Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปีระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2560

รายงานประจำปีระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2560

Published by จํารูญ มลิพันธ์, 2020-08-22 23:32:55

Description: SAR -ขั้นพื้นฐาน-ปีการศึกษา 2560

Search

Read the Text Version

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โรงเรยี นบา้ นสะอาง(ประชาสามัคคี) สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษเขต ๓ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ส่วนท่ี ๑ ข้อมลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมลู ทัว่ ไป ชือ่ โรงเรียนบา้ นสะอาง ( ประชาสามัคคี ) หมู่ ๑๒ ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขนั ธ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓ เปิดสอนระดับชัน้ อนุบาล ถงึ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑.๒ ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศกึ ษา ๑) จำนวนบคุ ลากร บุคลากร ผู้บริหาร ครูผสู้ อน พนักงาน ครูอตั ราจา้ ง เจา้ หน้าที่อน่ื ๆ ราชการ ปกี ารศึกษา๒๕๖๐ ๑ ๖ - - ๑ ๒) วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบุคลากร วุฒกิ ารศึกษาสูงสุดของบุคลากร 0% 57% ปวช. 43% ปวส. ปริญญาตรี 0% ประกาศนียบตั รบณั ฑติ ปริญญาโท ปริญญาเอก

๓) สาขาวิชาทจ่ี บการศึกษาและภาระงานสอน 2 สาขาวชิ า จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู ๑ คน ในแตล่ ะสาขาวิชา(ชม./สัปดาห์) ๑. บรหิ ารการศึกษา ๒ ๒. คหกรรมศาสตร์ ๑ ๓๐ ๓. ประถมศกึ ษา ๑ ๓๐ ๔. สังคมศึกษา ๑ ๓๐ ๕. เกษตรกรรม ๑ ๓๐ ๖ ๓๐ รวม ๑๕๐ ๑.๓ ขอ้ มูลนกั เรยี น จำนวนนกั เรียนปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ รวม ๑๑๖ คน (ข้อมลู ณ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑) ระดบั ชนั้ อ.๒ อ.๓ รวม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวม รวมทง้ั ส้ิน เรียน จำนวน ๑ ๑ ๒๑๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๖ ๘ ห้อง เพศ ชาย ๔ ๙ ๑๓ ๑ ๓ ๑๐ ๗ ๑๐ ๑๑ ๔๒ ๕๕ หญงิ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๖ ๘ ๖ ๖ ๑๐ ๕ ๔๑ ๖๑ รวม ๑๔ ๑๙ ๓๓ ๗ ๑๑ ๑๖ ๑๓ ๒๐ ๑๖ ๘๓ ๑๑๖ เฉลยี่ ต่อ ๑๔ ๑๙ ๓๓ ๗ ๑๑ ๑๖ ๑๓ ๒๐ ๑๖ ๘๓ ๑๑๖ ห้อง เปรียบเทยี บจานวนนกั เรียนระดับอนบุ าล ๒และ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ 000 ปี กศ.๒๕๖๐ ปี กศ. ๒๕๕๙ ปี กศ. ๒๕๕๘ 000 t19 อนบุ าล ๓ t7 t10 t20 t10 อนุบาล ๒ t7 t14 t5 t10 t15 t0

3 เปรียบเทียบจำนวนนักเรียนระดบั ชนั้ ป.๑ - ป.๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ป.๖ t13 t16 t17 ป.๕ tt1133 t20 t13 t16 t20 ป.๔ t13 t16 t20 ปี กศ. ๒t1๕6๕๙ ป.๓ t13 t15 t20 ป.๒ t7 t11 t25 ป.๑ t5 t13 t0 t10 ปี กศ. ๒๕๖๐ t10 ๑.๔ ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศึกษา รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีเกรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดับ ๓ ข้ึนไป ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ภาษาไทย t73.49 ร้อยละ คณติ ศาสตร์ t67.47 วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม t87.95 t66.27 สขุ ศกึ ษา ศิลปะ t95.18 t91.57 การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษ t98.80 t57.83 t0.00 t20.00 t40.00 t60.00 t80.00 t100.00 t120.00

4 ๑.๕ ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (National Test : NT) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐ คะแนนร้อยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียน คะแนนเฉลีย่ ร้อยละระดบั เขตพนื้ ท่ี คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับประเทศ t70.00 t59.46 t47.32 t50.17 t52.32 t60.00 t51.50t52.67 t36.83t37.75 t46.32t45.31 t44.89t45.25 t50.00 ด้านเหตผุ ล t40.00 ด้านภาษา ด้านคานวณ ฉลย่ี ทงั ้ ๓ ด้าน t30.00 t20.00 t10.00 t0.00 ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำน ของผู้เรียนระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐ จำแนกตำมระดับคุณภำพ t14.00 t12.00 t8.00 t12.00 t8.00t7.00 t4.00t5.00 t10.00 t8.00 t1.00t1.00 t2.00 t6.00 ดีมาก t4.00 t2.00 t0.00 ปรับปรุง พอใช้ ดี ดา้ นเหตุผล ดา้ นภาษา ด้านคานวณ

5 ๒) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ๒.๑) เปรยี บเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐาน ของผเู้ รยี นระดับชาติ(NT) และรอ้ ยละของผลตา่ งระหวา่ งปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา๒๕๕๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ร้อยละของผลตา่ ง ระหวา่ งปีการศกึ ษา ด้านภาษา ๔๕.๐๐ ดา้ นคำนวณ ๓๔.๐๐ ๕๙.๔๖ ๑๔.๔๖ ด้านเหตุผล ๕๒.๓๘ รวมความสามารถทั้ง ๓ ดา้ น ๔๓.๘๑ ๔๗.๓๒ ๑๓.๓๒ ๕๐.๑๗ ๒.๒๑ ๕๒.๓๒ ๘.๕๑ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ดีมาก t1.00 ดี t4.00 t3.00 พอใช้ t12.00 t6.00 ระ ัดบคุณภำพ ปรับปรุง t3.00 t0.00 t2.00 t4.00 t6.00 t8.00 t10.00 t12.00 t14.00 ร้อยละ ปี กศ. ๒๕๖๐ ปี กศ. ๒๕๕๙

6 ความสามารถด้านคานวณ (numeracy) ดีมาก t2.00 ดี t5.00 t8.00 พอใช้ t3.00 ปรบั ปรงุ t1.00 t6.00 t4.00 t0.00 t1.00 t2.00 t3.00 t4.00 t5.00 t6.00 t7.00 t8.00 t9.00 รอ้ ยละ ปี กศ. ๒๕๖๐ ปี กศ. ๒๕๕๙ ความสามารถด้านเหตผุ ล (reasoning ability) ดีมาก t1.00 ดี t3.00 t8.00 พอใช้ t5.00 t7.00 ปรับปรงุ t1.00 t4.00 t0.00 t1.00 t2.00 t3.00 t4.00 t5.00 t6.00 t7.00 t8.00 t9.00 ปี กศ. ๒๕๖๐ รอ้ ยลปะี กศ. ๒๕๕๙

7 ๑.๖ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ๑. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ประจาปกี ารศึกษา 25๖๐ ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี น ๔๗.๗๐ ๓๖.๗๙ ๓๘.๖๔ ๓๑.๗๙ คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ๔๔.๑๖ ๓๔.๓๗ ๓๗.๘๑ ๓๑.๕๓ คะแนนเฉลย่ี สังกดั สพฐ.ทง้ั หมด ๔๕.๒๙ ๓๕.๕๕ ๓๘.๑๓ ๓๒.๗๓ ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพ้ืนฐำน (O - NET) ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐ ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๖ t47.70 t44.16 t45.29 t46.58 t36.79 t34.37 t35.55 t37.12 t38.64 t37.81 t38.13 t39.12 t31.79 t31.53 t32.73 t36.34 ภาษาไทย ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลี่ย สงั กดั สพฐ คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ หมายเหตุ : คะแนนเฉลีย่ ทกุ วชิ าของนกั เรียนสงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ทง้ั ระดบั จงั หวดั ระดบั สงั กดั สพฐ. และสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ๒. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET)ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ –๒๕๖๐ ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติขน้ั พ้นื ฐำน ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ระดับช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๖ t100.00 t58.20 t47.70 t49.00 t36.79 t43.45 t38.64 t29.33 t31.79 t50.00 t0.00 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ปี กศ. ๒๕๕๙ ปี กศ. ๒๕๖๐

8 ๑.๗ ข้อมลู การใช้แหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ จำนวนนกั เรยี นทใี่ ช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ จำนวนนกั เรยี นทใ่ี ชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ำยในโรงเรยี น ปกี ำรศึกษำ 25๖๐ 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 7 11 16 13 20 16 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ห้องสมดุ ห้องคอมพวิ เตอร์ สวนครัวพอเพยี ง ปา้ ยนิเทศต่างๆ สนามเด็กเลน่ ห้องจริยศกึ ษา โรงเรือนเลยี ้ งไก่ ห้องสหกรณ์ อควาเรียม

9 จำนวนนกั เรียนที่ใช้แหลง่ เรียนรู้ภายนอกโรงเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จำนวนนักเรียนทใ่ี ชแ้ หล่งเรียนรู้ภำยนอกโรงเรียน ปกี ำรศกึ ษำ 25๖๐ 16 16 16 20 11 20 16 16 20 16 20 16 11 20 16 20 16 11 16 13 ป.5 16 ป.6 7 11 16 13 ไปรษณีย์ขขุ นั ธ์ 7 11 13 7 11 16 7 13 7 11 16 13 7 11 7 7 11 16 13 7 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ท่วี ่าการ อ.ขขุ นั ธ์ อนสุ าวรีย์ตากะจะ วดั โพธิญาณ (สะอาง ) โลตสั ขขุ นั ธ์ หลวงพ่อโตวดั เขียน อควาเรียม สวนสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ วดั พระธาตเุ รืองรอง

10 ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ระดับคุณภาพ: ดีเย่ยี ม ๑. กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม ศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบ การระดมสมองแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกัน เรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคดิ กระบวนการใช้ปญั หาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียนเปน็ เรื่อง สำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ระดับชั้น ป. 1 พัฒนาครูทุกคนให้มี ความสามารถในการนำเทคนคิ วธิ สี อนให้ตรงตามศักยภาพผ้เู รียน ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอนมี แหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ต่อพ่วงภายใน ห้องเรียน Tablet และนำนักเรียนไปร่วมทดสอบแข่งขันทางวิชาการในสถานศึกษาอื่น ร่วมชมนิทรรศการใน วันสำคัญนอกสถานท่ี ครูร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้น การใชค้ ำถามเพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิดของผู้เรียน นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข เนน้ การพัฒนาดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผเู้ รียน และตามนโยบายเก่ยี วกับ เรื่อง “อิ่มท้อง สมองดี มีวินัย ปลอดภัย โตไปไม่โกง สร้างภูมิคุ้นกัน และรู้เท่าทันสื่อและสิ่งไม่พึงประสงค์” โดยการจัดค่ายคุณธรรมกับนักเรียน ทุกระดับชั้น จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรม ผู้เรียนตามหลกั สตู ร โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมวี ินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะ แนว และการดูแลสุขภาวะจิต นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการ เรียนรู้ในโลกกว้าง การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา จัดกิจกรรมสถานศึกษา “ออ่ นหวาน” ใหค้ วามรเู้ ร่อื งพิษภัยจากขนมกรุบกรอบ นำ้ หวาน น้ำอดั ลม สง่ เสรมิ การออกกำลงั กาย และเพ่ิม เวลารู้เรื่องอาชีพ เช่น การรอ้ ยพวงมาลัย การผลติ ของใช้การผลิตดอกไม้จากถุงพลาสติก กระทงใบตอง การ ทำขนมทอดกรอบ เปน็ ต้น ๒. ผลการดำเนินการ ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิซาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและอ่าน คล่องตามมาตรฐาน การอ่านในแต่ละระดับขน้ั สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รจู้ กั การวางแผน สามารถทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้ดีตามหลัก ประชาธปิ ไตย กลา้ แสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อยา่ งสร้างสรรค์ สบื ค้นขอ้ มูลหรือแสวงหา ความร้จู ากสือ่ เทคโนโลยไี ด้ดว้ ยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้วา่ สิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมท้งั รเู้ ทา่ ทนั สือ่ และสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ผเู้ รียนรู้และตระหนกั ถงึ โทษและพิษภยั ของส่ิงเสพติด ตา่ งๆ เลือกรบั ประทานอาหารทส่ี ะอาด และมีประโยชน์ รกั การออกกำลังกาย นักเรียนทกุ คนสามารถเล่นกีฬา ได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ

11 สุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล และระหว่างวัย ทั้งนี้มีผลการดำ เนินงานเซิง ประจักษ์จากการประเมินในดา้ นต่างๆ ดังนี้ ประเด็น ผลการประเมิน ความสามารถ ร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่มีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น การเขยี น ในการอา่ น ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๔ จำแนกตามระดบั คุณภาพ (ป.๑– ป.๔) (ระดบั ดเี ยี่ยม) t85.72 t72.72 t76.92 t68.75 ้รอยละ t27.27 t31.25 t14.28t0.00 t0.00 t0.00 t23.07 ชั้น ป. ๑ t0.00 ช้ัน ป. ๒ ชั้น ป. ๓ ดีเยีย่ ม ดี ต้องปรับปรงุ ช้ัน ป. ๔ ความสามารถ รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนที่มผี ลการประเมินความสามารถในการส่ือสาร ในการสื่อสาร คดิ คำนวณ และคิดวิเคราะห์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ คิดคำนวณ จำแนกตามระดับคณุ ภาพ และคิด วเิ คราะห์ t90.00 t84.62 (ระดบั ดเี ย่ียม) t80.00 t71.43 t63.63 t70.00 t60.00 t50t.500.00 t50.00 t50.00 t50.00 t40.00 t40.00 t37.50 t30.00 t20.00 t27.27 t10.00 t14t.1248.28 t9.09 t15.38 t10.00 t12.50 t0.00 t0.00 t0.00 t0.0t0.00 t0.0t0.00 t0.00 t0.00 ชั้น ป. ๑ ชั้น ป. ๒ ชนั้ ป. ๓ ชั้น ป. ๔ ชนั้ ป. ๕ ชั้น ป. ๖ ดีเยย่ี ม ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง

ประเด็น 12 ความสามารถใน ผลการประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยี รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนท่ีมผี ลการประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี (ป.๑ – ป.๖) (ระดับดเี ยี่ยม) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคณุ ภาพ t90.00 t87.50 t81.25 t76.92 t57.14 t54.55 ร้อย t36.36 ละ t28.57 t14.28 t18.75 t23.08 t9.09 t10.00 t12.50 t0.00 t0.00 t0.0t00.00 t0.0t00.00 t0.0t00.00 t0.00 t0.00 ชนั้ ป. ๑ ช้นั ป. ๒ ชน้ั ป. ๓ ชนั้ ป. ๔ ช้นั ป. ๕ ชน้ั ป. ๖ ดีเย่ียม ดี พอใช้ ปรับปรุง ผลการทดสอบ รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนที่มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียน ระดับชาติ ระดบั ชาติ (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ t12.00 t8.00 t8.00 t7.00 t5.00 t4.00 t1.00t1.00 t2.00 t0.00 t0.00 t0.00 ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ด้านภาษา ดา้ นคานวณ ดา้ นเหตุผล

ผลการทดสอบ 13 ระดับชาติ ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET)ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ จำแนกตามระดับคุณภาพ t47t.4740t.4156.29 คะแนนเฉล่ีย t31.79 t36t.3749t.3377.81 t38t.3654t.3585.13 t37t.3192t.3162.34 คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน t31.53 t32.73 t31.79 คะแนนเฉล่ียสงั กดั จงั หวดั คะแนนเฉลยี่ ระดบั สพฐ. ทงั้ หมด คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ๔วิชาของนักเรียน สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และ สูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ คุณลกั ษณะอัน ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมผี ลการประเมินดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม พงึ ประสงคข์ อง ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คุณภาพ ผูเ้ รียน ชนั้ ป.๑ ชนั้ ป.๒ t100.00 t0.00 ชนั้ ป.๓ t9.09 ชนั้ ป.๔ t90.91 t6.25 ชนั้ ป.๕ t7.69 ชนั้ ป.๖ t93.75 t20.00 t6.25 t92.31 t80.00 t93.75 ดี ดีเย่ียม

14 ประเดน็ ผลการประเมิน ร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่มีผลการประเมินการมสี ว่ นรว่ ม คุณลักษณะ ในการอนุรักษธ์ รรมชาติ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ อันพึง ประสงค์ ชนั้ ป.๖ t0.00 t100.00 ของผเู้ รียน t0.00 t100.00 t100.00 ชนั้ ป.๕ t0.00 t100.00 t0.00 t100.00 t100.00 ชนั้ ป.๔ t0.00 t0.00 ดีเยยี่ ม ดี พอใช้ ชนั้ ป.๓ t0.00 t0.00 ชนั้ ป.๒ t0.00 t0.00 ชนั้ ป.๑ t0.00 t0.00 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีผลการประเมินด้านความภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คุณภาพ ชนั้ ป.๖ t0.00 t100.00 t90.00 ชนั้ ป.๕ t10.00 t100.00 ชนั้ ป.๔ t0.00 t100.00 t100.00 ชนั้ ป.๓ t0.00 t100.00 ชนั้ ป.๒ t0.00 ชนั้ ป.๑ t0.00 ดเี ยย่ี ม ดี

15 ประเด็น ผลการประเมิน รอ้ ยละผลการประเมนิ นกั เรียนดา้ นการยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ นื่ สุขภาวะทางจติ ภมู ิคมุ้ กนั และความเปน็ ธรรมตอ่ สงั คมของนกั เรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ ที่อยู่ในระดบั ดเี ยยี่ ม ้รอยละt102.00 t100.00 t100.00 t100.00t98.00 t100.00t96.00 t100.00t94.00 t100.00t92.00 t90.90t90.00 t90.00t88.00 t100.00t86.00 t87.50t84.00 t95.75t82.00 t93.75t80.00 t100.00 t92.30 t92.30 t92.30 t100.00 t90.00 t90.00 t90.00 t100.00 t100.00 t100.00 t100.00 t100.00 ชนั้ ป.๑ ชนั้ ป.๒ ชนั้ ป.๓ ชนั้ ป.๔ ชนั้ ป.๕ ชนั้ ป.๖ การยอมรับความคิดเห็นผ้อู นื่ สขุ ภาวะทางจติ มีภมู ิค้มุ กนั ตวั เอง คานงึ ถงึ ความเป็นธรรมตอ่ สงั คม รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม t100.00 t100.00 ๑๐๐.๐๐ t100.00 t100.00 t100.00 ช้ัน ป. ๑ ชน้ั ป. ๒ ชนั้ ป. ๓ ชั้น ป. ๔ ชนั้ ป. ๕ ชั้น ป. ๖

16 ประเด็น ผลการประเมิน รอ้ ยละของนักเรยี นที่มนี ้ำหนัก ส่วนสงู และมีสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑม์ าตรฐาน t120.00 t100.00 t90.00 t87.50 t100.00 t85.71 t81t.8811.81 t76.92 t80t.7050.00 t81.25 t80.00 t68.75 t60.00 t40.00 t42.85 t56t.5265.25 t28.57 t46.15 t38.46t38.46 t20.00 t0.00 ชนั้ ป.1 ชนั้ ป.2 ชนั้ ป.3 ชนั้ ป.4 ชนั้ ป.5 ชนั้ ป.6 นา้ หนกั สว่ นสงู สมรรถภาพทางกาย ๓. จดุ เดน่ ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคน สามารถใช้ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง สง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนอยู่ในระดับดีเย่ียม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) สูงกว่าระดับชาติ ๒ วิชาทุกกลุ่ม สาระที่มีการทดสอบและต่อเนื่องมาโดยตลอดผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและ น้ำหนักส่วนสงู ตามเกณฑ์ มรี ะเบียบวนิ ยั เป็นท่ยี อมรบั ของชุมชน ๔. จุดควรพฒั นา ผเู้ รียนในระดบั ชน้ั ป.1 - ป.3 ยงั ตอ้ งเร่งพฒั นาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และแลกเปล่ียนเรียนรู้ อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนในระดับชนั้ ป.๔ – ป. ๖ ยังต้องได้รับการส่งเสริมในเรื่องการคิดวิเคราะห์ การเขียนสื่อสารและเร่งพัฒนาการเรียนการ สอนกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ

17 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ตัวอยา่ งที่ ๑ ระดับคุณภาพ: ดีเย่ียม ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัด ประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผน ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดขอบ ดำเนินการ พัฒนา ตามแผนงานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ มีการดำเนินการนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการ ดำเนินงาน และสรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๒. ผลการพัฒนา 2.1 สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความ ต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และสอดคล้อง กับแนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ 2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐาน ตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกจิ กรรมจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่กระตุน้ ผ้เู รยี นใหใ้ ฝเ่ รยี นรู้ 2.3 สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้ สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา โดยผู้มีสว่ นได้เสยี มสี ่วนร่วม ในการพัฒนาและร่วมรับผดิ ขอบ 2.4 ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา 2.5 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ท่ี เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ กีย่ วข้องมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา 2.6 สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่าย มีส่วนร่วม ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูป การศึกษา 2.7 สถานศึกษามีการระดมทรพั ยากรเพือ่ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผล ให้สถานศกึ ษามีส่ือ และแหลง่ เรยี นรู้ทีม่ ีคุณภาพ

18 วธิ กี ารพัฒนา ผลการพฒั นา การพัฒนาครบู คุ ลากร ทางการศึกษา แผนภมู แิ สดงจำนวนครั้งทค่ี รูเขำ้ รบั กำรอบรมพัฒนำทำง วชิ ำชพี 0% ยงั ไม่เคยรับการพฒั นา 100% 1 ครัง้ ตอ่ ภาคเรียน 2 ครัง้ ตอ่ ภาคเรียน มากกว่า 2 ครัง้ ต่อภาคเรียน การมสี ว่ นรว่ มของ แผนภมู ิแสดงจานวนเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมใน เครอื ข่ายในการวาง การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา 0% ยงั ไมเ่ คยรับการพฒั นา 100% 1 ครัง้ ตอ่ ภาคเรียน 2 ครัง้ ต่อภาคเรียน มากกวา่ 2 ครัง้ ต่อภาคเรียน

19 วิธีการพัฒนา ผลการพฒั นา การจัดหาทรัพยากร ผบู้ รหิ ารไดร้ ะดมทุนทรัพยากรสำหรับการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ในสถานศึกษาทง้ั ในรปู แบบของงบประมาณ และบุคคลทีเ่ ป็นภูมปิ ญั ญาจากทอ้ งถ่นิ มาช่วยในการ การนเิ ทศกำกบั สนบั สนุนการเรยี นการสอน ตดิ ตาม และ ประเมินผล ร้อยละของครทู ี่ได้รับการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม และ ประเมินผลจากผู้บริหาร ๖ คน ; ๑๐๐% ยงั ไมเ่ คยไดร้ บั การนิเทศ ๑ ครั้ง/ภาคเรียน ๒ ครง้ั /ภาคเรยี น มากกว่า ๒ คร้งั /ภาคเรียน ๒. จดุ เดน่ โรงเรียนมีการบรหิ ารและการจัดการอย่างเป็นระบบโรงเรยี นได้ใช้เทคนคิ การประชมุ ทหี่ ลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลมุ่ เพ่อื ให้ทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มในการกำหนด วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ที่ชัดเจน มีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่ มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาครูผู้สอนสามารถ จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำ รายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการ วางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา ๓. จดุ ควรพฒั นา ๑. เปิดโอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียน ๒. สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือของผูม้ สี ่วนเก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน ให้มีความ เขม้ แข็งมีสว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา และการขบั เคล่ือนคุณภาพ การจดั การศึกษา

20 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ระดับคุณภาพ: ดีเยยี่ ม ๑. กระบวนการและผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยการดำเนินงาน/ กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย ได้แก่งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาพัฒนาสู่ ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากลมีการบูรณาการ ภาระงานชิ้นงานโดยทุกระดับชั้นจัดทำหน่วยบูรณาการ อาเซยี นเศรษฐกิจพอเพียงปรับโครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ ละหน่วยกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการ สอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีสว่ นร่วมได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไ้ ด้ด้วยตนเองจดั การเรียนการ สอนที่เน้นทักษะการคิดเช่นจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศและ บรรยากาศตามสถานที่ต่างๆทั้งภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอนนวัตกรรมและ เทคโนโลยี ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ มีการประเมินคณุ ภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนทใ่ี ห้ครทู ุกคนทำงานวิจัย ในชนั้ เรยี นปกี ารศกึ ษาละ ๑ เรื่อง ๒. ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ส่งผลให้ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ ๓ อยู่ ในระดับดีเยี่ยม โครงการ ตวั ชีว้ ดั ผลการดำเนนิ งาน ๑. โครงการพัฒนา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา -ครูและบุคลากรทางการศึกษารอ้ ยละ ๑๐๐ การอ่านการสือ่ สาร รอ้ ยละ ๘๐ มีความสามารถใน สามารถจัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนา และคิดคำนวณ การจดั การเรียนการสอนอย่าง ผเู้ รียนในดา้ นทักษะการอา่ น เขยี น การ หลากหลายเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น ส่ือสารและคิดคำนวณไดผ้ ่านเกณฑร์ ้อยละ ทางด้านทักษะการอา่ นออกเขียน ๙๒.๗๗ ได้ ๒.โครงการ - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา - ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษาพอเพียง รอ้ ยละ ๘๐ จดั กิจกรรมให้นกั เรียน จดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนมีทักษะในการ (สง่ เสรมิ การศึกษา มีทกั ษะในการดำรงชีวติ ตามหลัก ดำรงชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ เพ่ือการมีงานทำ มี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอเพียง อาชพี ) -นกั เรียนรอ้ ยละ ๘๐ มที ักษะใน -นักเรยี นร้อยละ ๑๐๐ ไดล้ งมือปฏิบัตจิ รงิ มี การทำงาน และสามารถทำงาน ทกั ษะในการทำงาน และสามารถทำงาน ร่วมกับผอู้ ื่นได้ รว่ มกบั ผู้อน่ื ได้

21 โครงการ ตวั ช้วี ัด ผลการดำเนินงาน ๓.โครงการพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ ICT - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ ร้อยละ ๘๐ สามารถจัดการเรียน ๑๐๐ ไดอ้ บรมพฒั นากระบวนการใช้อุปกรณ์ การสอนโดยใชส้ อื่ ICT ในการ ทางด้าน ICT สบื ค้นข้อมูลและพัฒนานางาน สืบคน้ ขอ้ มูล พฒั นางานทางด้าน ด้านวชิ าการ การส่อื สาร ส่งผลให้ผู้เรยี นได้ วชิ าการ ทักษะในกระบวนการ ICT ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ ๔. โครงการพัฒนา - ครแู ละบุคลการทางการศึกษา -ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา รอ้ ยละ ระบบดแู ลนักเรยี น ร้อยละ ๘๐ สามารถนำระบบ ๑๐๐ สามารถนำระบบดแู ลนกั เรยี นมา ดูแลนักเรยี นมาใช้กับนกั เรยี นแต่ ชว่ ยเหลือนักเรยี นแต่ละบุคคลได้อย่าง ละคนได้อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพ เหมาะสมทำใหผ้ เู้ รียนมคี วามสามารถปรบั ตัว ของแต่ละคนทำให้การเรียนรู้ของ ให้เข้ากบั สภาพการจดั การเรียนร้ขู องผสู้ อน ผเู้ รียนเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๕. โครงการระดม - ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา - ครูและบุคลากรทางการศึกษา รอ้ ยละ ทรัพยากร รอ้ ยละ ๘๐ สามารถดำเนินงาน ๑๐๐ สามารถดำเนินงานตามโครงการระดม ตามโครงการระดมทรัพยากรได้ ทรัพยากรได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ นำ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นำทรัพยากร ทรัพยากรทีไ่ ด้มาพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ เหล่านน้ั มาพฒั นาและสง่ เสริมการ เพอื่ พัฒนาศักยภาพของผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพ เรียนรู้ของผเู้ รียนไดอ้ ย่างเหมาะสม สูงขน้ึ ๖.โครงการพฒั นา - ครูและบุคลการทางการศึกษา - ครูและบุคลการทางการศึกษา รอ้ ยละ สภาพแวดลอ้ มทาง ร้อยละ ๘๐ สามารถพฒั นา ๑๐๐สามารถพฒั นาสภาพแวดล้อมโดยการ กายภาพและสังคมท่ี สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ เสยี สละทุนทรัพย์และระดมทรพั ยากรตา่ งๆ เออื้ ต่อการจดั การ สังคมให้เออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ มาพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ เรยี นรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ อย่างมีคณุ ภาพ ทางสงั คมใหเ้ อื้อต่อการจัดการเรียนรไู้ ดอ้ ย่าง มคี ณุ ภาพสง่ ผลให้ผเู้ รยี นร้อยละ ๑๐๐ มี ความพงึ พอใจในความสภาพแวดล้อมท่ีดีขึ้น มคี วามกระตือรือรน้ ทจี่ ะพัฒนาตนเองให้มี คณุ ภาพมนดา้ นต่างๆ

22 โครงการ ตัวชวี้ ดั ผลการดำเนินงาน ๗.โครงการยกระดับ - ครูและบคุ ลการทางการศึกษา - ครูและบคุ ลการทางการศึกษา ร้อยละ ผลสมั ฤทธท์ิ างการ ร้อยละ ๘๐ พฒั นาการยกระดับ ๑๐๐ พัฒนาการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการ เรียน ๕ กลุม่ วิชา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ๕ กลุม่ เรยี นรู้ ๕ กลุ่มสาระไดค้ ะแนนเฉลี่ยสงู กว่า หลกั วิชาหลกั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมี ระดับชาติ ผลสัมฤทธ์ิสูงขนึ้ ๓. จุดเด่น ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะ กระบวนการคิด ไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง มกี ารใหว้ ิธีการและแหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลายและมกี ารนำภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมามี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมี สว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ มกี ารวิเคราะหจ์ ุดเด่น จุดดอ้ ย ของนักเรียน เพือ่ นำมาพัฒนานักเรยี นในแต่ละคนให้เป็นไปตามศักยภาพของแตล่ ะคน ๔. จดุ ควรพฒั นา พฒั นาการผลิตส่ือให้มีความหลากหลายเพยี งพอกบั ความต้องการของผู้เรียนและเหมาะสมกับกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ การคดิ วิเคราะห์และเขียนอย่างสมเหตสุ มผล เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและพัฒนาผ้เู รยี นให้มีระเบยี บวินยั ความรบั ผิดชอบ

23 มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในท่ีมปี ระสทิ ธผิ ล ระดบั คณุ ภาพ: ดีเยย่ี ม ๑. กระบวนการและผลการดำเนินงาน โรงเรยี นดำเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ๘ ประการไดแ้ ก่ ๑) กำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษามุ่งเน้น คุณภาพตามมาตรฐาน ๓)จัดการและ บริหารข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบโดยใช้ เทคโนโลยีช่วยในการเก็บข้อมูลวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็นสารสนเทศ ที่เป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา ๕) ดำเนินการ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๖)ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา๗) จัดทำรายงานประจำปีที่เสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน ๘) โรงเรียนดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องโดยจัดประชุมคณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา นำเสนอผลการดำเนินงานรายงาน ประจำปขี องสถานศึกษาในปีการศึกษาทีผ่ ่านมาวิเคราะห์ ผลการประเมินคุณภาพภายในจากรายงานประจำปี ของปีการศึกษาที่ผ่านมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีตามจุดที่ควร พัฒนาประกอบดว้ ย โครงการ/กจิ กรรมทจ่ี ะพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา โดยเน้นท่ผี ลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนจัดทำโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามีกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจแนว ทางการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในให้ครทู ุกคนในโรงเรียนเพื่อให้ คณะครูบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมี ความเข้าใจการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรยี น ให้ปฏิบัติหนา้ ที่ตดิ ตามตรวจสอบ และประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษาภาค เรียนละ ๑ ครั้ง จัดทำเครื่องมือให้นักเรียนประเมินตนเองในการเรียนรู้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตาม แผนพัฒนาตนเองที่วางไว้ คณะกรรมการประกันคุณภาพของโรงเรียนประเมินการดำเนินงานตามมาตรฐาน และสรุปผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงตลอดปีการศึกษา ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรม สรุปผลการดำเนนิ งานปรับปรงุ การทำงานอยา่ งมีสว่ นรว่ มของทุกฝา่ ยโรงเรยี นจัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจ และประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการของสถานศึกษาในการจัด การศึกษาของโรงเรียน ๒. ผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนมีการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็น ระบบ มีผลการประเมินคุณภาพภายในที่ระดับคุณภาพดีเยี่ยม และคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจในการยกระดบั คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น ๓. จุดเดน่ โรงเรียนให้ความสำคัญกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการสร้างความ เข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครูบุคลากร ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจนเป็น ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วน

24 รว่ มดำเนนิ การในรปู ของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคล ท่เี กย่ี วข้องทุกระดบั ๔. จดุ ควรพัฒนา โรงเรียนจัดระบบให้ครูประเมิ นตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองแต่ยังขาด การให้ข้ อมูล ย้อนกลับแกค่ รูในการพัฒนาตนเองในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรยี น นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้แต่ก็ยังขาดการติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของ นักเรียนเปน็ รายคน ๑. กระบวนการและผลการดำเนนิ งาน กระบวนการพัฒนา ผลการดำเนนิ งาน สถานศึกษาประเมินคุณภาพภายในตามระบบ เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา การประกันคุณภาพการศกึ ษา ๘ ประการ ปกี ารศกึ ษา๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ๑) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถาน ศึกษา ดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนื่อง t5.60 ๒) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษามุง่ เน้น จดั ทารายงานประจาปีที่เป็นคณุ ภาพภายใน t5.51 คณุ ภาพตามมาตรฐาน t5.00 ๓) จัดการและบริหารข้อมูลสารสนเทศ ทเี่ ป็น ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของ… t5.00 ระบบ ดาเนินการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา t5.00 ๔) จัดทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษา t4.50 ๕) ดำเนินการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ จดั ทาแผนพฒั นาการศึกษา t5.00 การศกึ ษา จดั บริหารข้อมลู สารสนเทสที่เป็นปัจจุบนั t4.67 ๖) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน ของ จดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษามงุ่ เน้น… t4.80 สถานศึกษา กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา t4.50 ๗) จัดทำรายงานประจำปีทีเ่ ป็นการประเมนิ t5.00 คณุ ภาพภายใน t4.51 ๘) ดำเนินการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง t4.90 t4.90 t5.00 t5.00 ปี๒๕๖๐ ปี๒๕๕๙

25 กระบวนการพัฒนา ผลการดำเนินงาน การมสี ่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบของผ้เู กย่ี วข้องทุก ผลการประเมินความพึงพอใจของผปู้ กครองตอ่ การยกระดับคณุ ภาพการจัด ฝา่ ยร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษาท่ีมี การศกึ ษาของโรงเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๐ คณุ ภาพ รอ้ ยละควำมพงึ พอใจของผูป้ กครองตอ่ กำรยกระดบั คณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ของโรงเรยี น 102.00 100.00 100.00 100.00 100.00 97.50 98.00 96.00 95.00 95.0095.00 94.00 92.50 92.00 90.00 87.50 88.00 86.00 84.00 82.00 80.00

26 สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดบั ๔ ดเี ย่ียม จากผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดีเยี่ยม ท้งั นเ้ี พราะมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศึกษา อยใู่ นระดบั ดีเย่ยี ม มาตรฐานท่๒ี กระบวนการบริหารและการ จดั การศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม มาตรฐานท่๓ี กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ใน ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลอยู่ในระดับดีเยี่ยม ทั้งนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายที่เป็นไปตามปัญหาและความต้องการ พัฒนาตามสภาพของผู้เรียนสอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผลการ พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยมพัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น ผู้เรียนมี ความสามารถในการอ่านและเขียนการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษความสามารถในการคิดคำนวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดีและมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและ คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากำหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏผลประเมินในมาตรฐานที่ ๑ ในด้าน กระบวนการบริหารจดั การของผู้บริหารสถานศึกษามีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับดีเยี่ยม สถานศึกษา มีการวางแผนออกแบบกิจกรรมและดำเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมใช้ผลการประเมินและการ ดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญมีผล ประเมินอยู่ในระดับดีเยีย่ ม วิเคราะห์ออกแบบและจัดการเรียนรู้ทีเ่ ป็นไปตามความตอ้ งการของหลักสตู ร และ บริบทสถานศึกษาพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อ พัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกขั้นตอนสถานศึกษาดำเนินงานตาม ระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นขั้นตอนจนเกิดคุณภาพประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผล ประเมินอยู่ในระดับดเี ยย่ี ม โดยสถานศกึ ษาใหค้ วามสำคัญกับผเู้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยเพ่อื เกดิ ความรว่ มมือในการวาง ระบบ และดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดีและผมู้ ีส่วนเกย่ี วข้อง มีความมั่นใจต่อ ระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศึกษาในระดับสูง

27 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น ๔ ๔ ๑. ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคดิ คำนวณ ตามเกณฑข์ องแต่ละระดบั ชนั้ ๓ ๒. ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแก้ปญั หา ๔ ๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ๓ ๔. ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ๓ ๕. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ๔ ๖. ความพรอ้ มในการศกึ ษาต่อ การฝกึ งานหรอื การทำงาน ๔ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน ๔ ๑. การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด โดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรมอันดีของสงั คม ๔ ๒. ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย ๔ ๓. การยอมรบั ท่ีจะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๔ ๔. สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา ๔ ๑. การมเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน ๔ ๒. การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๔ ๒.๑ การวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คุณภาพของผู้เรยี น ๔ รอบดา้ นทุกกลมุ่ เป้าหมาย และดำเนินการอย่างเปน็ รูปธรรม ๔ ๒.๒ การวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ๔ ทางวิชาชีพ ๒.๓ การวางแผนการบรหิ ารและการจัดการข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ๔ ๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อต่อ ๔ การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ ๓. การมสี ่วนรว่ มของผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ย และการร่วมรบั ผิดรบั ชอบต่อผลการจัด การศึกษาใหม้ ีคุณภาพและได้มาตรฐาน ๔. การกำกบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจดั การศึกษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ 28 ๑. การมกี ระบวนการเรยี นการสอนทส่ี รา้ งโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนมสี ว่ นรว่ ม ๒. การจดั การเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชมุ ชนและท้องถ่ิน ๔ ๓. การตรวจสอบและประเมินความรคู้ วามเข้าใจของผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ ๔ และมปี ระสทิ ธิภาพ ๔ มาตรฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในทีม่ ีประสทิ ธผิ ล ๔ ๔ การใช้ระบบการประกนั คุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษา ให้ดยี ิง่ ขนึ้ สรปุ ภาพรวม

29 สว่ นท่ี ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการชว่ ยเหลอื ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษา จะต้องนำไป วเิ คราะห์สงั เคราะหเ์ พื่อสรุปนำไปสกู่ ารเชอื่ มโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จ กับแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของ สถานศึกษา(๓-๕ปี)และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการ ดำเนนิ งานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมทัง้ แนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการการชว่ ยเหลือได้ดังน้ี จุดเด่น จุดควรพฒั นา •ด้ำนคณุ ภำพผเู้ รียน •ดำ้ นกระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำรของ ๑) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นมีผลการ ผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ ประเมินระดับชาติและระดับท้องถ่ินสูงขึน้ ทุกกลุ่มสาระ ๑) ควรสร้างเครือข่ายความรว่ มมอื กับผู้มสี ว่ น การเรียนรู้และนักเรียนกล้าแสดงออกร่าเริงแจ่มใส เกี่ยวข้องในการจัดการ ศึกษาของโรงเรียนให้มี สุขภาพกายแข็งแรง และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม ความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัด ตามที่สถานศึกษากำหนด การศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด ๒) ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมท้ัง การศึกษาและมีการแสดงความคิดเห็นอย่าง สามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคน สามารถใช้ หลากหลายร่วมกนั เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองส่งผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดเี ย่ยี ม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการ ศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าระดับชาติและมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า ร้อยละ๕๐รวม๓ กลุ่มสาระฯ ที่มีการทดสอบและ ต่อเน่ืองมาโดยตลอด ๓) ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสมรรถภาพทาง กายและน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัยเป็น ทีย่ อมรบั ของชุมชนโดยรอบ •ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การของ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ๑) ผู้บรหิ ารมีความตั้งใจมีความมุ่งมั่นมีหลักการบรหิ าร และมีวิสัยทัศน์ที่ดี ในการบริหารงานสามารถเป็น แบบอย่างที่ดีในการทำงานและคณะกรรมการ สถานศกึ ษามคี วามตั้งใจและมีความพร้อมในการปฏิบัติ หน้าทต่ี ามบทบาท

30 จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา ๒) โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจดั การอยา่ งเป็น ระบบโรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วมการประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนด วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป การศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษาครูผู้สอนสามารถ จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพมีการดำเนินการ นิเทศ กำกับติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และจัดทำ รายงานผลการจัดการศกึ ษาและโรงเรียนไดใ้ ช้ กระบวน วิจัยในการรวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นฐานในการวางแผน พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา •ดำ้ นกระบวนกำรเรียนกำรสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียน •ดำ้ นกระบวนกำรเรียนกำรสอนทเ่ี น้น เป็นสำคัญ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ๑) ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอมีความตั้งใจมุ่งมั่นในการ ๑) ครูควรจดั กิจกรรมเน้นใหผ้ ู้เรียนไดม้ ี ปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ย่างเตม็ เวลา และความสามารถ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ ๒) ครจู ัดกจิ กรรมให้นกั เรียนแสวงหาความรู้ จากส่ือ อย่างหลากหลายและใช้แหลง่ เรยี นรูใ้ นการพฒั นา เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง ตนเอง ๓) ครูให้นักเรียนมสี ่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ ๒) ครูควรจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในระดับช้นั สภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ ป.๑ – ป.๓ ให้สามารถนำเสนออภปิ รายและ ๔)ครูจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นเรียนรูจ้ ากการคิด ได้ แลกเปลยี่ นเรียนรอู้ ยา่ งสมเหตุสมผล และมี ปฏิบัติจริงดว้ ยวิธีการและแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ทกั ษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ไดอ้ ยา่ ง ๕) ผลงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นของครูทุกคนไดร้ บั การ เหมาะสม ตรวจประเมนิ และคำแนะนำจากคณะกรรมการ ๓) ครคู วรจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในระดบั ชั้น วิจยั ป.๔ – ป.๖ ใหม้ ีพฤติกรรม ทัศนคตทิ ีด่ ีตอ่ ความ เปน็ ไทยไม่หลงใหลกบั ค่านยิ มต่างชาติจนเกดิ การ ลอกเลียนแบบทำให้ลืมวัฒนธรรมอนั ดีงามของ ไทย ๔) ครูควรจดั การเรียนการสอนดว้ ยวิธกี ารท่ี หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และฝกึ

31 จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา ให้นักเรยี นได้คดิ วเิ คราะห์หาความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้สอ่ื เทคโนโลยี ใหม้ ากขึ้น และพัฒนาส่ือ แหลง่ เรยี นรู้ จดั เตรียมห้องปฏบิ ตั กิ ารให้อยู่ใน สภาพดี และพร้อมใชง้ านเสมอ ๕).ครคู วรวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ อง ผเู้ รยี นดว้ ยวธิ ที ห่ี ลากหลายตามสภาพจรงิ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ ธรรมชาตวิ ชิ า ๖.ครคู วรนาภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ขา้ มามสี ว่ น รว่ มในการจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ ๗.ครคู วรใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แก่นกั เรยี นทนั ที เพอ่ื นกั เรยี นนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง •ดำ้ นกำรประกันคณุ ภำพภำยในทมี่ ีประสทิ ธผิ ล •ดำ้ นกำรประกนั คณุ ภำพภำยในท่มี ี โรงเรียนให้ความสำคัญกับการดำเนินงานประกนั ประสทิ ธผิ ล คุณภาพภายในของสถานศึกษาเนน้ การสรา้ งความ ๑) สถานศกึ ษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเอง เข้าใจและใหค้ วามร้ดู ้านการประกันคุณภาพการศึกษา รายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการ กับ คณะครูบุคลากรทุกฝ่ายที่เกีย่ วขอ้ งอย่างชัดเจนเปน็ ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับแก่ครูในการพฒั นาตนเอง ใน ประโยชน์ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาการ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพ ดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการ ของนักเรยี น มีส่วนร่วม โดยดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ 2) นกั เรยี นมีการประเมนิ ตนเองในการ เรยี นรู้ แต่ สร้างวัฒนธรรมการประกนั คุณภาพภายในของ ยงั ขาดการตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื ด้านการเรียนรู้ของ สถานศกึ ษาให้กบั บุคคลทเี่ กย่ี วข้อง ทุกระดบั นกั เรียนเปน็ รายคน แนวทางการพฒั นาในอนาคต ๑. การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นการพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลให้ชัดเจนขึ้น ๒. การส่งเสริมใหค้ รูเห็นความสำคญั ของการจดั การเรยี นรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญการจัดทำการวจิ ยั ในช้ันเรยี นเพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นให้สามารถเรียนร้ไู ด้เต็มศักยภาพ ๓. การพฒั นาบคุ ลากรโดยส่งเข้ารบั การอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรใู้ นงานท่ีได้รับ มอบหมายติดตามผล การนำไปใช้และผลทเี่ กิดกบั ผู้เรียนอย่างต่อเนอื่ ง ๔.การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรียนรขู้ องชุมชน

32 ความต้องการและการชว่ ยเหลือ ๑. การพัฒนาครูผู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ท่ีสอดคล้องกับการพฒั นาผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ ๒. การสรา้ งข้อสอบทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ตามแนวทางของการประเมินO-NETและ PISA ๓. การจัดสรรครผู สู้ อนใหต้ รงตามวชิ าเอกที่โรงเรยี นมคี วามตอ้ งการและจำเป็น

ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก - ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กำหนดค่าเปา้ หมาย/อัตลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์ - คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะทำงานการเขียนรายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา - ประกาศแตง่ ต้งั คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา โดยผทู้ รงคุณวุฒิ /คณะตรวจสอบคุณภาพการเขียนรายงานประจำปีของสถานศึกษา - ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรยี นทุกระดบั ชน้ั - เกยี รตบิ ัตร