหมายเลขสลักบนผิวขัวต่อได้ โดยให้อ่าน หมายเลขจากดา้ นซ้ายบนสําหรับขัวต่อตัวเมีย ต า ม ที แ ส ด ง ที ด้ า น ซ้ า ย มื อ ใน ภ า พ ป ร ะ ก อ บ สาํ หรับขวั ต่อตวั ผู้ ใหอ้ ่านหมายเลขจากดา้ นขวา บนเหมือนภาพสะทอ้ นในกระจกของขวั ต่อตวั เมยี ตามทีแสดงทีดา้ นขวามอื ในภาพประกอบรูปที 1.8 แสดงวธิ ีการอา่ นหมายเลขสลกั ขวั ต่อ เมือใช้เครื องมือทดสอบเพือตรวจสอบ แรงดันไฟฟ้า ให้ใช้สายทดสอบตามทีแสดงใน รูปภาพเพือตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าอย่างไรก็ดี ในขณะนีหมายเลขสลกั จะถูกอ่านจากดา้ นหลงั ของขัวต่อดังนัน จึงเป็ นการยอ้ นกลับเมืออ่าน จากพืนผิวทีเชือมต่อ จึงตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั เมอื อ่านหมายเลขสลกัรูปที 1.9 แสดงการใชเ้ ครืองมือตรวจสอบ แรงดนั ไฟฟ้า ขัวต่อจะรวมสายไฟกันเป็ นชุดสายไฟ \"J2\" จะแสดงรหัสขัวต่อรวม และ \"ขัวต่อรวม\" จะ แสดงวา่ ส่วนนีเป็นขวั ต่อรวมรูปที 1.10 ตวั อยา่ งแสดงขวั ต่อจะรวมสายไฟ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 43

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย โ ค รง ส ร้ า งข อ ง ข ัวต่ อ ร ว ม ต าม ที แ ส ด ง ใ น รูปภาพ โครงสรา้ งขวั ต่อรวมประกอบดว้ ยขวั สนั ทีเชือมต่อสายไฟหลายเสน้ ทีมีสีเดียวกนัรูปที1.11ตวั อยา่ งแสดงโครงสร้างของขวั ต่อรวม พื น ที ที เน้ น จ ะ แ ส ด ง ก ล่ อ ง ร ว ม ชุ ด ส า ย ไ ฟ รูปที 1.12 ตวั อยา่ งแสดงกล่องรวมชุดสายไฟ กล่องรวมชุดสายไฟมีฟังก์ชันในการรวมและ การเชือมต่อวงจรไฟฟ้าภายในกล่อง และรวม รี เลย์ ฟิ วส์เบ รกเกอร์วงจร เป็ น ต้น ไว้บน แผงวงจรบางชินส่วนของกล่องรวมชุดสายไฟ จะไม่มีรีเลย์ และฟิ วส์ เป็ นต้น แต่จะใช้เป็ น ขัวต่ อเท่านันกล่องรี เลย์มีโครงสร้างเกื อบ เหมือนกับกล่องรวมชุดสายไฟ แต่จะไม่มีการ รวม ชุ ด แล ะ เชื อ ม ต่ อ ว งจร ไฟ ฟ้ าภ า ยใน ก ล่ อ ง EWD จะแบ่งออกเป็ นกล่องรวมชุดสายไฟ: กลอ่ งรีเลยพ์ ืนสีเทา:พืนไม่มีสี หมายเลขกล่องรวมชุดสายไฟและรหัสขวั ต่อ หมายเลขในวงกลม (2) จะแสดงหมายเลขกล่อง ชุดสายไฟ และตวั อกั ษร (G) จะแสดงรหสั ขวั ต่อรูปที 1.13 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขกล่องรวมชุด สายไฟและรหสั ขวั ต่อ (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 44

สญั ลกั ษณ/์ อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย หมายเลขสลกั ขัวต่อ หมายเลขเหล่านี (2, 9) จะแสดงหมายเลข สลกั ขวั ต่อรูปที 1.14 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ต่อ หมายเลขสลัก ห ม าย เล ข เห ล่ านี (1, 2, 3, 5) จ ะ แ ส ด ง หมายเลขสลกั รีเลย์ P/Wรูปที 1.15 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ต่อ สายไฟภายใน เสน้ ต่างๆ เหล่านีจะแสดงสายไฟภายในกลอ่ ง ชุดสายไฟรูปที 1.16 ตวั อยา่ งแสดงสายไฟภายในกล่อง (โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี) งานไฟฟ้ายานยนต์ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook