100 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พระราชพิธีได้ดำเนินไป ณ มณฑลพิธี และหน้าพลับพลา พระทน่ี ง่ั ในท่ามกลางฝงู ชนเนืองแน่น ท่ีมที ั้งชาวนา ชาวไร่ และผคู้ น ท่วั ไป ทง้ั หญิงชาย คนเฒา่ เดก็ แห่หอ้ มลอ้ ม ดูกนั อยา่ งใจจดใจจอ่ แม้แต่ชาวต่างประเทศกย็ งั สนใจมาชมงานด้วย ฉันได้เห็นพระยาแรกนาพาพระโคเทียมแอกไถ แล้วไถไป ตามกระบวนท่ีกำหนด เสร็จแล้วจึงหว่านเมล็ดข้าวเปลือก และ หลังจากน้ันได้พาพระโคไปเส่ียงทายกินข้าวเล้ียงต่อหน้าพราหมณ ์ โหรหลวง “ปีน้ีพระโคกินหญ้า นำ้ ท่าจะบริบรู ณ์” พอ่ บอกฉนั อยา่ งดีใจ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 101 หลงั จากทีพ่ ระราชพธิ ีไดเ้ สรจ็ ส้ินไปแลว้ ฉันก็รู้สกึ ต่ืนเตน้ เมอ่ื ได้เหน็ ผู้คน ชายหญงิ ท้งั หลาย พากนั วงิ่ กรูเขา้ ไปในบริเวณมณฑลพธิ ี ผู้คนต่างชุลมุนว่นุ วาย แย่งกันเก็บเมล็ดข้าวเปลอื กเพือ่ นำกลบั ไปบ้าน บ้างก็นำไปบูชาบนหิ้งสูงเพ่ือความเป็นสิริมงคล และชาวนาจะนำไป ผสมกับเมลด็ ขา้ วของตนเพ่อื ปลูกในปนี ี้ “นั่นเปน็ เมล็ดขา้ วเปลอื ก ท่ีในหลวงของเราทรงปลูกข้ึน จาก นาทดลองทส่ี วนจติ รลดา”
102 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พ่อบอกฉัน “มีพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลกที่ทรง ทำนา แถมทนี่ านัน้ กอ็ ยู่ในวังท่านเองด้วย” ฉนั นึกไม่ถึงจรงิ ๆ ในเรือ่ ง น้ี และอยากเหน็ วา่ นาในวังนั้นเป็นอย่างไร ระหว่างที่เดินทางกลับบ้านพ่อได้เล่าให้ฉันฟังว่า พระราชพิธี พืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญที่ได้เห็นวันน้ีเป็นพระราชพิธ ี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ใหฟ้ ืน้ ฟขู ้ึนใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เนอื่ งจากวา่ พระราชพธิ นี ี้ไดว้ า่ งเวน้ ไปในชว่ งหลงั เปลย่ี นแปลง การปกครองระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๗๙ - ๒๕๐๒ คงเหลอื อยู่แตพ่ ระราช พิธพี ืชมงคลทก่ี ระทำกนั เฉพาะในพระอโุ บสถวดั พระแก้วเทา่ นน้ั
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 103 การฟ้ืนฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญใน รัชกาลปัจจุบัน นอกจากจะทำเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่พืชพรรณ ธัญญาหารและเพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่กสิกรชาวนา ของชาติตามพระราชพิธีท่ีมีมาแต่โบราณแล้ว ยังได้มีการปรับปรุงพิธี บางอย่างตามแนวพระราชดำริให้เหมาะสมกับยุคสมัยด้วย โดยทรง ใหค้ วามสำคญั แกช่ าวนาเป็นหลกั ใหญ ่ ท้ังยังทรงโปรดฯ ให้วันพระราชพิธีพืชมงคลของทุกปีเป็น “วันเกษตรกร” ดว้ ย พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญแยกได้เป็น ๒ พธิ ีดว้ ยกนั คอื พืชมงคล และพิธแี รกนาขวญั พิธีพืชมงคลเป็นพิธีทำขวัญเมล็ดพันธ์ุพืชต่างๆ เช่น ข้าว เปลอื ก ขา้ วเหนยี ว ขา้ วฟ่าง ขา้ วโพด ถ่วั งา เผอื ก มนั และพชื อืน่ ๆ เพื่อใหเ้ มล็ดพชื เหล่านนั้ เจริญงอกงาม ปราศจากโรคตลอดจนภัยจาก แมลง และศัตรูพืชทกุ ประเภท ส่วนพิธีแรกนาขวัญเป็นพิธีแรกไถ โดยมีพระมหากษัตริย์ หรือวา่ ผ้แู ทนพระองคเ์ ป็นประธานในพิธี ก่อนท่ชี าวนาจะทำพิธีแรกนา ในนาของตนเอง
104 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั จิตรกรรมฝาผนงั พระพทุ ธรตั นสถานในพระบรมมหาราชวงั
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 105 จิตรกรรมฝาผนงั วัดราชประดิษฐส์ ถิตมหาสีมาราม พระราชพิธีดังกล่าวน้ี เหมือนเป็นสัญญาณบอกชาวนาว่า ฤดูฝนได้มาถงึ แลว้ และการทำนากำลงั จะเร่ิมต้นขนึ้ แลว้ ย่ิงกว่าน้ันในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ สำหรับรัชกาลน้ีแล้ว ต้องนับว่าเป็น “นาข้าว นาขวัญ” ของชาวนา ไทยอยา่ งแทจ้ รงิ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชดำริให้จัด ทำ “พนั ธุ์ขา้ วทรงปลูกพระราชทาน” ข้นึ ในแปลงนาของพระองคเ์ พ่ือ นำไปใช้ในพระราชพิธนี ้ีโดยเฉพาะ
106 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ เมื่อได้ข้าวแล้วจึงจะแจกจ่ายต่อไปยังพสกนิกร ผู้เป็นชาวนา ชาวไรท่ ั่วไป เปน็ ประเพณีดว้ ย “นาข้าวทดลอง สวนจิตรลดา” จึงนับว่าเป็นพยานแห่งพระ มหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมตี อ่ ชาวนาไทย... เมอ่ื ฉันกบั พ่อกลบั ถงึ บา้ น ได้ยนิ ฟา้ ร้องครืนครนื “ฝนจะตกไหมพ่อ” ฉนั ถาม พอ่ พยกั หน้าอยา่ งเชือ่ มน่ั “ตกสลิ ูก ตกแน่ๆ เพราะวันนี้ในหลวงไถนา” พ่อพูดยงั ไมท่ นั ขาดคำ ฝนกต็ กลงมาจรงิ ๆ ฝนตกจนแผ่นดินชุ่มฉ่ำเม่ืองานท่ีสำคัญของชาวนา งานของ แผ่นดิน กำลังจะเริ่มต้น ฉันยืนมองฟา้ มองฝน ด้วยหัวใจอนั เปน็ สุข
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 107
108 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
๑๐ ข้าวของพ่อ 109 พันธ์ุข้าวมงคล ขา้ พเจา้ มโี อกาสไดศ้ กึ ษาการทดลองและทำนามาบา้ ง และ ทราบดีว่าการทำนาน้ันมีความยากลำบากอยู่มิใช่น้อย จำเป็นจะต้อง อาศยั พนั ธข์ุ า้ วทด่ี แี ละวชิ าการตา่ งๆ ดว้ ย จงึ จะไดผ้ ลเปน็ ลำ่ เปน็ สนั ... พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวท่ีทรงตระหนักถงึ ความยากลำบากของชาวนา เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ขณะมองฝนตกชุ่มฉ่ำ พ่อไดเ้ ปรยกับฉันข้ึนวา่ “ลกู เคยคดิ ไหมละ่ วา่ จะมนี าขา้ วขนึ้ ในวัง” วา่ แลว้ พอ่ ก็ไดน้ ำเอาภาพจากหนังสือเลม่ หนงึ่ มาให้ฉันด ู ภาพนาขา้ วเขยี วขจี โรงสีข้าว กบั กองข้าวเปลอื กสที องทำให้ ฉันรสู้ กึ ต่นื ตา
110 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั และสมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟา้ วชิราลงกรณ เสดจ็ พระราชดำเนินทอดพระเนตรควายเหล็ก และกิจการในสวนจติ รลดา “น่ีแหละนาข้าวทดลองในสวนจิตรลดาของพระเจ้าอยู่หัว กับพันธ์ุข้าวที่ทรงปลูกพระราชทานชาวนา และที่ใช้ในพิธีแรกนาที่เรา ได้เห็นกนั มาแลว้ ” พอ่ อธิบาย ...ทั้งนี้เนื่องจากที่พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ แลว้ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ จงึ ได้ทรงมพี ระราชดำริใหจ้ ดั ทำ “พนั ธข์ุ ้าวทรงปลกู พระราชทาน” ข้นึ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 111 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้นำ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว “นางมล” ทก่ี รมการขา้ วไดจ้ ดั ถวายไปปลกู ทสี่ วนจติ รลดา เพื่อนำไปใช้ในพระราชพิธีพืชมงคลฯ ปีต่อไป แทนพันธ์ุข้าวเดิมท่ ี กรมการข้าวจัดทำเอง และด้วยเหตุนี้นาข้าวในสวนจิตรลดาจึงก่อ กำเนดิ ขึน้ แปลงนาดงั กลา่ วมเี นือ้ ทป่ี ระมาณ ๑,๐๐๐ ตารางเมตร โดย การเตรียมดนิ น้ันวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ พระองค์ได้ทรงมี รับสั่งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกุล นำควายเหล็ก เครื่องยนต์ดีเซล ๘.๕ แรงม้า มาใช้ในงานน้ีโดยเฉพาะ พร้อมกับพระราชทานคำ แนะนำในการปรับปรุง “ควายเหล็ก” ให้ได้รูปแบบท่ีดีเหมาะสมกับ การใชง้ านและผลติ ในประเทศไทย
112 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ อีกท้ังพระองค์ยังทรงขับรถไถนาควายเหล็กเพื่อเตรียมแปลง ปลกู ขา้ ว ตลอดทัง้ ทรงหวา่ นข้าวด้วยพระองค์เอง ต่อมาครั้นเมื่อต้นข้าวอยู่ในระยะตั้งท้อง พระองค์ยังได้ โปรดเกล้าฯ ให้จัดทำพิธีขวัญข้าวตามประเพณีโบราณด้วย เมื่อวันท่ี ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ในการทำพิธีขวัญข้าวนี้ได้มีการตั้งศาลแม่โพสพ ปักฉัตร ๙ ชน้ั ขนึ้ ทำดว้ ยรวงข้าวปักธงสีตา่ งๆ รอบแปลงนาขา้ ว ตลอดจนมกี าร แต่งบทร้องเพลง ทำขวัญแม่โพสพตามแบบโบราณด้วย โดยจัด เครือ่ งหอม สำหรบั แม่โพสพไวพ้ รอ้ มเพอื่ อาบน้ำ ตดั แต่งผม (ใบขา้ ว) ให้แม่โพสพเสร็จสรรพ อันนับว่าเป็นอุบายหนึ่งซึ่งสอดคล้องต้องกัน กับหลักวิชาการด้วย คือธงสีท่ีปักปั้นไว้ใช้สำหรับไล่นกที่จะลงจิกกิน ข้าว ส่วนการตัดแต่งใบข้าว ก็เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเฝือใบ อันจะ ทำให้ผลผลติ ตกตำ่ “เห็นไหมว่า ในหลวงท่านไม่ทรงท้ิงประเพณีโบราณ ท่าน ทรงเขา้ ใจประเพณีของชาวนาดี” พ่อพูดดว้ ยน้ำเสียงปลาบปลมื้ “นอกจากน้ี ลูกควรรู้ไว้ว่า พระเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงเก่ียวข้าว นาแปลงนดี้ ้วยพระองคเ์ องอกี ด้วย”
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 113 ฉันย้อนนึกถึงภาพชาวบ้านว่ิงกรูกันเข้าเก็บเมล็ดข้าวเปลือก ในวันพืชมงคลฯ แล้วก็สิ้นสงสัย “พันธ์ุข้าวมงคล” แท้จริงน่ีแหละ คือ “ขา้ วของพ่อ” ... ปัจจุบันพ้ืนที่ทำนาทดลองแปลงนี้อยู่ฝ่ังถนนศรีอยุธยา ตรงข้ามสนามม้านางเล้ิง หรือท่ีมีชื่อเป็นทางการว่าสนามม้า ราชตฤณมยั เป็นโครงการในพระองค์โดยมีสถานีทดลองข้าวบางเขน กรมวิชาการเกษตร (กรมการข้าวเดิม) เป็นผู้ปฏิบัติงานสนอง พระราชดำร ิ
114 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ การปฏบิ ัตงิ านภายในรอบปีทีน่ าข้าวทดลองสวนจติ รลดา คอื การปลูกข้าวนาสวน ขา้ วไร่ในฤดูฝน หลงั จากการเกบ็ ข้าวเสร็จแลว้ ใน ชว่ งฤดแู ลง้ ไดป้ ลกู พืชตระกูลถ่ัวหมุนเวยี นในนาขา้ วดว้ ย พนั ธ์ุข้าวท่ีปลกู แยกเป็น ๒ ประเภท คอื ขา้ วพนั ธ์คุ ัด : เปน็ ขา้ วพันธ์ดุ หี ลายสายพนั ธ์ุ แยกปักดำและ เกบ็ เกย่ี วได้แลว้ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตนำรวงขา้ วไปปลกู ขยายพันธุ์ตามสถานีทดลองของกรมการข้าวทุกแห่งและแพร่ขยายให้ ชาวนาทวั่ พระราชอาณาจักรรับไปปลกู ตอ่ ไป ข้าวพันธ์ุหลัก : เป็นข้าวพันธุ์ดีที่คัดไว้จากข้าวพันธ์ุคัดที่ เหมาะสมแก่การปลูกตามภาคต่างๆ ทั่วประเทศ มีข้าวเหนียว และ ขา้ วเจา้ ซง่ึ เปน็ ขา้ วนาสวน และขา้ วนาเมอื ง (ขา้ วฟางลอยหรอื ขา้ วขน้ึ นำ้ )
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 115 ปัจจบุ นั นาขา้ วทดลองสวนจติ รลดา ปลกู ขา้ ว ๓ วิธี คือ การทำนาสวน : เป็นการปลกู ขา้ วแบบตกกลา้ ปกั ดำในนาลมุ่ น้ำขัง เนอื้ ท่ปี ระมาณ ๓.๖ ไร่ มขี า้ วพันธหุ์ ลกั ๘ พนั ธ์ุ ซึง่ เปน็ พันธุ์ มาตรฐานท่สี ง่ เสริมใหช้ าวนาปลูกในภาคต่างๆ ของประเทศ นอกจากน้ียังมีแปลงนาสาธิตแสดงพันธุ์ข้าวของรัฐบาลอีก ๔๘ พนั ธุ์ และเพอื่ สง่ เสรมิ การศกึ ษาทางภาคปฏบิ ตั เิ รอื่ งการปลกู ขา้ วใน ฤดูฝน ซึ่งเปน็ ชว่ งของการปลกู ขา้ วนาปนี นั้ ทางโครงการนาทดลองยงั ได้จัดแปลงนาพิเศษสำหรับฝึกสอนวิธีการปลูกข้าวแบบปักดำให้แก่ นักเรียนโรงเรยี นจิตรลดาเปน็ ประจำทกุ ปี เพือ่ การศึกษาอีกด้วย การปลูกข้าวไร่ : ปลูกแบบเมล็ดหยอดในนาดอน เน้ือที่ ประมาณ ๑.๒ ไร่ พันธุข์ า้ วไร่ทปี่ ลกู มที ัง้ ข้าวเหนยี ว และขา้ วเจ้า เปน็ ข้าวพันธ์ดุ ที ส่ี ง่ เสริมใหช้ าวนาปลูกเชน่ กัน การปลูกพืชหมุนเวียนในนาข้าว : จะปลูกพืชตระกูลถั่วชนิด ตา่ งๆ เช่น ถวั่ เขียว ถัว่ เหลือง ถั่วลิสง โดยปลูกในฤดูแลง้ หลงั จากท่ี เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว เพื่อบำรุงดิน อีกท้ังยังเป็นการสาธิตการปลูก พชื ไร่หลงั การทำนาให้เกดิ ประโยชน์มากทส่ี ุดในรอบปี เมล็ดพันธ์ุถ่ัวที่เก็บได้น้ี กรมส่งเสริมการเกษตรก็ได้นำไป แจกจ่ายเกษตรกรเชน่ เดยี วกบั “พันธุข์ า้ วทรงปลูกพระราชทาน”
116 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ นอกจากโครงการนาทดลองแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ยังมีโครงการท่ีเกี่ยวข้องกับข้าวอีกคือ โครงการโรงสีข้าวแบบ ระบบแรงเหวีย่ งสวนจติ รลดา และโรงบดแกลบ เพื่อเป็นการศึกษาข้อมูลต่างๆ ทั้งในเรื่องของโรงสี และค่า ใช้จ่ายต่างๆ ในการสีข้าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงสีตัวอย่างข้ึน โดยให้ข้าราชการใน พระองค์รวมกลุ่มกันในรูปสหกรณ์ พร้อมกับพระราชทานเงินทดรอง จ่ายใหก้ อ่ นจำนวนหนงึ่ แสนบาท เพ่อื เร่ิมกจิ การขั้นตน้ ท้ังนี้โรงสีข้าวในสวนจิตรลดา ได้ดำเนินการซื้อข้าวเปลือกใน ราคาท่เี ป็นธรรม จากน้นั ก็จะสเี ปน็ ขา้ วสารจำหน่ายในราคาถูก
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 117 โรงสีแห่งน้ีเป็นโรงสีระบบแรงเหวี่ยง โดยม.ร.ว.เทพฤทธ ์ิ เทวกุล คิดแบบให้เหมาะสมมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ใช้เวลาดำเนิน การกอ่ สร้างเสร็จท้ังระบบถงึ ๓ ปีเต็ม รูปแบบของโรงสีนี้ได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของโรงสีขนาดเล็ก ตามหมู่บ้านในชนบทอีกหลายแห่ง เช่น นิคม สหกรณ์ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และศูนย์ศึกษาเพ่ือการพัฒนา เขาหินซอ้ น จงั หวดั ฉะเชิงเทรา เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินทรง เป็นประธานในพิธีเปิดโรงสขี ้าวตัวอย่างนี้ เมอ่ื วนั ที่ ๗ พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๑๔
118 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ โรงสีแห่งน้ีนอกจากจะเพ่ิมมูลค่าของผลผลิตข้าว ช่วย อนุรักษ์ป่าไม้และใช้ประโยชน์ของเหลือจากโรงสีให้เกิดประโยชน์ สงู สดุ แลว้ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ พระองคย์ งั ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งโรงบดแกลบขึ้นอกี แห่งหนง่ึ ใกลๆ้ กับโรงสีน้ดี ว้ ย โรงบดแกลบแห่งน้ีได้ทดลองบดแกลบผสมกับผักตบชวาอัด เป็นแท่งแล้วไปเผาให้เป็นถ่าน ตลอดจนทดลองผลิตแกลบบดผสม กบั ปยุ๋ เคมแี ละปยุ๋ คอกสตู รตา่ งๆ ออกจำหนา่ ยในราคาถกู ซง่ึ ปรากฏวา่ ไดร้ บั ความนิยมเปน็ อย่างดีย่ิง
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 119 ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๖,๘๒๐,๐๐๐ บาท (หกล้านแปดแสนสองหมื่นบาท) เพื่อ ก่อสร้างโรงสีข้าว ขนาด ๖๐ เกวียนต่อวัน ท่ีตำบลโนนศิลาเลิง ก่ิงอำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธ์ุ และพระราชทานช่ือว่า โรงสีข้าว พระราชทาน เม่ือกอ่ สรา้ งโรงสขี า้ วพระราชทานเสรจ็ จงึ ใหช้ าวบา้ นสมาชกิ สหกรณ์เข้าไปจดั การดแู ล ตัง้ แต่การคัดเมล็ดพันธขุ์ ้าวเพาะปลูก การ ปรับเปล่ียนวิธีปลูกแบบดั้งเดิม โดยลดการใช้สารเคมี เสริมการใช้ ปุ๋ยอินทรีย์อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม นำคนหนุ่มคนสาวกลับสู่ไร่นา ไม่ต้อง ออกไปขายแรงงานในเมอื งหลวงหรือในต่างประเทศ
120 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ คร้ันไดผ้ ลผลิตแล้วก็นำข้าวมาขายให้โรงสีพระราชทาน ซงึ่ มี บริษัทเอกชนเข้ามาช่วยบริหารด้านการตลาด เพ่ือขยายผลผลิตให้ ทันกับความต้องการของตลาด และเพ่ิมมูลค่าให้กับข้าวไทยจน สามารถส่งไปจำหน่ายยังประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และใน ยุโรปบางประเทศ ผลิตภัณฑ์ข้าวจากโรงสีข้าวพระราชทานจึงเป็นข้าวที่มี คุณภาพ ปราศจากสิ่งปลอมปน สามารถคัดเกรดของเนื้อข้าว บรรจุ หีบห่ออย่างสวยงาม ท้ังยังแยกประเภทของข้าวชนิดต่างๆ ได้อย่าง หลากหลายอีกดว้ ย โครงการนาทดลองสวนจิตรลดา โครงการโรงสขี า้ วบดแกลบ และโครงการโรงสีข้าวพระราชทาน แม้เป็นเพียงส่วนหนึ่งในโครงการ สว่ นพระองคห์ ลายโครงการ หากแตแ่ สดงวา่ ทรงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ต่อชาวนาไทยอย่างเหลอื ล้น ฝนยังคงตกลงมา ช่างเย็นช่ืนหัวใจแท้ สายฝนหล่ังมาจาก ฟากฟ้าสรุ าลัยสู่แดนดิน ดจุ ดั่งน้ำพระทัยของพระเจา้ อยูห่ วั ทที่ รงมีตอ่ พสกนิกรของพระองค์ ผ้เู ป็นชาวไรช่ าวนาท่วั แผ่นดนิ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 121 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทอดพระเนตรกิจการโรงสขี า้ วตวั อย่าง สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ิต
122 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
๑๑ ข้าวของพ่อ 123 ฝนหลวง “แต่ มาเงยหน้าดูท้องฟ้า มีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างน้ี ทำไมจะดึงเมฆน่ีลงมาได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝนก็มาปรารภกับ คณุ เทพฤทธ์ิ ฝนทำได้ มหี นงั สอื เคยอา่ นหนงั สอื ทำได”้ พระราชดำรสั ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงคิดหาหนทางในการแก้ปัญหา ฝนแล้งให้แกพ่ สกนิกรชาวไรช่ าวนา เทพเทวดาท่ีสถิตอยู่บนฟ้าและบันดาลให้ฝนตกลงมา เม่ือ ชาวบ้านร้องขอ ในขณะที่เทพเทวดาบนแผ่นดินน้ีทรงปรากฏพระองค์ อยูอ่ ย่างรู้ใจใกลช้ ิดกับชาวบ้านยงิ่ กว่า
124 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พธิ ีแห่นางแมว ชีวิตของชาวนาเม่ือแต่ก่อน ยามฝนฟ้าแห้งแล้งก็ไม่รู้จะ หันหน้าไปทางไหน นอกจากสวดอ้อนวอนขอเอาจากส่ิงศักด์ิสิทธิ์หรือ เทพยดาเบื้องบนแล้ว ยังขอฝนกระทั่งจากสัตว์อย่างแมวท่ีชาวบ้าน เชื่อว่า เม่ือแมวรอ้ ง ฝนจะตก “นางแมวเอย...ขอฟ้าขอฝน ขอน้ำมนต์รดหัวนางแมว... เอย...เอ้า...ตกลงมาๆๆๆๆ ฝนเทลงมาๆๆๆๆ ตกมาพอทำนาได้... อย่าให้ถงึ กบั ต้องให้ใชเ้ รอื แจวเอย...” ฉันถึงกับหัวเราะ เมื่อพ่อทำทา่ ว่าเป็นขบวนแหน่ างแมวขอฝน ใหฉ้ นั ดู และเอ้ือนทำนองเพลงรอ้ งขา้ งบนนั่นให้ฉันฟังไปดว้ ย เมือ่ ฉนั บอกพ่อวา่ ไมเ่ คยเหน็ ขบวนแห่นางแมว
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 125
126 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พธิ แี ห่นางแมวท่อี ำเภอศรปี ระจนั ต์ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 127 พ่อบอกว่าพิธีแห่นางแมวทั่วไป หรือว่าพิธีเต้านางแมวทาง อีสาน เปน็ ขบวนการขอฝนอกี รูปแบบหนึ่งของคนไทยในทุกภาค ด้วย เช่ือว่าแมวเป็นสตั ว์ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ถา้ นำแมวมาแห่ ฝนจะตก ขา้ วขาดฝน นาขาดนำ้ นบั เป็นเรือ่ งสำคัญมากสำหรบั ชาวนา ไทย ดังน้ันพิธีขอฝน คติความเชื่อเกี่ยวกับฝนและน้ำ จึงเป็น วัฒนธรรมข้าวที่ขาดไม่ได้ของคนไทยและชาวนาด้ังเดิม ท่ีเชื่อว่าฝน มาจากเทพเทวดาและสง่ิ ศักด์สิ ิทธต์ิ ่างๆ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการขอฝนจากแมว จากพญาแถน จากแม่ พระธรณี หรอื วา่ จากพญาปลาชอ่ น ปลาค่อ และพญาคันคาก ทีเ่ ชอื่ กนั ว่าเปน็ อดตี ชาติของพระพุทธเจ้ากต็ าม อย่างเช่นงานบุญบ้ังไฟท่ีย่ิงใหญ่ของอีสาน ท่ีมีทั้งขบวนแห่ บั้งไฟและขบวนรำเซิ้งกันอย่างสนุกสนานทุกวันน้ี ก็เป็นประเพณี พิธีกรรมท่คี นอสี านและชาวนาอสี านขอฝนจากเทพยดาพญาแถน ด้วยเช่ือว่าพญาแถนเป็นเทพยดาองค์หน่ึง ซึ่งจะบันดาลให้ ฝนตกต้องตามฤดกู าลและทำใหข้ า้ วปลาอดุ มสมบรู ณ ์ “แต่ในหลวงของเราก็ทรงทำให้ฝนตกได้ ลูกพอจะรู้ใช่ไหม” พ่อว่า ฉนั รบี พยกั หนา้ “ใช่แล้วพ่อ ฝนหลวง ฝนของในหลวง”
128 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ งานบญุ บง้ั ไฟ จงั หวดั รอ้ ยเอด็
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 129 พ่อบอกว่า จากกระแสพระราชดำรัสท่ีได้ทรงรับสั่งมาข้างบน น่นั ไดท้ ำใหเ้ กิดฝนเทยี ม หรือว่าฝนหลวงข้ึนในเวลาตอ่ มา พระราชดำริโครงการฝนหลวงหรอื โครงการทำฝนเทยี ม เพื่อ ใช้แก้ปัญหาความแห้งแล้งขาดแคลนน้ำน้ัน นับว่าเป็นอีกโครงการ หนึ่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระมหากรุณาธิคุณเป็น ยิ่งนัก สำหรับชาวนาและราษฎรท่ัวไปในยามที่เกิดฝนทิ้งช่วงห่างอยู่ นานเกินไป การทดลองทำฝนหลวงคร้ังแรก เริ่มที่อำเภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒
130 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ โครงการน้ีช่วยเหลือให้พื้นที่เพาะปลูกพ้นจากความเสียหาย เนื่องจากความแห้งแล้งนับได้เป็นหลายล้านไร่ เพราะสามารถกำหนด บงั คบั ฝนใหต้ กลงส่พู ืน้ ท่ีตามเปา้ หมายไดส้ ำเรจ็ ฉนั นกึ ถึงเทพเทวดาทสี่ ถิตอยูบ่ นฟา้ และบันดาลให้ฝนตกลง มาเมื่อชาวบ้านร้องขอ ในขณะที่เทพยดาบนแผ่นดินน้ี ทรงปรากฏ พระองค์อยู่อย่างรู้ใจใกล้ชดิ กับชาวบา้ นย่ิงกว่า “ฝนหลวง” คือน้ำฝนจาก “ในหลวง” อันเกิดจากน้ำ พระราชหฤทยั ทเ่ี ป่ียมล้นดว้ ยพระเมตตาโดยแท้
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 131 การปฏิบตั ิการทำฝนเทยี ม อำเภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสีมา เมอ่ื ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒
132 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
๑๒ ข้าวของพ่อ 133 สหกรณ์-ธนาคารข้าว “เว ลานึกถึงทำไมมีข้าวมาก ราคาข้าวก็ตก ก็น่าจะ เป็นการดีท่ีมีข้าวมาก พวกเราท่ีบริโภคข้าวก็จะได้ซื้อข้าวในราคาถูก แต่หารู้ไม่ว่าข้าวท่ีบริโภคทุกวันนี้ ราคาก็ยังแพงเป็นท่ีเดือดร้อนแก่ ประชาชนทว่ั ไป กต็ อ้ งหาเหตผุ ล ทำไมแพง ขา้ วทบ่ี ริโภคแพงและขา้ วท่ี ชาวนาขายถกู ... เขา้ ไปหากลมุ่ ชาวนา ถามเขาวา่ เปน็ อยา่ งไร เขาบอก ว่าแย่ ข้าวราคาถูก ก็ถามเขาว่า ยุ้งฉางมีหรือเปล่าที่จะเก็บข้าว เขาบอกว่ามี ก็เลยเห็นว่าควรท่ีจะเก็บข้าวเอาไว้ก่อน หลังจากท่ีข้าว ลน้ ตลาด แตว่ า่ ไมท่ นั นกึ ดวู า่ ทำไมเขาเกบ็ ขา้ วไม่ได้ แมจ้ ะมยี งุ้ ฉาง ก็ เพราะเขาติดหน้ี เหตุท่ีติดหนี้ก็คือ เสื้อผ้าเหล่าน้ันหรือกะปิ น้ำปลา
134 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ หรอื แมก้ ระทง่ั ขา้ วสารกต็ อ้ งบริโภค ถา้ ไม่ได้ไปซอื้ ทตี่ ลาด หรอื รว่ มกนั ซอื้ กค็ งเปน็ พอ่ คา้ หรอื ผซู้ อ้ื ขา้ วเปน็ ผนู้ ำมา อนั นก้ี เ็ ปน็ จดุ ทท่ี ำใหข้ า้ วถกู ... ขา้ วเปลอื กถกู แลว้ กท็ ำใหข้ า้ วสารแพง คอื วา่ ชาวนาทำนาไปตลอดปี ก็ต้องบริโภค เม่ือต้องบริโภคก็ต้องเอาส่ิงของ ต้องไปติดหนี้เขามา สำหรับหาส่ิงของบริโภค แล้วก็เอาเคร่ืองบริโภคก็ได้รับบริการอย่างดี ท่ีสุดสำหรับผู้มาซ้ือข้าว บอกว่าไม่ต้องเอาข้าวมาเดี๋ยวนี้ เวลาได้ผล แล้วก็จะเอา แต่ว่าเอาส่ิงของมาให้แล้วก็เช่ือ ของนั้นก็มีราคาแพง เพราะว่านำมาถึงที่ ข้าวที่เวลาได้แล้วจะขายก็ต้องขายในราคาถูก เพราะว่าเขามักรับถึงที่ อันนี้เป็นปัญหาสำคัญถ้าจะแก้ปัญหานี้ ก็จะ ตอ้ งแกจ้ ดุ นี้ ตอ้ งแกด้ ว้ ยการรวมกลมุ่ เปน็ กลมุ่ ผบู้ ริโภคเหมอื นกนั แลว้ ก็ไปตดิ ตอ่ กบั กลมุ่ ผผู้ ลติ โดยท่ีไปตกลงกนั และอาจจะตอ้ งตง้ั หรอื ไป ตกลงกบั โรงสีใหแ้ น่ จะได้ไมต่ อ้ งผา่ นหลายมอื ถา้ ทกุ คนทบี่ ริโภคขา้ ว ต้ังตัวเป็นกลุ่ม แล้วก็ไปซื้อข้าวเปลือก แล้วไปพยายามสีเองหรือให ้ ผู้แทนของตัวสี ก็ผ่านมือเพียงผู้ที่ผลิต ผู้ที่สี และผู้ท่ีบริโภค ก็ตัด ปญั หาอนั น้ี (คนกลาง) ลงไป” พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในโอกาสเสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทรงดนตรี ทมี่ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 135 “…ถ้าจะแก้ปัญหานี้ ก็จะต้องแก้จุดน้ี ต้องแก้ด้วยการรวม กลุ่มเป็นกลุ่มผู้บริโภคเหมือนกันแล้วก็ไปติดต่อกับกลุ่มผู้ผลิต โดยท่ี ไปตกลงกัน และอาจจะต้องต้ังหรือไปตกลงกับโรงสีให้แน่ จะได้ไม่ ต้องผ่านมือหลายมือ ถ้าทุกคนท่ีบริโภคข้าวต้ังตัวเป็นกลุ่มแล้ว ก็ไป ซอื้ ข้าวเปลือก แลว้ ก็ไปพยายามสเี องหรอื ให้ผ้แู ทนของตัวสี กผ็ ่านมอื เพยี งผทู้ ผี่ ลติ ผทู้ สี่ ี และผทู้ บี่ ริโภค กแ็ กป้ ญั หาอนั น้ี (คนกลาง) ลงไป” พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงคิดจะ แก้ปัญหาพ่อค้าคนกลาง เพ่ือเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ชาวนา ในวโรกาส เสด็จพระราชดำเนนิ ไปทรงดนตรีท่มี หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วันท่ี ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔ พ่อบอกว่า เมื่อเอ่ยถึงคำว่าธนาคารแล้ว ปกติทุกคนมักจะ นึกถงึ เงินทอง แตธ่ นาคารของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวไม่ใช่เช่นน้ัน “ธนาคารของในหลวงเป็นธนาคารข้าว เป็นที่เก็บข้าวเปลือก ของชาวนา” พอ่ ว่า
136 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ เพื่อให้ฉันได้เห็นภาพชัด พ่อได้เล่าถึงชีวิตชาวนาเม่ือแต่ครั้ง ก่อนว่าเป็นชีวิตของครอบครัว หรือของหมู่บ้าน ชุมชน ซึ่งล้วนแล้ว แต่มีความสัมพันธ์ฉันญาติสนิทมิตรสหาย ทุกอย่างจึงเป็นไปด้วย ความสมานฉนั ท์และเอ้อื อาทรตอ่ กัน
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 137 เม่ือถึงฤดูกาลทำนาเพาะปลูกทุกฝ่ายก็จะช่วยเหลือแลก เปลย่ี นแรงงานซงึ่ กนั และกนั ระดมแรงงานชว่ ยกนั นบั ตง้ั แตก่ ารปกั ดำ ต้นกล้าไปจนถึงเก่ียวข้าว นวดข้าว จนกระท่ังไปถึงการขนข้าวเข้า ย้งุ ฉาง “ลูกคงจะเคยได้ยินคำว่า ลงแขกหรือเอาแรง” พ่อเปรยกับ ฉนั ก่อนจะเลา่ ต่อ ธนาคารของในหลวงเป็นธนาคารข้าว เป็นท่ีเก็บข้าวเปลือก ของชาวนา คือแหล่งอาหารสำรองหมุนเวียนในหมู่บ้าน หลักการ บริหารของธนาคารข้าวเป็นการอิงลักษณะการบริหารธนาคาร โดยมี ข้าวเปลือกเปน็ ทรพั ย์สินท่ีปลอ่ ยก้ ู
138 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ประเพณี “ลงแขก” หรือว่า “การเอาแรง” เป็นการระดม แรงงานในการปักดำและเก่ียวข้าวของชาวนาไทย ท้ังจากครอบครัว เครือญาติ กลุ่มเพื่อนบ้าน ตลอดจนชาวบ้านท่ัวๆ ไปท่ีอยู่ในชุมชน เดียวกนั หรอื ว่าใกล้เคยี งกนั
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 139 นับเป็นระเบียบทางสังคมท่ีวัฒนธรรมข้าวได้สร้างข้ึนมาโดย เฉพาะ ฉันรู้สึกเสียดายเมื่อได้ฟังพ่อเล่าถึงชีวิตชาวนาไทยเมื่อคร้ัง เก่า โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือมีการ “เอาแรง” หรือ “ลงแขก” ในฤดู เก็บเก่ยี วข้าวทผ่ี ูค้ นเกอื บทกุ รนุ่ ทั้งคนหนมุ่ คนสาว คนเฒา่ แก่ และ แม้แต่เด็กเล็ก ต่างได้มาพบปะกันทำงานช่วยเหลือร่วมกันอยู่ในทุ่ง ข้าวและกท็ ำงานอยรู่ ่วมกันทลี่ านดนิ หนา้ บ้านทั้งกลางวันและกลางคืน มีเสียงเพลงเกี่ยวข้าวที่ร้องหยอกล้อเล่นกันอย่างสนุกสนาน เฮฮา ท้งั เสยี งหัวเราะ และเพลงรอ้ งลอยอยู่เหนือทงุ่ นาสนี ้ำตาล ชีวิตเหลา่ นี้ผ่านไปแล้วและยากท่ีจะหวนกลบั คนื มา “ชีวิตชาวนาเมื่อแต่ก่อน มีการรวมตัวกันเหมือนกับกลุ่ม สหกรณ์อย่างหนึ่ง” พ่อว่า “และน่ีก็น่าจะคือที่มาของงานสหกรณ์ ชาวนาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว” พระราชดำรัสดังกล่าวข้างต้นนั้น สะท้อนให้เห็นว่าพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักดีว่า ชาวนาในทุกวันน้ีขาดอำนาจ ต่อรอง เมื่อต้องดำเนินการตามลำพัง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการ ซ้ือขายข้าวท่ีชาวนามักขาดความรู้ความเข้าใจในกลไกของตลาดข้าว ยุคใหม่
140 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับทราบปัญหาน้ี จึงได้ ทรงมีพระบรมราโชบายสนับสนุนให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันจัดตั้งเป็น หมู่บ้านสหกรณ์ ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มรวมพลังกันของกลุ่มเกษตรกร และชาวนา ไม่ว่าจะเสด็จประพาสยังท้องถิ่นชนบทท่ีทุรกันดาร ณ แห่ง หนใด พระองค์ก็จะทรงแนะนำ ให้นำหลักการสหกรณ์มาใช้แก้ไข ปญั หาความเดือดรอ้ นในการประกอบอาชีพ ข้อดีของระบบน้ีก็คือ สอนให้ราษฎรรู้จักช่วยเหลือตัวเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ลดการเอาเปรียบของพ่อค้าคนกลางและ นายทนุ ลดตน้ ทุนการผลติ และเพ่มิ ราคาผลิตผลของตนเอง โครงการสหกรณ์ตามพระราชดำริ จึงเกิดขึ้นตามท้องถิ่น ตา่ งๆ ท่ัวประเทศ ธนาคารข้าวก็คือส่วนหนึ่งในโครงการสหกรณ์ตามพระ ราชดำริ ดังที่ได้พระราชทานแนวทางดำเนินงานธนาคารข้าวเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เอาไวด้ งั นี้ว่า “ธนาคารข้าว ให้มีคณะกรรมการควบคุม ท่ีคัดเลือกจาก ราษฎรในหมู่บ้านเป็นผู้เก็บรักษา พิจารณาจำนวนข้าวท่ีจะให้ยืม และรบั ข้าวคืน ตลอดจนจัดทำบญั ชที ำการของธนาคารขา้ ว ราษฎรที่
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 141 ต้องการข้าวไปใชบ้ ริโภคในยามจำเป็น ให้คงบัญชยี มื ขา้ วไปใช้จำนวน หน่ึง เม่ือสามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้แล้วก็นำคืนธนาคาร พร้อมด้วย ดอกเบีย้ (ข้าว) จำนวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน ซงึ่ ขา้ วเป็นดอกเบีย้ ดงั กลา่ ว กจ็ ะเกบ็ รวบรวมไว้ในธนาคาร และถอื เปน็ สมบตั ขิ องสว่ นรวม ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งฉางที่แข็งแรง ทั้งนี้หากปฏิบัติตาม หลักการที่วางไว้ จำนวนข้าวที่หมุนเวียนในธนาคารจะไม่มีวันหมด แต่จะค่อยๆ เพิ่มจำนวนข้ึน และจะมีข้าวสำหรับบริโภคตลอดไป จนถึงลูกหลาน ในที่สุดธนาคารข้าวจะเป็นแหล่งท่ีรักษาผลประโยชน์ ของราษฎรในหมบู่ ้าน และเป็นแหล่งอาหารสำรองของหมูบ่ า้ นดว้ ย” ธนาคารข้าว คือแหล่งอาหารสำรองหมุนเวียนในหมู่บ้าน หลักการบริหารของธนาคารข้าวเป็นการอิงลักษณะการบริการธนาคาร โดยมีข้าวเปลือกเป็นทรัพย์สินท่ีปล่อยกู้ โดยผู้กู้เพื่อการบริโภค และ หรือเพ่ือการทำพันธ์ุ ต้องเสียดอกเบี้ยในรูปของข้าวเปลือก แต่ใน อตั ราตำ่ (หรือในรปู อ่ืนสุดแล้วแต่กฎเกณฑ)์ การบริหารงานอาศัยราษฎรกันเอง โดยมีการจัดทำบัญชี อย่างเป็นระบบ ผู้บริหารธนาคารข้าวก็มีสิทธิในการกู้เช่นเดียวกับ ราษฎรทัว่ ไปในหม่บู า้ นน้นั
142 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยย่ี มราษฎรในเขตนนั้ ทอี่ ำเภอจอมทอง จังหวดั เชยี งใหม่ เมื่อวนั ท่ี ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 143 ถงั ตวงขา้ ว เคร่อื งตวงขา้ วรูปทรงกระบอก ปากกลวง ใช้เป็นมาตรตวงขา้ ว ทำดว้ ยไม้ วธิ ตี วงจะเทขา้ ว ใหพ้ นู ถัง แล้วใช้ไม้เรยี บๆ ตรงๆ ปาดให้เสมอขอบปาก ธนาคารข้าวน้ีนอกจากจะทำให้ชาวนาลดการแบกภาระหน้สี นิ ที่น้อยลงไปแล้ว ยังได้เรียนรู้และสร้างสมหลักการพัฒนาท้องถ่ิน พรอ้ มๆ กันไปด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนให้จัดต้ังธนาคาร ข้าวขึ้นต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เม่ือครั้งเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยม ราษฎรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ในเขตอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทานข้าวเปลือกจำนวนหน่ึงให้แก่ผู้ใหญ่บ้านหลายหมู่บ้าน เพ่อื ให้เปน็ ทนุ เรมิ่ กิจการธนาคารขา้ ว พร้อมกับท่ีได้พระราชทานแนวทางดำเนินงานไว้ดังท่ีได้ยก มานน่ั
144 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ธนาคารข้าว นอกจากจะเป็นแหล่งอาหารสำรองของหมู่บ้าน โดยตรงแล้ว ยังสามารถสร้างรากฐานสำคัญของการพัฒนา สร้าง ความสมัครสมานสามัคคีของชุมชน ในการจะเรียนรู้และดำเนินการ แก้ไขปัญหาของตนอีกดว้ ย ธนาคารขา้ วอาจทำหนา้ ที่เปน็ โรงเรียนท่ดี ีได้ ในขณะเดยี วกนั ก็เป็นตัวแสดงถงึ ประสทิ ธิภาพ และความเข้มแขง็ ของชมุ ชนนัน้ ๆ ธนาคารขา้ วทป่ี ระสบความสำเรจ็ มิไดบ้ รรลเุ พยี งจดุ มงุ่ หมาย พืน้ ฐานในการบรรเทาความขาดแคลนขา้ วเทา่ น้นั แต่ยงั สร้างกิจกรรม ต่อเน่ืองอ่ืนๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ สร้างการมีส่วนร่วม สรา้ งภาวะผนู้ ำและความรว่ มมือในระดบั ชุมชนอกี ดว้ ย... “ในหลวงท่านไม่เพียงแต่ทำธนาคารข้าวเท่าน้ันนะลูก ท่าน ยังทำธนาคารวัว ควายอีกด้วย” พอ่ วา่ ตบทา้ ย “วัว ควาย ก็ไปธนาคารหรอื พอ่ ” ฉนั ทัง้ แปลกใจและต่ืนเต้น ดว้ ยอยากจะรู้ พอ่ เตอื นให้ฉันเคยี้ วข้าวใหล้ ะเอยี ดด้วย กอ่ นท่จี ะเล่าตอ่
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 145
146 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
๑๓ ข้าวของพ่อ 147 เม่ือวัว-ควาย เข้าธนาคาร พ่อ บอกว่า วัว ควายซ่ึงใช้ทำนาเมื่อคร้ังก่อนน้ัน มี ความสำคัญพอๆ กับคนั ไถ ววั ควาย นอกจากจะช่วยชาวนาไถนา ทั้งไถดะ ไถแปร และ ไถกลบแล้ว ยังช่วยนวดย่ำให้ข้าวหลุดจากรวง ท้ังมูลวัวมูลควาย ยัง ทำปุ๋ยคอกได้อีกด้วย ชาวนาเม่ือแต่ก่อนจึงไม่ลืมพระคุณของวัวควาย ถึงได้จัดพิธี สูข่ วญั ทำขวัญววั ควาย เพื่อเปน็ การรำลึกถึงคณุ
148 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ เสด็จประพาสคลองรงั สิต จังหวดั ปทมุ ธานี เม่อื เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ “และลูกเชื่อไหมล่ะว่า ยังมีชาวนาอีกจำนวนไม่น้อยท่ียัง ทำนาปลูกข้าวด้วยการใช้แรงวัวแรงควายอยู่” พ่อว่า “แต่ชาวนาที่ ยากจนยังขาดแคลนววั ควายทจี่ ะมาใชแ้ รงงานอยู่มาก” พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวซึง่ ทรงมีพระเมตตาต่อชาวนาที่ ยากไร้เหล่านี้ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดตั้ง “ธนาคารโค- กระบือ” ขึ้น เป็นอีกโครงการหนึ่งซ่ึงได้ช่วยเหลือชาวนาชาวไร่ที่ ยากจน ไมม่ วี ัว ควายอันเปน็ ปัจจัยสำคัญในการผลติ ของตนเอง ธนาคารได้ให้เช่าซื้อวัว ควายโดยผ่อนส่งระยะยาวเอาไปใช้ งาน และให้ยมื เพื่อเปน็ พอ่ พนั ธ์แุ ม่พนั ธ์ดุ ว้ ย
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 149 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ทรงเกี่ยวข้าว ทท่ี ุ่งมะขามหย่อง จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา เมือ่ วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178