150 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ การจัดต้ังและบริหารธนาคารโค-กระบือ เป็นการรวมพลัง เพื่อร่วมมือกัน เป็นประโยชน์ต่อกัน ระหว่างเกษตรกรในหมู่บ้าน เดียวกัน โดยที่โค-กระบือ อันเป็นสมบัติของธนาคารน้ัน ได้รับ บรจิ าคมาจากประชาชนท่ัวไป และจากการจัดสรรของรฐั โค-กระบือเหล่าน้ี จะถูกนำไปให้เกษตรกรท่ีมีฐานะยากจน แต่มีความขยนั หม่ันเพยี รกู้ไปใช้งานในรปู แบบต่างๆ ตามที่ตกลงกัน ลกู โค-กระบือที่เกิดใหม่คร้ังหน่ึง จะเป็นสมบัตขิ องธนาคาร
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 151 การใช้ประโยชน์จากธนาคารโค-กระบือ ได้ดำเนินไปด้วยดี โดยที่สมาชิกต่างก็ช่วยกันรักษาประโยชน์ของส่วนรวม และเกษตรกร ที่เป็นสมาชิกก็ได้รับบริการอย่างท่ัวถึงกันและรัฐไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย มากในการซ้ือโค-กระบือ มาแจกให้แก่เกษตรกรยากจนเหมือนเช่น อดีต อกี ทงั้ ธนาคารโค-กระบอื ยงั ชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ ทา่ มกลาง การผลิตแบบสมัยใหม่ ที่เน้นการใช้เทคโนโลยีและมีต้นทุนสูงสำหรับ ชาวนาผยู้ ากไร้เหล่าน้ีด้วย ท้ังหมดน้ีจะเห็นได้ว่าท้ังกิจการโรงสีข้าว ธนาคารข้าว และ ธนาคารโค-กระบือน้ัน ล้วนแต่เป็นการดำเนินงานโดยใช้หลักการของ ระบบสหกรณ์ทงั้ สน้ิ
152 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ดังจะเห็นได้จากความสำเร็จของการพัฒนาข้าวแบบครบ วงจรที่นคิ มสหกรณอ์ ่าวลกึ จงั หวัดกระบ่ี ดังน้ี นิคมสหกรณ์อ่าวลึก จังหวัดกระบี่ มีเนื้อท่ีประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ไร่ เร่มิ ดำเนินการมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๖ พ้ืนที่ส่วนใหญ่ ปลูกปาล์ม จึงจำเป็นต้องซื้อข้าวเพื่อบริโภค เดิมมีพ้ืนที่อยู่ในนิคมฯ ประมาณ ๒,๐๐๐ ไร่เพ่ือทำนา แต่เน่ืองจากมีปัญหาเรื่องน้ำ เกษตรกรทำนามาไม่ได้ผล จึงทิ้งนาให้รกร้างว่างเปล่า ไม่ได้ใช้ ประโยชน์เป็นเวลาหลายปี คร้ันเมื่อวันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง เนื่องจาก เกษตรกรในภาคใต้ทที่ ำสวนปาล์มมีเวลาว่างมาก ควรหางานอยา่ งอ่ืน ทำเพือ่ เพ่มิ รายได้ไปด้วย
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 153
154 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่า ส่ิงท่ีควรกระทำคือ การส่งเสริมใหป้ ลกู ข้าวทกุ ท้องทีถ่ ้ามที ำเลทเี่ หมาะสม เพอ่ื จะได้มีขา้ ว ไวบ้ ริโภคยามขาดแคลน โครงการปลูกข้าวท่ีอ่าวลึกได้เริ่มดำเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึงปัจจุบัน โดยพัฒนาพื้นที่นาท่ีทิ้งร้างมานานให้ปลูกข้าวได้ อีก ดว้ ยการสนบั สนุนในด้านพันธขุ์ ้าวและวธิ ีปลูกที่เหมาะสม ในปีแรก (๒๕๓๑/๓๒) ได้ปลูกข้าวประมาณร้อยละ ๘๐ หรือประมาณ ๑,๕๐๐ ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ยประมาณไร่ละ ๕๐๐ กิโลกรัม และผลผลติ รวมประมาณ ๖๐๐ ตนั ข้าวเปลอื ก และเพ่มิ ขึน้ เป็นประมาณ ๒,๐๐๐ ไร่ในปีต่อมา ซึ่งได้ผลผลิตรวมประมาณถึง ๙๐๐ ตนั ขา้ วเปลอื ก... ด้วยพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นนี้ ทำให้ฉันหวนนึกถึงชีวิต ของชาวนาในอดตี ดังทพ่ี ่อได้เล่าให้ฟังต้งั แตต่ น้ ทำให้ฉันได้กลน่ิ สาบ ของววั ควาย ที่คละเคล้าปนไปกบั กลน่ิ หอมของไอดนิ ฟางข้าว ขา้ ว เปลือก และข้าวสวยหุงสุกใหม่ๆ หอมกรุ่นน่ากิน กับเสียงเพลงเก่าๆ ทเ่ี ปน็ ชีวติ และวิญญาณเกา่ แกข่ องปู่ ย่า ตา ยาย บนผนื แผน่ ดินไทย ฉันกับพ่อได้พร้อมใจกันก้มลงกราบพระบรมฉายาลักษณ์ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ทที่ รงมีพระมหากรณุ าธคิ ุณยิง่ นกั
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 155
156 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 157 การพเกอษดตีแรลทะฤพษอฎเพีใหียมง่ ตอน สำคัญในพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพียง มีวา่ “ทฤษฎีใหม่เปน็ วธิ ีการอย่างหน่งึ ท่ีจะทำใหป้ ระชาชน มกี นิ ตามอตั ภาพ คอื อาจไมร่ วยมากแตก่ พ็ อกนิ ไมอ่ ดอยาก หลกั มวี า่ แบ่งดินเป็นสี่ส่วน ส่วนหนึ่งเป็นท่ีสำหรับปลูกข้าว อีกส่วนสำหรับ ปลกู พชื ไร่ พืชสวน และกม็ ที ี่สำหรบั ขุดสระนำ้ ” วันน้ีฉันกับพ่อกินข้าวด้วยกันอย่างอ่ิมเอม อ่ิมท้ังปากท้อง และอิ่มทัง้ หัวใจ
158 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ชาวนาชาวไรท่ กุ วนั นี้ ยงั คงตรากตรำเหนอื่ ยยาก และมรี ายได้ ไม่เพียงพอ จึงต้องเป็นหนี้เป็นสิน เพราะรายได้ท่ีได้จากการขาย พืชผล ขายขา้ วก็ดี มกั จะไม่เพยี งพอกับตน้ ทนุ รายจ่ายที่ไดส้ ญู เสยี ไป พ่อบอกให้ฉันรำลึกคุณของข้าว-แม่โพสพผู้เป็นต้นกำเนิด รำลึกถงึ คุณของชาวนาผ้ทู ำนาปลกู ขา้ วให้เรากนิ และแมแ้ ต่ ววั ควาย ก็มบี ุญคุณตอ่ เรา พ่อเล่าวา่ ชาวนาทกุ วนั นสี้ ว่ นใหญ่แลว้ มชี วี ติ ไม่สขุ สบายนัก
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 159 ชาวนาผู้ได้ช่ือว่าเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ยังคงตรากตรำ เหนอื่ ยยากและมรี ายได้ไมเ่ พยี งพอ ทงั้ นกี้ เ็ พราะการทำนาทำไรย่ คุ ใหม่ ล้วนแต่ใช้ต้นทุนสูง ท้ังค่าปุ๋ย ค่ายาฆ่าแมลง ค่าเมล็ดพันธุ์ และ ค่าจา้ งแรงงาน ฯลฯ เหลา่ นี้เปน็ เรอื่ งทช่ี าวนาจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็น เงนิ ทองทั้งสิน้ ชาวนาชาวไร่ทุกวันน้ี จึงต้องเป็นหน้ีเป็นสินเพราะรายได้ท่ีได้ จากการขายข้าวและพืชผล มักจะไม่เพียงพอกับต้นทุนและรายจ่ายท่ี ไดส้ ญู เสียไป ด้วยเหตุน้ีการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” แบบพอเพียง อันเป็น แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้เกิดข้ึนมา เพ่อื ช่วยเหลือชาวนาชาวไร่ ผูก้ ำลังประสบกับปญั หาเดือดร้อนทวี่ ่าน้ ี
160 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ เกษตร “ทฤษฎีใหม่” ตามแนวพระราชดำริน้ีเกดิ ขน้ึ เนื่องมา แต่ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงมุ่งปฏิบัติพระราช กรณียกิจเพ่ือประโยชน์ของราษฎรทุกท้องถ่ิน โดยมุ่งหมายให้ราษฎร มคี วามเปน็ อยู่อยา่ ง “พอดี พอเพยี ง” เป็นหลกั คือ ไมร่ วยมากแตก่ ็ พอกนิ ไม่อดอยาก ท้ังนี้ ด้วยการบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้ี เพ่ือพัฒนา ชวี ติ และอาชพี เกษตรกรทม่ี พี นื้ ทจ่ี ำกดั และมปี ญั หาเรอื่ งนำ้ ไมเ่ พยี งพอ สำหรบั การปลกู พชื การแบ่งพื้นที่เกษตรตามแนวทฤษฎีนี้คือ การแบ่งออกเป็น สดั สว่ นหรือเปน็ สตู รไดด้ ังนคี้ อื รอ้ ยละ ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ สว่ นแรก รอ้ ยละ ๓๐ ขดุ บ่อเก็บน้ำฝนเพอ่ื อปุ โภค ใชร้ ดน้ำ พืชหน้าแล้ง ใช้ปลูกพืชอายุสั้นราคาดี อย่างเช่น ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว ถว่ั ลสิ งและผักต่างๆ เป็นต้น ส่วนท่ีสอง ร้อยละ ๓๐ ใช้ปลูกข้าวเนื่องจากทรงมีพระบรม ราชวินิจฉัยว่า “ข้าวเป็นอาหารหลัก” ของคนไทย เป็นส่ิงสำคัญท่ี จำเปน็ อันดบั แรกของชีวิต จงึ ควรปลูกใหค้ รอบครัวน้นั กินตลอดป ี สว่ นทส่ี าม รอ้ ยละ ๓๐ ปลกู พชื สวน ไม้ยืนต้น พืชผักและ พชื ไร่อื่นๆ แบบผสมผสาน เพื่อกนิ เองและจำหนา่ ยสว่ นท่เี หลอื
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 161
162 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 163 สว่ นทส่ี ่ี ร้อยละ ๑๐ ส่วนสุดท้าย สำหรบั พืน้ ทน่ี ก้ี ็คือ พ้นื ท่ี สำหรับอยู่อาศัย ทำถนน คันดิน ยุ้งข้าวเพาะเลี้ยงพันธ์ุปลาและ โรงเลย้ี งสัตวต์ ่างๆ การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” อันเป็นลักษณะไร่นาสวนผสมนี้ ได้มีการทดลองที่โครงการพัฒนาวัดมงคลชัยพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี และได้มีการพิสูจน์แล้วว่า การบริหารที่ดินตามทฤษฎี ใหม่นี้ ทำให้มีน้ำพอใช้ตลอดปีและเพิ่มผลิตผลให้สูงข้ึนได้อย่าง แท้จรงิ ด้วยทฤษฎีนี้ เกษตรกรจึงมีข้าวและอาหารเพียงพอสำหรับ การบริโภค
164 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ตามสำนวนโบราณท่ีว่า “ข้าวเหลือเกลืออ่ิม” และช่วยให้มี รายได้พอเลี้ยงชีพไปตลอดปี อย่างเข้าลักษณะท่ีว่า “พอดีและ พอเพยี ง” นั่นแลว้ ... “ในหลวงท่านทรงคิดที่จะช่วยเหลือชาวนาชาวไร่ท้ังหลาย ให้อยู่ได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพในท่ามกลางที่สังคมไทยกำลัง เปล่ยี นแปลงไปอย่างในทุกวนั น”ี้ พอ่ ว่า “การที่ลูกตักข้าวมาจนล้นจานแล้วกินไม่หมด น่ันเป็นการ ไม่รู้จักคำว่าพอดีและพอเพียง” พ่อช้ีมือไปที่ข้าวเหลืออยู่ในจาน ของฉนั “ข้าวทุกเม็ดมีคุณค่า อย่ากินท้ิงกินขว้าง” พ่อสำทับแล้วฉัน ก็ร้สู กึ ละอายใจ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 165
166 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 167 ข้าวของพ่อ พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปจั จบุ ัน ไดท้ รง เล็งเห็นความสำคัญของข้าวว่า ข้าวคือวิถีไทย ถือเป็นสมบัติและ ศกั ดศ์ิ รขี องคนไทยทกุ คน และขา้ วคอื ทนุ รากฐานของชวี ติ ชาวนา ผเู้ ปน็ เสมอื นหนง่ึ กระดกู สนั หลงั ของชาติ ซงึ่ ควรทจี่ ะไดส้ รา้ งภมู คิ มุ้ กนั ตวั เอง ให้อยู่รอดปลอดภยั เพ่ือเปน็ หลกั ของบา้ นเมือง พระราชปณิธานประการหน่ึงแห่งองค์พระประมุข ซ่ึงเปรียบ เสมือน “พ่อของแผ่นดิน” นี้ จึงมีอยู่ว่า จะทรงทำอย่างไรให้ชาวนา ไทย ไดม้ ีชวี ิตท่ีอย่ดู มี ีสขุ ตามอัตภาพและพอเพียง
168 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงได้ทรงทุ่มเทพระวรกายอุทิศบำเพ็ญ พระราชกรณียกิจอย่างมากมายหลายประการด้วยกัน เพื่อชีวิตที่ดีข้ึน ของชาวนาชาวไร่ไทย นอกจากโครงการส่วนพระองค์ตามพระราชประสงค์ท่ีจะ ช่วยเหลือเกษตรกรไทยให้สามารถพ่ึงตนเองได้ ด้วยการพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพ่ือดำเนินการต่างๆ ทางด้านการเกษตร เพ่ือให้เป็นทั้งตัวอย่างและเป็นแหล่งรวมความรู้แล้ว ยังได้ทุ่มเทเพื่อ การศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาและการทดลองเก่ียวกับการผลิตข้าว อยา่ งครบวงจรในอกี หลายๆ ทาง
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 169
170 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเรื่องข้าว อันเน่ืองมาจาก พระราชดำริ จงึ กระจายอยทู่ ่ัวทุกภาคของสงั คมไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงไดร้ ับรางวลั เกยี รตยิ ศจาก องค์กรนานาชาติหลายแห่ง เพราะพระปรีชาสามารถ และพระวิริย อุตสาหะของพระองค์มิเพียงแต่เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาประชาชน ชาวไทยทั้งประเทศเท่านั้น พระอัจฉริยภาพในด้านการพัฒนาการ เกษตรยังเล่อื งลือไปถึงนานาประเทศทว่ั โลก
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 171 ดังท่ีเม่ือวันท่ี ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ องคก์ ารอาหารและ เกษตรแหง่ สหประชาชาติ (FAO) ได้ทูลเกลา้ ถวายเหรยี ญ AGRICOLA พร้อมสดุดีพระเกียรติคุณของพระองค์ ในด้านการพัฒนาการเกษตร ณ พระท่ีน่งั จกั รมี หาปราสาท วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ณ พระตำหนักจิตรลดา รโหฐาน สถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (IRRI) ที่มีช่ือเสียงท่ีสุด ในโลกในเรื่องงานวิจัยข้าว ก็ได้ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทอง เฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ซึ่งสถาบันแห่งน้ ี ยังมิได้เคยมอบเหรียญดังกล่าวนี้แก่พระมหากษัตริย์หรือประมุข ของประเทศใดมากอ่ นเลย
172 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 173 จากการท่ีฉันได้ฟังพ่อเล่าเรื่องความเป็นมาของข้าว เรื่อง ข้าวกับคนไทย ข้าวกับชาวนาไทย วัฒนธรรมไทย และข้าวกับ พระมหากษัตริย์ไทยมาโดยลำดับนับตั้งแต่ต้นแล้วนั้น ได้ทำให้ฉัน ประจักษ์ตระหนักเห็นภาพชีวิต อันเป็นสายใยวิญญาณร่วมชาติของ ชาวนาไทยและคนไทยอย่างฉันกับพ่อ ที่สำคัญย่ิงเหนืออ่ืนใดน่ันก็คือ พระมหากษัตริย์ไทยท่ีทรงเป็นเสมือนหน่ึงศูนย์รวมสายใยชีวิต วญิ ญาณของคนไทย สังคมไทย และชาติไทยเอาไวม้ ิให้แตกสลาย ประเพณีพิธีกรรมในวัฒนธรรมข้าวของไทย ก็คือการสอนให้ คนไทยและชาวนาไทยท้ังหลายได้รู้รักสามัคคี และมีความสมานฉันท์ ไม่โดดเด่ียว ไม่ฟุ่มเฟือย และไม่ตั้งอยู่บนความประมาท หลักการ เหล่านเ้ี ปน็ รากฐานของเศรษฐกิจแบบพอเพียงนั่นเอง
174 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ พ่อบอกฉันว่า ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธ ิ ชัยพัฒนาเล่าไว้ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีวิถีชีวิตของ พระองค์ที่เรียบง่ายท่ีสุด ผมเคยถามพระองค์ว่าทรงโปรดเสวยอะไร พระองคท์ า่ นบอกคำเดยี วว่า “ขา้ ว” และถ้าเรารู้สักนดิ ก็จะพบวา่ ขา้ ว เป็นพืชที่มหัศจรรย์มาก ฝร่ังเคยวิจัยว่าข้าวมีสารชนิดหน่ึงท่ีทำให้ ไมเ่ ครียด คนไทยเลยได้หวั เราะกันตลอด แตม่ ายุคนี้เราไมเ่ อากนั เลย จะเอาแตข่ นมปงั ไขด่ าว สเตก๊ ” คำบอกเลา่ ของ ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ ทำใหฉ้ ันคิดได้วา่ เจา้ ฟา้ พระมหากษตั ริยท์ รงเห็นความสำคญั ของข้าว ถึงปานน้ี ชีวิตชาวนาและราษฎรไทยก็ดีขึ้นตามลำดับ ข้าวจึงเป็นท้ัง รากฐานและหลกั ชยั ของแผ่นดนิ ข้าวคอื ชวี ติ ของคนไทยทกุ คน ก็แลว้ คนไทยอยา่ งฉนั เลา่ จะหลงลืมขา้ วไดอ้ ย่างไร ข้าวของแผ่นดิน ข้าวของคนไทย ข้าวของพระเจา้ อย่หู วั “ข้าวของพอ่ ”… ทุกวันนี้ฉันกินข้าวทุกม้ืออย่างอ่ิมท้อง อิ่มหัวใจ และกตัญญู รู้คุณ “ข้าวของพ่อ” งดงามขึ้นในใจฉันแล้ว และก็จะงดงามต่อไปใน หวั ใจไทยทุกคน
ข้ า ว ข อ ง พ่ อ 175
176 ข้ า ว ข อ ง พ่ อ ข้าวของพ่อ วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย ผู้เขียน ผู้จัดพิมพ์ กระทรวงวัฒนธรรม ปีท่ีพิมพ์ พุทธศักราช ๒๕๕๓ จำนวนพิมพ์ ๓,๐๐๐ เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ข้าวของพ่อ กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๓ ๑๗๖ หน้า ISBN 978-616-543-043-2 ท่ีปรึกษา (นายวีระ โรจน์พจนรัตน์) ๑. ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (นายอภินันท์ โปษยานนท์) ๒. รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (นางโสมสุดา ลียะวณิช) ๓. รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คณะทำงาน นางจุฑาทิพย์ โคตรประทุม นางพิมพร ชัยจิตร์สกุล ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ กล่ินคุ้ม นางสาวทิพย์สุดา อ่ิมใจ นางสาวเมทินี จันทร์บุญนะ จัดพิมพ ์ กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ๖๖๖ ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๒๒-๘๘๕๑-๘ www.m-culture.go.th ขอขอบคุณ กรมการข้าว • สำนักจดหมายเหตุแห่งชาติ • ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี • ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชาวนาไทย
กระทรวงวฒั นธรรม ๖๖๖ ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๕๓-๘ สายด่วนวัฒนธรรม ๑๗๖๕ www.m-culture.go.th
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178