Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ_ในคลินิ

คู่มือส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ_ในคลินิ

Description: คู่มือส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ_ในคลินิ

Search

Read the Text Version

แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ คู่มอื ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสุข คู่มือ แนวทางการด�ำเนนิ งาน ส่งเสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำหรับบุคลากรสาธารณสขุ ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2558 ส�ำ นกั โภชนาการ กรมอนามัย I กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู อื แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ แนวทางการดำ� เนินงานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ� หรับบุคลากรสาธารณสุข ISBN 978-616-11-2487-8 ครง้ั ที่ 1 มกราคม 2558 พิมพ์ที ่ ส�ำนักงานกิจการโรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จำ� นวนพิมพ ์ 7,500 เลม่ จดั ท�ำและเผยแพรโ่ ดย สำ� นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ รูปเลม่ ศิลปกรรม บริษัท สามเจริญพาณชิ ย์ (กรงุ เทพ) จ�ำกดั II ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการ คูม่ ือ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรับบุคลากรสาธารณสขุ คำ� นำ� การพัฒนามนุษย์ จ�ำเป็นต้องเร่ิมต้ังแต่เป็นทารกในครรภ์มารดา โดยเฉพาะเร่ืองโภชนาการมีบทบาทส�ำคัญ ต่อสุขภาพของแม่และลูก เน่ืองจากทารกในครรภ์ได้รับพลังงานและสารอาหารจากแม่ผ่านทางรกตั้งแต่เร่ิมปฏิสนธ ิ เพ่ือน�ำมาสร้างเนื้อเย่ือของระบบประสาท สมอง และอวัยวะต่างๆให้มีความสมบูรณ์ ส่งผลให้ทารกแรกเกิดมีน้�ำหนักตัวด ี ดังน้ันการใหบ้ รกิ ารท่ีคลนิ ิกฝากครรภ์นบั เป็นปราการดา่ นแรกทีจ่ ะส่งเสริมให้หญิงตง้ั ครรภ์มภี าวะโภชนาการท่ดี ี บคุ ลากรสาธารณสขุ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในคลนิ กิ ฝากครรภ ์ เปน็ บคุ คลทม่ี คี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการดแู ลหญงิ ตง้ั ครรภ์ ให้มีสุขภาพดี ส�ำนักโภชนาการเห็นความส�ำคัญของการพัฒนาองค์ความรู้ด้านโภชนาการให้กับบุคลากรสาธารณสุข จึงไดจ้ ดั ทำ� ค่มู อื ในการด�ำเนินงานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ ์ สำ� หรบั บคุ ลากรสาธารณสุข เพ่ือเปน็ แนวทางในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย ความส�ำคัญของการด�ำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการในคลินิกฝากครรภ์ โภชนาการส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์ แนวทางการด�ำเนินงานโภชนาการในคลินิกฝากครรภ์ และแนวทางการใหค้ �ำแนะน�ำทางโภชนาการในหญิงตง้ั ครรภ์ คณะผู้จดั ทำ� หวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่า ค่มู ือแนวทางการดำ� เนนิ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการในคลนิ ิกฝากครรภ ์ ส�ำหรับบุคลากรสาธารณสุขเล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานด้านโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ทุกระดับ เพ่ือให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี อันจะส่งผลให้ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตดี สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ และเป็นทรพั ยากรมนุษย์ที่ทรงคุณคา่ ของประเทศชาตติ ่อไป คณะผจู้ ดั ท�ำ มกราคม 2558 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั III กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ อื แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ สารบญั ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสุข คำ� นำ� หนา้ สารบญั สารบัญตาราง ความสำ� คัญของการดำ� เนินงานสง่ เสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการในคลินกิ ฝากครรภ์ โภชนาการส�ำหรบั หญงิ ต้งั ครรภ์ 1 ความตอ้ งการพลังงานและสารอาหารของหญิงตง้ั ครรภ์ 2 ปริมาณอาหารท่ีแนะน�ำให้บรโิ ภคตอ่ วันสำ� หรับหญิงตั้งครรภ์ 5 แนวทางการดำ� เนนิ งานโภชนาการในคลินิกฝากครรภ์ 8 ขน้ั ตอนการดำ� เนนิ งานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการในคลนิ กิ ฝากครรภ์ 9 Flow chart การด�ำเนนิ งานส่งเสริมโภชนาการในคลินิกฝากครรภ ์ การประเมินภาวะโภชนาการของหญงิ ต้ังครรภ์ 10 การประเมนิ ภาวะโลหิตจาง 15 การตรวจพยาธ ิ 15 การประเมินพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร 15 การแจง้ และอธบิ ายผลการประเมินภาวะโภชนาการและพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร 19 การใหค้ วามรดู้ า้ นโภชนาการเป็นรายกลมุ่ 26 การให้คำ� แนะน�ำ/ค�ำปรึกษาทางโภชนาการเป็นรายบุคคล 26 การนดั หมายการตรวจครรภ ์ 26 การจ่ายยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีน ธาตุเหล็ก กรดโฟลกิ 26 การจดั อาหารเสริมท่ีมีพลังงานและโปรตีนสูงใหแ้ ก่หญิงตัง้ ครรภ์นำ�้ หนักน้อย 26 การติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มปี ญั หาด้านโภชนาการ 27 แนวทางการใหค้ ำ� แนะน�ำทางโภชนาการในหญิงต้งั ครรภ์ 27 แนวทางการใหค้ ำ� แนะน�ำทางโภชนาการสำ� หรบั หญิงต้ังครรภท์ ุกคน 27 แนวทางการให้ค�ำแนะน�ำทางโภชนาการเพิ่มเตมิ ส�ำหรบั หญิงตงั้ ครรภ์น้�ำหนกั นอ้ ย 28 แนวทางการให้คำ� แนะนำ� ทางโภชนาการเพ่มิ เตมิ สำ� หรบั หญงิ ตง้ั ครรภน์ ำ้� หนักเกิน หรืออว้ น 29 คำ� ถาม – ค�ำตอบ 30 บรรณานุกรม 33 ภาคผนวก 34 กราฟโภชนาการหญงิ ต้ังครรภ์ 34 แบบประเมินพฤติกรรมบรโิ ภคอาหารสำ� หรับหญิงตงั้ ครรภ ์ 36 IV สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ค่มู ือ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรสาธารณสุข สารบัญตาราง หน้า ตารางท่ี 1 พลงั งานและสารอาหารที่ควรไดร้ ับประจำ� วันส�ำหรบั หญิงตัง้ ครรภ์ 5 ตารางที่ 2 ปริมาณอาหารท่ีแนะนำ� ใหบ้ ริโภคตอ่ วนั ส�ำหรบั หญงิ ตง้ั ครรภอ์ ายุ 16 – 18 ป ี 6 ตารางท่ี 3 ปรมิ าณอาหารท่แี นะน�ำใหบ้ รโิ ภคตอ่ วนั สำ� หรบั หญิงตัง้ ครรภ์อายุ 19 – 50 ป ี 6 ตารางท่ี 4 อาหารทดแทน 7 ตารางที่ 5 รายละเอยี ดและวธิ กี ารประเมินพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารสำ� หรบั หญงิ ตง้ั ครรภ์รายข้อ 16 ตารางท่ี 6 รายละเอียดและการอธบิ ายผลการประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารรายขอ้ 23 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบคุณคา่ ทางโภชนาการและราคาระหว่างนมววั และนมถว่ั เหลืองชนดิ UHT. 31 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย V กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ VI สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ค่มู ือ ในคลินกิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ ความส�ำคัญของการดำ� เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ ด้านโภชนาการในคลนิ กิ ฝากครรภ์ การตงั้ ครรภ์เปน็ การเปลย่ี นแปลงของร่างกายอยา่ งมากท้งั ในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรรี วิทยา ซึ่งเกิดขนึ้ ตลอดการต้ังครรภ์และสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น การเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารก ในครรภ์และเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรับการคลอด นอกจากนี้ หญงิ ตั้งครรภ์ยงั ตอ้ งปรบั ตัวกับการเปลีย่ นแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าท่ี ภาพลกั ษณ์ สัมพนั ธภาพกับครอบครัว เป็นตน้ การเปลยี่ นแปลงดา้ นสรีรวิทยาจะมีการสรา้ งเซลล์และ เน้ือเยื่อต่างๆ มากกว่าระยะอ่ืนๆ ท�ำให้ร่างกายต้องการสารอาหารเพ่ิมขึ้น ในระยะน้ีหากแม่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จะมีผลเสยี ทัง้ แกแ่ มแ่ ละทารกในครรภเ์ ปน็ อยา่ งมาก สง่ ผลให้ทารกแรกเกดิ มนี ำ้� หนักน้อยกวา่ 2,500 กรมั การทที่ ารกแรกเกดิ มนี ำ้� หนกั นอ้ ยกวา่ 2,500 กรมั มโี อกาสทจี่ ะพบความผดิ ปกตขิ องระบบตา่ งๆ ของรา่ งกาย ซึ่งยังพัฒนาไม่เต็มท่ี ปัญหาท่ีพบได้บ่อยเมื่อแรกเกิด ได้แก่ 1) ระบบหายใจ เด็กอาจจะหายใจล�ำบากท�ำให้ขาดออกซิเจน และอาจหยุดหายใจได้ 2) ระบบหัวใจ อาจท�ำใหห้ วั ใจพกิ ารแต่กำ� เนิด อณุ หภูมริ า่ งกายต่ำ� ทำ� ให้ทารกดดู นมไดน้ อ้ ย น้�ำตาล ในเลือดต่�ำ 3) ระบบการสร้างภูมิต้านทานโรค ภูมิต้านทานร่างกายต่�ำท�ำให้ติดเช้ือง่าย ท�ำให้เจ็บป่วยบ่อย หรือเกิดโรค แทรกซ้อน เช่น โรคปอดบวม เสี่ยงต่อการตายปริก�ำเนิดหรือในขวบปีแรก 4) การเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและสมอง เส่ียงต่อการขาดอาหารแบบเร้ือรัง (ภาวะเตี้ย) การสร้างเซลล์สมองบกพร่อง ท�ำให้มีปัญหาด้านสติปัญญา พัฒนาการล่าช้า ในทกุ ด้านอาจมีผลเรยี นไมท่ ันเพื่อน 5) ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคเรอื้ รงั เมอ่ื เป็นผู้ใหญ่ เช่น ภาวะอว้ น โรคเบาหวาน โรคกระดูกพรนุ เปน็ ตน้ นอกจากนน้ั ยงั เปน็ ภาระแกพ่ อ่ แม่ รวมถงึ เปน็ ภาระตอ่ ระบบสาธารณสขุ ทจ่ี ะตอ้ งดแู ลสขุ ภาพตอ่ ไปในอนาคตอกี ดว้ ย ในขณะท่ีหญิงต้ังครรภ์ที่ได้รับพลังงานมากเกินไป จะมีผลท�ำให้ทารกมีน้�ำหนักมาก ตัวใหญ่ (Macrosomia) มีความเสี่ยง ทจ่ี ะเป็นเด็กอว้ น และ weight retention ในแม่ มคี วามเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอ้วนหลงั คลอด เพิ่มความชกุ ของภาวะอว้ น ในเด็กและวัยท�ำงาน ก่อให้เกิดความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ในเร่อื งค่ารกั ษาพยาบาล จากการศึกษาปัจจัยเสี่ยงท่ีท�ำให้ทารกมีน�้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight : LBW) ในดา้ นโภชนาการ เกิดจากปจั จัยหลักๆ 3 ปจั จยั คือ 1) ภาวะเตย้ี 2) น�ำ้ หนักนอ้ ยก่อนตงั้ ครรภ์ 3) น้�ำหนกั ท่ีเพมิ่ ขน้ึ ระหว่าง ต้ังครรภ์ ดังนั้นโภชนาการในช่วงต้ังครรภ์จึงมีความส�ำคัญอย่างมาก หญิงตั้งครรภ์ต้องกินอาหารที่ให้สารอาหารครบถ้วน ในปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของแมแ่ ละลูกในครรภ์ จะท�ำให้ทารกมีการเจรญิ เติบโตดีและแขง็ แรง การดูแลโภชนาการของหญิงต้ังครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ จึงเป็นเร่ืองท่ีบุคลากรในคลินิกฝากครรภ์ต้อง ใหค้ วามสำ� คญั และใหบ้ รกิ ารดา้ นโภชนาการอยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยการประเมนิ ภาวะโภชนาการ ประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค อาหาร และให้ค�ำแนะน�ำปรกึ ษาด้านโภชนาการ ท�ำให้หญิงต้งั ครรภม์ ีความรแู้ ละทกั ษะในการบริโภคอาหารทเี่ หมาะสมกับ น้�ำหนักตวั กอ่ นและระหวา่ งตงั้ ครรภ์ ดังนัน้ โภชนาการสำ� หรับหญงิ ตง้ั ครรภ์ จึงเปน็ สิง่ ส�ำคัญที่บุคลากรสาธารณสขุ จำ� เป็น ต้องมีความรู้ เพ่ือใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินภาวะ โภชนาการ และใหค้ ำ� แนะนำ� อยา่ งดจี ากบคุ ลากรสาธารณสขุ ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ มที กั ษะ กจ็ ะยงิ่ สง่ เสรมิ ใหก้ ารตง้ั ครรภ์ มคี ุณภาพ เป็นผลให้ทารกมีน�ำ้ หนกั แรกเกดิ ดี สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ซ่งึ เป็นสัญญาณต่อการมสี ุขภาพทดี่ ี และมคี ุณภาพ ชีวติ ท่ีดตี อ่ ไปในอนาคต ส�ำ นกั โภชนาการ กรมอนามัย 1 กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู อื แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินกิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข โภชนาการสำ� หรบั หญิงตง้ั ครรภ์ ในระยะต้ังครรภ์ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง จึงต้องการพลังงานและสารอาหารมากข้ึนกว่าเดิม เพื่อการท�ำงานของต่อมน�้ำนม การสร้างรกและสายสะดือ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ โดยทารกได้อาหารมาจาก มารดาทางโลหติ ซงึ่ ผา่ นเขา้ ทางสายสะดอื เพอ่ื เอาไปสรา้ งรา่ งกายของทารกทกุ สว่ น ดงั นนั้ ถา้ มารดาไมไ่ ดร้ บั อาหารทมี่ คี ณุ คา่ ทางโภชนาการในปริมาณเพียงพอระหว่างตั้งครรภ์ ก็จะท�ำให้หญิงต้ังครรภ์ มีน้�ำหนักเพ่ิมขึ้นน้อย ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ นอกจากนั้นยังขาดแร่ธาตุท่ีส�ำคัญเช่น ไอโอดีน เหล็ก และโฟเลต เป็นผลให้มารดาและทารกที่เกิดมามีสุขภาพไม่สมบูรณ์ เชน่ นำ�้ หนกั และสว่ นสงู ของทารกทคี่ ลอดนอ้ ยกวา่ ปกติ คลอดบตุ รกอ่ นกำ� หนด คลอดผดิ ปกติ แทง้ บตุ ร พกิ ารแตก่ ำ� เนดิ และ สติปัญญาต่ำ� เปน็ ตน้ ขอ้ สำ� คัญถา้ มารดาไดร้ ับอาหารทีม่ ีคุณคา่ ไม่เพียงพอกบั ความต้องการของทารกในครรภ์แล้ว ทารกก็ จะดึงเอาสารอาหารจากมารดาโดยตรง ซ่ึงเป็นเหตุให้มารดาย่ิงขาดอาหารมากขึ้น สุขภาพของมารดาเส่ือมโทรม เป็นโรค ตา่ งๆ ตามมา เชน่ โรคฟันผุ โรคกระดูกอ่อน (Osteomalacia) และ ภาวะโลหติ จาง เปน็ ตน้ ความตอ้ งการพลังงานและสารอาหารของหญงิ ตง้ั ครรภ์ ในระยะต้ังครรภ์สองเดือนแรก จะเริ่มสร้างอวัยวะต่างๆของทารกในครรภ์ และมีอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มขึ้นเรือ่ ยๆ จนมอี ตั ราสงู สดุ ในเดอื นสดุ ทา้ ยกอ่ นคลอด น�้ำหนักของทารกจะเพ่มิ ขึน้ เรอ่ื ยๆ จงึ จำ� เป็นต้องใช้พลังงานและ สารอาหารส�ำหรับสร้างระบบไหลเวียน ระบบประสาท กล้ามเน้ือ กระดูกและอวัยวะต่างๆของทารก และส�ำหรับร่างกาย ของมารดาเองดว้ ย ดังนั้นหญงิ ตง้ั ครรภจ์ งึ จำ� เปน็ ต้องกินอาหารท่มี ีพลังงานและสารอาหารสูงกวา่ คนปกติ คือ 1. พลังงาน ในช่วงไตรมาสแรก หญงิ ตง้ั ครรภม์ ีความต้องการพลังงานเทา่ เดิมและเพิม่ ข้ึนในไตรมาสที่ 2 และ 3 แสดงในตารางท่ี 1 แหล่งอาหาร : ร่างกายได้รับพลังงานส่วนใหญ่จากอาหารกลุ่มข้าวแป้ง เช่น ข้าว เผือก มัน ธัญพืช กว๋ ยเตีย๋ ว บะหมี่ วนุ้ เสน้ ซึง่ ใหค้ ารโ์ บไฮเดรตเป็นหลัก และกลุ่มไขมันจากพืชและสตั ว์ เช่น นำ้� มนั พชื กะทิ เนย เปน็ ตน้ 2. โปรตีน มารดาและทารกในครรภ์ต้องการโปรตีนคุณภาพในปริมาณสูง เพื่อสร้างเซลล์และอวัยวะ ทั้งของทารกและของมารดา เช่น การขยายตัวของผนังมดลูก การสร้างรกและสายสะดือ จึงควรได้รับโปรตีนเพ่ิมขึ้นจาก กอ่ นตงั้ ครรภ์ ตง้ั แตม่ ีการปฏสิ นธิ ปริมาณโปรตนี ท่คี วรได้รับตอ่ วนั สำ� หรบั หญิงตง้ั ครรภ์ แสดงในตารางที่ 1 แหลง่ อาหาร : โปรตีนไดจ้ าก เนอ้ื สัตว์ นม ไข่ ถว่ั ตา่ งๆ เตา้ หู้ น�้ำเตา้ หู้ 3. แคลเซียม มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และการรักษาปริมาณมวลกระดูกของมารดา นอกจากน้นั ยงั ชว่ ยการพฒั นาระบบประสาท กลา้ มเนอื้ หัวใจ หลอดเลือด และช่วยในการแข็งตวั ของเลอื ด ควบคุมการหลัง่ ฮอร์โมนบางชนิด ปริมาณแคลเซียมทคี่ วรไดร้ บั ตอ่ วนั สำ� หรบั หญิงต้งั ครรภ์ แสดงในตารางที่ 1 2 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ คูม่ ือ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสุข แหลง่ อาหาร : อาหารที่มีแคลเซียมสงู ได้แก่ นม เป็นแหล่งอาหารท่ีดีของแคลเซียมทงั้ ในด้านปริมาณ และคุณภาพ แคลเซียมจากน้�ำนมถูกดูดซึมได้ดี นอกจากนม ยังมีจากอาหารอื่น เช่น ผลิตภัณฑ์นม ปลาเล็กปลาน้อย ปลาซาร์ดนี กระปอ๋ ง กุ้งฝอย กุง้ แห้ง คะน้า ใบยอ ผักกวางตงุ้ เปน็ ต้น 4. เหลก็ ความตอ้ งการธาตเุ หลก็ ในระยะตง้ั ครรภ์ เพม่ิ มากในชว่ งปลายไตรมาสที่ 1 และสงู สดุ ในชว่ งไตรมาส ที่ 3 ชว่ งอายุครรภ์ 34 – 36 สปั ดาห์ เพ่ือสรา้ งเม็ดเลอื ดแดงให้เพยี งพอส�ำหรับระบบหมนุ เวียนเลือดของมารดา และสง่ ผ่าน สทู่ ารกในครรภ์ จงึ ไมม่ กี ารกำ� หนดคา่ ความตอ้ งการธาตเุ หลก็ ของหญงิ ตงั้ ครรภ์ เนอื่ งจากมคี วามตอ้ งการสงู เกนิ กวา่ ธาตเุ หลก็ ท่ไี ดจ้ ากอาหารประจ�ำวัน จึงจ�ำเปน็ ต้องได้รบั การเสริมธาตเุ หลก็ ในรูปของยาเมด็ นอกจากนนั้ หญงิ ตงั้ ครรภ์ทมี่ ีธาตเุ หล็ก สะสมในร่างกายน้อย จะมีความเสี่ยงต่อการเกดิ ภาวะโลหิตจางอยา่ งรวดเร็วต้งั แตร่ ะยะแรกๆของการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะ หญิงตั้งครรภท์ ่เี ปน็ วัยร่นุ ซึ่งยังคงมกี ารเจรญิ เติบโต ความตอ้ งการธาตุเหล็กจะสูงมากขนึ้ ไปอกี หากหญิงตัง้ ครรภ์ขาดธาตุ เหล็กจะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนก�ำหนด และถ้าเสียเลือดมากในการคลอดอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ซ่ึงเด็กทารกท่ีคลอด ก่อนก�ำหนดน้ันจะมีน�้ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์ และมีธาตุเหล็กสะสมน้อย ปริมาณเหล็กที่ควรได้รับต่อวันส�ำหรับหญิงต้ังครรภ์ แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง และดูดซึมได้ดี ได้แก่ ตับ เลือด เน้ือสัตว์สีแดงเช่น เนื้อหม ู เนอื้ ววั เปน็ ตน้ และควรกินรว่ มกบั อาหารที่มีวติ ามินซสี ูง เชน่ ฝร่งั สม้ มะขามป้อม เป็นต้น จะชว่ ยในการดดู ซึมธาตเุ หล็กได้ดี 5. ไอโอดีน การขาดไอโอดีนอย่างรุนแรง ท�ำใหเ้ กดิ ภาวะพร่องธยั รอยด์ฮอร์โมน เป็นผลใหท้ ารกในครรภ์ เกิดความผิดปกติของระดับสติปัญญา การเจริญเติบโตของเซลล์สมองไม่สมบูรณ์ และการพัฒนาระบบประสาทและ กล้ามเนื้อบกพร่อง ร่างกายผิดปกติ ตัวเตี้ย พิการ เป็นใบ้ หูหนวก กล้ามเน้ือเกร็ง หรือท่ีชาวบ้านเรียกกันว่า “โรคเอ๋อ” (Endemic cretinism) ซ่ึงเป็นความผิดปกติอย่างถาวรและไม่สามารถแก้ไขได้ ถ้าขาดไอโอดีนไม่รุนแรง จะมีผลต่อระดับ สตปิ ัญญา และลดความสามารถในการใช้มือและตาของเด็ก ฉะนั้น หญิงตั้งครรภจ์ ึงควรรบั ประทานอาหารทะเลเปน็ ประจ�ำ และใช้เกลือเสริมไอโอดีน (iodized Salt) รวมท้งั เคร่อื งปรุงรสเคม็ ทเี่ สรมิ ไอโอดนี เช่น นำ้� ปลา ซอสปรงุ รส ซีอ๊ิวในการปรุง อาหาร ก็จะเป็นการแน่นอนว่าไม่ขาดไอโอดีน ปริมาณความต้องการสารไอโอดีนส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละวัน แสดง ในตารางท่ี 1 แหล่งอาหาร : อาหารท่ีมีสารไอโอดีนตามธรรมชาติ ได้แก่ พืชและสัตว์ทะเล ปลาทะเล 100 กรัม มสี ารไอโอดนี ประมาณ 25 – 70 ไมโครกรมั สาหรา่ ยทะเลแหง้ 100 กรัม มีสารไอโอดนี ประมาณ 200 – 400 ไมโครกรมั 6. วิตามนิ เอ มีความส�ำคัญต่อการมองเห็น การเจรญิ เติบโตของเซลล์ ระบบภูมคิ ุ้มกนั การสร้างเม็ดเลือด การเจริญพันธุ์ ฯลฯ ถ้าขาดจะท�ำให้ทารกตายในครรภ์ แท้งบุตรได้ ปริมาณความต้องการวิตามินเอส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์ ในแตล่ ะวนั แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : อาหารที่มีวิตามินเอสูงเป็นอาหารท่ีได้จากสัตว์ ได้แก่ ตับของสัตว์ต่างๆ แหล่งของ วติ ามินเอจากพืชทีด่ ีคอื พชื ผกั ที่มสี เี ขียวเข้ม และสเี หลืองสม้ เช่น ผกั ตำ� ลึง ผกั กวางต้งุ ผักบุ้ง ฟักทอง มะเขอื เทศ มะมว่ งสกุ มะละกอสกุ เปน็ ต้น 7. วิตามินบี 1 (ไธอะมีน) หญิงตั้งครรภ์มีความต้องการวิตามินบี 1 มากในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด ชว่ ยใหร้ ะบบการยอ่ ยอาหารทำ� งานไดด้ ี และเมตาโบลซิ มึ ของสารอาหารอน่ื ๆ นอกจากนก้ี ารขาดวติ ามนิ บี 1 ในชว่ งตง้ั ครรภ์ ส�ำ นกั โภชนาการ กรมอนามัย 3 กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู อื แนวทางการด�ำ เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสขุ ทำ� ให้กล้ามเน้ือเป็นตะคริว เป็นโรคเหน็บชา และครรภ์เป็นพิษได้ ปริมาณความต้องการวิตามินบี 1 สำ� หรับหญิงต้ังครรภ ์ ในแต่ละวนั แสดงในตารางที่ 1 แหลง่ อาหาร : อาหารทีม่ ีวติ ามินบี 1 เชน่ เนอ้ื หมู ขา้ วซ้อมมือ ถั่วลิสง ถ่วั เหลอื ง ถัว่ ด�ำ งา เปน็ ต้น 8. วติ ามินบี 2 (ไรโบฟลาวนิ ) ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ โคเอนไซม์ (coenzyme) ของเอนไซมห์ ลายชนดิ ชว่ ยในการ เผาผลาญคารโ์ บไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ท�ำให้ร่างกายเตบิ โตและพัฒนาอย่างเหมาะสม ชว่ ยส่งเสรมิ ระบบประสาท ผวิ หนงั และตา ช่วยป้องกนั เซลล์ถกู ทำ� ลาย ปริมาณความต้องการวิตามินบี 2 ส�ำหรับหญงิ ตั้งครรภใ์ นแต่ละวัน แสดงในตารางที่ 1 แหลง่ อาหาร : อาหารท่ีมีวิตามนิ บี 2 เช่น ตบั ไก่ ตับหมู ไข่ เน้ือไก่ เนื้อหมู เน้อื ปลา นม ผักหวาน เห็ดหอมสด เปน็ ตน้ 9. วติ ามนิ บี 6 (ไพรดิ อกซนี ) มคี วามสำ� คญั โดยทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ โคเอนไซมใ์ นปฏริ ยิ าตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การ สังเคราะห์และการเผาผลาญกรดอะมิโน การสลายไกลโคเจนในกล้ามเนื้อและการสังเคราะห์กลูโคสจากกรดอะมิโนใน กลา้ มเนือ้ การสังเคราะห์ฮมี (heme) ซ่งึ เป็นส่วนประกอบของฮโี มโกลบนิ ในเมด็ เลือดแดง การสงั เคราะหไ์ นอาซิน (niacin) จากกรดอะมิโนทริปโตเฟน รวมทั้งการสังเคราะห์สารสื่อประสาทหลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานของระบบประสาท เช่น ซีโรโทนิน (serotonin) ทอรีน (taurine) โดปามีน (dopamine) นอร์เอพิเนฟฟริน (norepinephrine) และ กรดแกมมาอะมโิ นบิวไทริก (GABA) ปริมาณความตอ้ งการวติ ามนิ บี 6 สำ� หรบั หญงิ ต้งั ครรภใ์ นแตล่ ะวนั แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : อาหารท่ีมวี ิตามนิ บี 6 เช่น เน้ือสัตว์ กล้วย ถว่ั เมล็ดแห้ง ไข่แดง เป็นต้น 10. วิตามินบี 12 ร่างกายต้องการวิตามินบี 12 ส�ำหรับเผาผลาญสารอาหาร การสังเคราะห์ RNA และ DNA รวมท้ังการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดแดง วิตามิน บี 12 มีผลต่อการดูดซึมและการใช้โฟเลตในร่างกายด้วย ปริมาณความตอ้ งการวิตามินบี 12 ส�ำหรับหญงิ ต้ังครรภ์ในแตล่ ะวนั แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : วติ ามินบี 12 มมี ากในอาหารพวกเครือ่ งในสตั ว์ เน้ือสตั ว์ตา่ งๆ หอยนางรม น�ำ้ นมสด ไข่ สาหร่าย ถัว่ หมัก และซอี ๊ิว เป็นตน้ 11. วิตามินซี มีความส�ำคัญต่อการสังเคราะห์คอลลาเจน คาร์นิทีน สารเหนี่ยวน�ำกระแสประสาท (neurotransmitter) และเมตาบอลิสมของกรดอะมิโนและคาร์โบไฮเดรต เพิ่มภูมิต้านทานและช่วยในการดูดซึมเหล็ก ยับย้ังการสร้างสารก่อมะเร็ง ไนโตรซามีน (nitrosamine) ถ้ามีการขาดวิตามินซีอย่างรุนแรงจะเกิดโรคลักปิดลักเปิดได ้ ภาวะการขาดวิตามมินซีในหญิงต้ังครรภ์จะท�ำให้มีภาวะเส่ียงต่อการติดเช้ือขณะคลอด คลอดก่อนก�ำหนด และภาวะ ครรภ์เปน็ พษิ ได้ ปริมาณความตอ้ งการวติ ามนิ ซี สำ� หรบั หญงิ ตัง้ ครรภ์ในแตล่ ะวัน แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : อาหารท่ีมีวิตามินซีมากได้แก่ ฝรั่ง มะขามป้อม มะนาว ส้ม สตรอเบอร่ี มะเขือเทศ ผักใบเขียว กะหล่�ำ บล็อคโคล่ี เป็นต้น การหุงต้มและการได้รับแสงท�ำให้สูญเสียวิตามินซีได้มาก เวลาปรุงอาหารจึงต้อง ระมดั ระวงั ไมต่ ม้ ผกั โดยใชค้ วามรอ้ นนานเกนิ ไป เพราะจะทำ� ใหป้ รมิ าณวติ ามนิ ซใี นผกั ถกู ทำ� ลาย การเกบ็ อาหารเปน็ เวลานาน ทำ� ให้วติ ามินซสี ูญเสียไปได้มากเชน่ กนั 12. โฟเลต เปน็ สารอาหารซงึ่ จัดอยู่ในกลมุ่ ของวติ ามนิ ท่ลี ะลายในน้�ำ ทำ� หนา้ ท่ีเปน็ โคเอนไซมใ์ นปฏิกรยิ า ที่เก่ียวขอ้ งกบั กรดนิวคลีอิกและกรดอะมิโน เมอื่ รา่ งกายได้รบั โฟเลตไม่เพียงพอ จะท�ำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และยังมผี ล 4 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ ค่มู อื ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสุข ต่อการสร้างสมอง ระบบประสาท และไขสันหลังตั้งแต่เร่ิมปฏิสนธิ ท�ำให้ทารกมีโอกาสพิการแต่ก�ำเนิด ได้แก่ ภาวะ หลอดประสาทของทารกในครรภเ์ ปดิ (Neural tube defects : NTDS) และอาการปากแหวง่ เพดานโหว่ (Cleft palate) โฟเลตมอี ย่ใู นรปู แบบต่างๆ ได้แก่ กรดโฟลกิ (folic acid) โฟเลต (folate) และอนพุ นั ธ์ของโฟเลต ปรมิ าณความต้องการ โฟเลต ส�ำหรบั หญงิ ตง้ั ครรภใ์ นแต่ละวัน แสดงในตารางที่ 1 แหล่งอาหาร : โฟเลตพบปริมาณน้อยในอาหาร ส่วนใหญ่สังเคราะห์ข้ึนและเตรียมขึ้นในรูปยาและ ผลติ ภัณฑ์เสริมอาหาร โฟเลตทีอ่ ย่ใู นอาหารธรรมชาติมอี ยหู่ ลายอนุพนั ธ ุ์ กรดโฟลิกทเ่ี กดิ จากการสังเคราะห์ถูกดูดซึมและ น�ำไปใชไ้ ด้ดกี วา่ โฟเลตท่ีเกิดตามธรรมชาติ โฟเลตในอาหารมคี ณุ สมบตั ลิ ะลายนำ�้ ได้ไวตอ่ แสงและความร้อน ดังนน้ั บางส่วน จึงถูกท�ำลายไปในส่ิงแวดล้อมและการปรุงอาหาร ผักและผลไม้ที่เป็นแหล่งอาหารท่ีดีของโฟเลต ได้แก่ ดอกกะหล่�ำ ดอกและใบก้ยุ ช่าย มะเขอื เทศ ผกั ตระกูลกะหลำ่� แตงกวา หน่อไมฝ้ รง่ั แครอท ถ่ัวฝักยาว ผกั ใบเขียว องนุ่ ถั่วเมลด็ แห้ง เป็นตน้ ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ� ให้บรโิ ภคต่อวันส�ำหรบั หญงิ ตง้ั ครรภ์ การกินอาหารท่ีถูกสัดส่วนและปริมาณเพียงพอเป็นวิถีทางท่ีเหมาะสมที่สุด ที่ช่วยให้หญิงต้ังครรภ์มีน�้ำหนัก เพ่ิมขึ้นตามเกณฑ์ และเป็นวิธีท่ีดีต่อทั้งมารดาและทารกในครรภ์ท่ีจะได้รับพลังงานและสารอาหารที่เพียงพอในแต่ละวัน เพื่อให้มีโภชนาการที่ดีส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์ กระทรวงสาธารณสุข โดยส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัย ได้จัดท�ำข้อก�ำหนด พลงั งานและสารอาหารทค่ี วรไดร้ บั ประจ�ำวนั ส�ำหรับหญงิ ตง้ั ครรภ์ข้ึนมาดังนี้ ตารางท่ี 1 พลังงานและสารอาหารทีค่ วรไดร้ ับประจำ� วนั สำ� หรบั หญงิ ตั้งครรภ์ พลงั งานและสารอาหาร อายุ 16-18 ปี (1) อายุ 19 ปีขึน้ ไป (1) ไตรมาสของการตง้ั ครรภ์ ไตรมาสของการตั้งครรภ์ 123 123 พลังงาน (กิโลแคลอร)ี่ 1,900 2,200 2,200 1,700 2,000 2,000 โปรตีน (กรมั ) 78 78 78 77 77 77 วติ ามินเอ (ไมโครกรมั ) 800 800 800 800 800 800 วติ ามนิ ซี (ไมโครกรัม) 85 85 85 85 85 85 ไธอะมิน (มลิ ลกิ รมั ) 1.3 1.3 1.3 1.4 1.4 1.4 ไรโบฟลาวิน (มิลลกิ รมั ) 1.3 1.3 1.3 1.4 1.4 1.4 วติ ามินบี 6 (มลิ ลกิ รมั ) 1.8 1.8 1.8 1.9 1.9 1.9 โฟเลต (ไมโครกรมั ) 600 600 600 600 600 600 วติ ามนิ บี 12 (ไมโครกรัม) 2.2 2.2 2.2 2.2 2.2 2.2 แคลเซยี ม (มิลลิกรมั ) 1,000 1,000 1,000 800 800 800 ไอโอดนี (ไมโครกรัม) 200 200 200 200 200 200 เหลก็ (2) (มลิ ลิกรัม) ความต้องการสูงมาก (2) ความต้องการสูงมาก (2) สังกะสี (มิลลกิ รัม) 9 9 9 9 9 9 (1) ปริมาณสารอาหารอ้างองิ ทีค่ วรไดร้ ับประจ�ำวันส�ำหรบั คนไทย พ.ศ. 2546 (2) ความต้องการธาตุเหล็กของหญงิ ต้งั ครรภ์มปี ริมาณสงู เกนิ กว่าจะได้รบั จากอาหารเพียงพอ จึงจ�ำเปน็ ต้องได้รับยาเม็ดธาตุเหลก็ เสรมิ วนั ละ 60 มลิ ลกิ รมั สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย 5 กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู อื แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ จากปริมาณพลังงานและสารอาหารท่ีแนะน�ำต่อวันส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์ จะเห็นได้ว่าไตรมาสแรกของการ ตัง้ ครรภใ์ นทกุ กลมุ่ อายุ หญงิ ตง้ั ครรภ์มคี วามต้องการพลังงานน้อยกวา่ ไตรมาสที่ 2 และ 3 แต่ความตอ้ งการโปรตนี วติ ามิน และแร่ธาตุ เท่ากันทั้ง 3 ไตรมาส ดังนั้นปริมาณอาหารในแต่ละไตรมาสจะต่างกันเฉพาะกลุ่มข้าว-แป้ง และผลไม้ สว่ นกลมุ่ ผัก เน้อื สตั ว์ และนม จะมีปริมาณเทา่ กนั ในแตล่ ะไตรมาสของการตงั้ ครรภ์ ตารางที่ 2 ปริมาณอาหารท่แี นะน�ำให้บริโภคต่อวนั สำ� หรับหญงิ ตง้ั ครรภ์อายุ 16-18 ปี กลุ่มอาหาร ไตรมาสการตง้ั ครรภ์ท่ี 1 ไตรมาสการต้งั ครรภ์ที่ 2 และ 3 ข้าว-แป้ง (ทพั พ)ี 8 10 ผกั (ทพั พ)ี 6 6 ผลไม้ (ส่วน) 5 6 เนอ้ื สัตว์ (ช้อนกนิ ขา้ ว) 12 12 นม (แก้ว) 3 3 น�ำ้ ตาล (ชอ้ นชา) เกลือ (ช้อนชา) ไมเ่ กนิ 4 ชอ้ นชา ไม่เกิน 5 ชอ้ นชา ไมเ่ กนิ 1 ชอ้ นชา ไมเ่ กนิ 1 ช้อนชา ตารางท่ี 3 ปรมิ าณอาหารที่แนะน�ำให้บรโิ ภคตอ่ วันสำ� หรบั หญงิ ตง้ั ครรภ์อายุ 19-50 ปี กลุ่มอาหาร ไตรมาสการตงั้ ครรภ์ท่ี 1 ไตรมาสการตั้งครรภ์ที่ 2 และ 3 ข้าว-แป้ง (ทัพพี) 6 9 ผัก (ทัพพี) 6 6 ผลไม้ (ส่วน) 5 6 เนื้อสัตว์ (ช้อนกินข้าว) 12 12 นม (แกว้ ) 2-3 2-3 น้�ำตาล (ชอ้ นชา) เกลอื (ช้อนชา) ไมเ่ กนิ 4 ชอ้ นชา ไมเ่ กิน 5 ชอ้ นชา ไมเ่ กิน 1 ช้อนชา ไม่เกิน 1 ชอ้ นชา ท้ังนี้ ควรแนะน�ำให้หญิงตั้งครรภ์บริโภคอาหารให้มีความหลากหลาย โดยสามารถเลือกอาหารทดแทน ในกลมุ่ เดยี วกันได้ ดังน้ี 6 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ ค่มู ือ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรสาธารณสุข ตารางที่ 4 อาหารทดแทนและปรมิ าณอาหารตามหน่วยครวั เรือน กลมุ่ อาหาร ปริมาณ หน่วย ชนดิ อาหารทดแทน สารอาหารหลัก ขา้ ว-แป้ง คาร์โบไฮเดรต 1 ทัพพ ี - ข้าวสวย 1 ทัพพี (5 ช้อนกินข้าว) - ขา้ วเหนียว ½ ทัพพี วิตามินและแรธ่ าตุ - ขนมจนี 1 จับใหญ่ วิตามนิ และแรธ่ าตุ - ขนมปังโฮลวีท 1 แผ่น - กว๋ ยเตีย๋ ว 1 ทัพพี - มกั กะโรนี , สปาเกตตี้ลวก 1 ทัพพี - ขา้ วโพดสุก 1 ฝัก - เผอื ก 1 ทัพพี - มนั เทศตม้ สุก 2 ทัพพี ผัก - เส้นหมี่ , ว้นุ เสน้ 2 ทัพพี 1 ทพั พ ี - ผกั สุกทุกชนดิ 1 ทัพพี เชน่ ผักกาดขาว กะหล�ำ่ ปลี แตงกวา บอ็ คโคลี่ ถ่ัวฝกั ยาว แครอท ฟักทอง - ผักดิบทเี่ ป็นใบ 2 ทัพพี - ผักดบิ ทเ่ี ปน็ หวั เชน่ มะเขอื เปราะดิบ 1 ทพั พี ผลไม้ ถัว่ ฝักยาวดิบ 1 ทพั พี มะเขือเทศดบิ 3 ทพั พ ี แตงกวาดบิ 2 ทพั พี 1 สว่ น - มงั คุด 4 ผล - ชมพู่ 2 ผลขนาดใหญ่ - สม้ เขยี วหวาน 2 ผลกลาง - แอปเปล้ิ 1 ผลเล็ก - กลว้ ยน้�ำวา้ 1 ผลกลาง - กล้วยหอม 2/3 ผลใหญ่ - ฝร่ัง ½ ผลกลาง - มะม่วงสุก ½ ผลกลาง - มะละกอสุก 6 ชนิ้ ขนาดค�ำ สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั 7 กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู ือ แนวทางการด�ำ เนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บุคลากรสาธารณสขุ กลุ่มอาหาร ปรมิ าณ หน่วย ชนดิ อาหารทดแทน สารอาหารหลัง เนอ้ื สตั ว ์ 1 ช้อน - เนือ้ สัตว์ 1 ช้อนกนิ ข้าว เช่น ไก่ หมู ววั ปลา หอย โปรตีน กนิ ขา้ ว กงุ้ เปน็ ต้น - เครื่องในสตั ว์ 1 ช้อนกนิ ขา้ ว เชน่ ตบั เลือด เป็นต้น - ไข่ ½ ฟอง - ถว่ั เมลด็ แห้ง 1 ชอ้ นกินขา้ ว เช่น ถ่วั ดำ� ถ่วั แดง ถัว่ เขียว เปน็ ตน้ - เต้าหแู้ ข็ง 2 ช้อนกนิ ข้าว - เต้าหอู้ ่อน 6 ช้อนกนิ ข้าว - นมถั่วเหลือง 1 กลอ่ ง นม 1 แกว้ - นมสด 1 กลอ่ ง 200 ซซี ี แคลเซยี ม (200 ซีซี) - นมสด 1 กล่อง 200 ซีซี - นมผง 5 ชอ้ นกนิ ข้าว - โยเกริ ์ต 1½ ถ้วย - ปลาเล็กปลาน้อย 2 ชอ้ นกินข้าว - เตา้ ห้แู ข็ง 1 ก้อน - เต้าหอู้ ่อน 7 ช้อนกนิ ขา้ ว ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการในคลนิ ิกฝากครรภ์ การดำ� เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการในคลินกิ ฝากครรภ์ ที่ครบทกุ กจิ กรรมอยา่ งมีคณุ ภาพ จะช่วย ให้หญิงต้ังครรภ์มีน�้ำหนักเพ่ิมข้ึนตามเกณฑ์ท่ีสอดคล้องกับน้�ำหนักก่อนต้ังครรภ์ ส่งผลให้ทารกมีน้�ำหนักแรกเกิดเหมาะสม แนวทางการดำ� เนินงานมดี งั น้ี 1. การประเมินภาวะโภชนาการของหญิงต้ังครรภ์ 2. การประเมินภาวะโลหิตจาง 3. การตรวจพยาธิ 4. การประเมนิ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร 5. การแจ้งและอธิบายผลการประเมินภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 6. การให้ความรดู้ ้านโภชนาการเปน็ กลุ่ม 7. การให้คำ� แนะนำ� /ปรึกษาทางโภชนาการเป็นรายบุคคล 8. การนดั หมายการตรวจครรภ์ 9. การจ่ายยาเมด็ เสรมิ ไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลกิ 10. การจัดอาหารเสริมทีม่ ีพลงั งานและโปรตนี สงู ใหแ้ กห่ ญิงตัง้ ครรภ์ทมี่ นี ้ำ� หนกั นอ้ ย 11. การตดิ ตามหญิงตง้ั ครรภ์ทีม่ ปี ญั หาด้านโภชนาการ 8 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการ คมู่ ือ ในคลินกิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข Flow chart การด�ำเนนิ งานสง่ เสรมิ โภชนาการในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั 9 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ 1. การประเมินภาวะโภชนาการของหญงิ ตงั้ ครรภ์ การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometry measurement) โดยการชั่งน�้ำหนักและวัดส่วนสูง เป็นวิธีท่ีนิยมใช้เพ่ือประเมินภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ซ่ึงจะท�ำให้ทราบว่า น้�ำหนักตัว ของหญิงต้ังครรภ์เพ่ิมขึ้น เหมาะสมหรอื ไม่ เป็นการสะท้อนถึงปรมิ าณอาหารทีบ่ ริโภค ดงั นัน้ การช่ังน้ำ� หนกั และวัดสว่ นสูงท่ีถูกตอ้ ง จึงเปน็ เร่ืองส�ำคญั ตอ่ การประเมินภาวะโภชนาการหญิงตัง้ ครรภ์ 1.1. เทคนคิ การช่ังน้�ำหนกั การเตรียมเคร่ืองชั่งน�้ำหนัก เครื่องชั่งน้�ำหนักเป็นปัจจัยแรกที่ท�ำให้เกิดความคลาดเคล่ือนของ น�้ำหนักตวั ได้ จึงต้องมกี ารเตรียมเคร่อื งชั่งน้�ำหนกั ทม่ี ีมาตรฐาน รวมทง้ั การวางเคร่ืองชงั่ นำ้� หนัก มีรายละเอียดดงั น้ี 1) เครอื่ งชั่งนำ้� หนกั ควรมีความละเอียดไม่เกนิ 500 กรัม (0.5 กิโลกรัม) หรือแบ่งยอ่ ยเป็น 10 ขีด ใน 5 กโิ ลกรมั 2) วางเครือ่ งชั่งลงบนพืน้ ราบ ไม่เอยี ง 3) ทดสอบมาตรฐานเครอื่ งชง่ั โดยการนำ� ลกู ตมุ้ นำ�้ หนกั มาตรฐาน หรอื สง่ิ ของทรี่ นู้ ำ�้ หนกั มาวางบน เครอ่ื งชัง่ เพอื่ ดวู า่ นำ�้ หนักได้ตามน้�ำหนกั ลูกตุม้ หรือสงิ่ ของน้ันหรอื ไม่ 4) ก่อนชง่ั นำ�้ หนกั ตอ้ งตงั้ คา่ เคร่อื งช่ังใหอ้ ยทู่ เี่ ลขศูนยท์ ุกครง้ั 5) ควรใชเ้ ครื่องช่งั เดิมทกุ ครง้ั ในการตดิ ตามภาวะโภชนาการ เครือ่ งชั่งแบบยืนชนดิ เข็ม เครื่องช่ังแบบยืนชนิดตัวเลข แบบนม้ี คี วามละเอยี ด 0.5 กิโลกรัม มคี วามละเอียดของน�ำ้ หนกั หลายแบบ แตเ่ ลอื กทมี่ ีความละเอยี ดไมเ่ กิน 500 กรัม วิธีการช่งั น�ำ้ หนักมีดงั นี้ 1) ไมค่ วรชงั่ น�ำ้ หนักหลังรบั ประทานอาหารทันที 2) ควรถอดเสอื้ ผา้ ท่ีหนาๆ ออกให้เหลอื เทา่ ทจ่ี ำ� เป็น รวมทงั้ ของใช้ รองเทา้ ถุงเท้า 3) ในกรณีท่ีใช้เครื่องช่ังน�้ำหนักแบบยืนที่มีเข็ม และเข็มชี้ไม่ตรงกับตัวเลขหรือขีดแบ่งน�้ำหนัก ต้องอ่านค่าน�้ำหนักอย่างระมดั ระวงั เช่น 10.1 หรือ 10.2 หรอื 10.8 กิโลกรมั 4) อ่านค่าใหล้ ะเอยี ดมีทศนยิ ม 1 ตำ� แหนง่ เชน่ 10.6 กิโลกรมั 10 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ คมู่ ือ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข 1.2. เทคนคิ การวัดสว่ นสงู 1) ถอดรองเท้า ยืนบนพนื้ ราบ เท้าชิด 2) ยืดตัวขึน้ ไปขา้ งบนใหเ้ ตม็ ท่ี ไมง่ อเขา่ 3) สน้ เท้า หลงั กน้ ไหล่ ศรี ษะ สัมผสั กับไม้วัด 4) ตามองตรงไปข้างหน้า 5) ผวู้ ัดประคองหน้าใหต้ รง ไม่ใหแ้ หงนหนา้ ขึ้น หรือก้มหนา้ ลง หน้าไม่เอียง 6) เลอื่ นไมท้ ่ใี ช้วัดใหส้ ัมผัสกับศรี ษะพอดี (ต้องเปน็ ไมฉ้ าก) 7) อา่ นตัวเลขใหอ้ ยใู่ นระดบั สายตาผ้วู ัด 8) อ่านคา่ ส่วนสงู ให้ละเอยี ดถึง 0.1 เซนติเมตร เช่น 118.4 เซนติเมตร 1.3. แปลผล - ภาวะโภชนาการหญงิ ต้งั ครรภ์ ตัวช้ีวัดที่ใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการของหญิงต้ังครรภ์ คือค่าร้อยละของดัชนีมวลกาย (BMI) ท่ี 21 ซง่ึ จดั ทำ� ในรปู ของกราฟโภชนาการหญงิ ตง้ั ครรภ์ (Vallop curve) และมตี ารางเปรยี บเทยี บรอ้ ยละคา่ มาตรฐาน ดัชนีมวลกาย (BMI) ท่ี 21 เมื่อทราบค่าร้อยละของดัชนีมวลกาย ท่ี 21 น�ำมาจุดตามอายุครรภ์ในกราฟโภชนาการ หญิงตัง้ ครรภซ์ ึ่งใชท้ �ำนายนำ�้ หนักแรกเกิดของทารก โดยแบ่งภาวะโภชนาการออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. หญิงตั้งครรภ์ท่ีมีภาวะโภชนาการในระดับท่ีท�ำนายน้�ำหนักแรกเกิดมากกว่า 3,000 กรัม แสดงว่าหญิงตัง้ ครรภ์มีน้ำ� หนกั ตัวเพิ่มขึน้ ดี เหมาะสม และลูกมีการเจริญเติบโตดีมาก 2. หญงิ ตง้ั ครรภม์ ภี าวะโภชนาการในระดบั ทที่ ำ� นายนำ�้ หนกั แรกเกดิ ระหวา่ ง 2,500 – 3,000 กรมั แสดงว่าหญงิ ต้งั ครรภ์น�ำ้ หนกั ตัวเพ่ิมข้นึ ปานกลาง และลูกมกี ารเจรญิ เตบิ โตปานกลาง 3. หญิงต้ังครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการในระดับที่ท�ำนายน�้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม แสดงวา่ หญงิ ต้ังครรภม์ นี ำ้� หนักตัวเพิม่ ข้นึ ไมเ่ พียงพอทจ่ี ะท�ำให้ลกู มีการเจรญิ เติบโตดี ทารกในครรภข์ าดอาหารตัวเล็ก ตวั อย่าง หญิงตัง้ ครรภม์ ีอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ น้ำ� หนกั 50.2 กโิ ลกรมั ส่วนสงู 156 เซนติเมตร วธิ ีการ ใหด้ ูตารางเปรยี บเทียบรอ้ ยละคา่ มาตรฐานดชั นีมวลกายท่ี 21 โดยเทียบค่าท่สี ว่ นสงู 156 เซนติเมตร และท่นี ำ�้ หนัก 50.2 กโิ ลกรมั จากนั้นไลไ่ ปทางซา้ ยมอื ดูทร่ี อ้ ยละของค่ามาตรฐาน ซงึ่ จะได้เท่ากบั 98 น�ำมาจุด กราฟโภชนาการของหญงิ ตัง้ ครรภ์ ตามตวั อยา่ งหน้า 12 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามยั 11 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ 12 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการด�ำ เนินงานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ คมู่ อื ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข 35           สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั 13 กระทรวงสาธารณสขุ ค่มู อื แนวทางการดำเนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินกิ ฝากครรภ์ สำหรบั บุคลากรสาธารณสขุ  

ค่มู ือ แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสุข - แนวโน้มการเพม่ิ น้ำ� หนกั การจุดค่าร้อยละมาตรฐานดัชนีมวลกาย (BMI) ท่ี 21 ในกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ ์ เป็นข้ันตอนท่ีมีความส�ำคัญอย่างมาก เน่ืองจากกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ติดตามน�้ำหนักของ หญิงต้ังครรภ์แต่ละคน เพ่ือดูแนวโน้มการเพิ่มน�้ำหนักสอดคล้องกับมาตรฐานหรือไม่ หากมีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ดี แต่แนวโน้มไม่ดี จะได้หาสาเหตุและจัดการกับปัจจัยเหล่านั้นก่อนที่จะเข้าสู่ภาวะโภชนาการท่ีเส่ียงต่อการขาดอาหาร และถา้ ไม่ด�ำเนนิ การแก้ไข จะเข้าสภู่ าวะการขาดอาหารในท่ีสดุ วิธีการท่ีจะเห็นแนวโน้มภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ คือ จุดค่าร้อยละมาตรฐาน ดัชนีมวลกาย (BMI) ท่ี 21 ลงในกราฟ แล้วเช่อื มโยงจดุ คา่ รอ้ ยละมาตรฐานแตล่ ะจดุ จะทำ� ใหท้ ราบทงั้ ภาวะโภชนาการและ แนวโน้ม ท�ำให้ง่ายต่อการติดตามการเปลี่ยนแปลงภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ว่าเป็นไปในอัตราท่ีเหมาะสมหรือไม่ หญงิ ตง้ั ครรภท์ ีม่ ีแนวโนม้ การเพิม่ น�ำ้ หนกั ดี เส้นแนวโน้มจะอยู่ในแถบสีเขยี วขนานไปกบั เสน้ ทบึ แสดงวา่ นำ้� หนกั เพม่ิ ขึน้ ดี แต่ถา้ พบวา่ เสน้ แนวโนม้ เบ่ยี งเบนลดลงเขา้ หาเส้นทึบ จะเป็นการเตือนให้มีการคน้ หาสาเหตุ และด�ำเนนิ การแกไ้ ขตอ่ ไป 15     เสน้ แนวโน้มการรเเพพิม่ ่มิ นน้ำ� ้ำหหนนักัก 14 กสำ�รนะทกั รโวภ2งชส.นาากธกาาารรรณกปสรุขรมะอนเมามนิ ัยภาวะโลหติ จาง

แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ ค่มู ือ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ 2. การประเมนิ ภาวะโลหิตจาง การขาดธาตุเหล็ก เป็นสาเหตุของภาวะโลหิตจางที่พบได้บ่อยท่ีสุด ตลอดระยะการต้ังครรภ์โดยพบถึง รอ้ ยละ 22.3 จงึ ตอ้ งมกี ารประเมนิ ภาวะโลหติ จางโดยการเจาะเลอื ดดคู า่ ฮมี าโตครติ หรอื ฮโี มโกลบนิ ทม่ี าฝากครรภค์ รงั้ แรก และอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ หากมคี า่ ฮีมาโตคริตน้อยกวา่ 33% หรือ ฮีโมโกลบินน้อยกวา่ 11% ถอื ว่ามภี าวะโลหิตจาง การรกั ษาภาวะโลหิตจาง ให้จ่ายยาเมด็ ธาตเุ หลก็ 60 มิลลกิ รัม ทุกวันๆละ 2-3 ครง้ั เปน็ เวลา 1 เดอื น และเจาะเลือดซำ้� หากมีระดับฮโี มโกลบนิ สงู ข้ึนเกิน 1 กรัมตอ่ เดซลิ ิตร แสดงว่าขาดธาตุเหล็ก ใหก้ ินยาเม็ดเสรมิ ธาตเุ หล็ก ทุกวันต่ออีก 60 วัน หลังจากนั้นลดขนาดการให้ยาเป็นวันละ 1 ครั้ง ตามปกติ เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาด ธาตเุ หลก็ ต่อไป ในกรณที ีก่ นิ ยาแลว้ 1 เดือน ระดับฮโี มโกลบินไม่สงู ขน้ึ ทงั้ ทกี่ นิ ยาตามกำ� หนด (ควรสอบถามการกินยา เม็ดเสริมธาตุเหล็ก) แสดงว่าไม่ได้เกิดจากการขาดธาตุเหล็ก ให้ส่งต่อแพทย์เพ่ือค้นหาสาเหตุอ่ืน เช่น โรคธาลัสซีเมีย พยาธิ ริดสีดวงทวาร ถ่ายเป็นเลอื ด เปน็ ต้น 3. การตรวจพยาธิ หญิงต้งั ครรภ์ท่ีน�ำ้ หนกั ตวั นอ้ ยหรอื มีภาวะโลหิตจาง ควรมกี ารตรวจหาพยาธิ หากพบพยาธิ ให้ทำ� การ รักษาต่อไป โดยให้อยู่ในความดูแลของแพทย์ และสิ่งส�ำคัญคือการให้ความรู้ในการดูแลด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม และ สขุ อนามยั ส่วนบุคคล 4. การประเมนิ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จะทำ� ให้ทราบว่าหญิงตงั้ ครรภม์ ีพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร เหมาะสมหรอื ไม่ บรโิ ภคอาหารไดค้ รบถ้วน เพยี งพอหรอื ไม่ หญิงตั้งครรภ์ทีม่ ภี าวะโภชนาการดี อาจมพี ฤติกรรมบางอย่าง ไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ การบรโิ ภคผัก ผลไม้ เป็นตน้ จะเป็นขอ้ มลู สำ� หรบั การใหค้ �ำแนะน�ำปรกึ ษาทางโภชนาการได้ถกู ต้องตรงตาม สภาพปญั หาของหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ตล่ ะคน แบบฟอรม์ การประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของหญงิ ตงั้ ครรภแ์ บง่ ออกเปน็ 2 กลุ่มอายุ คอื หญิงตง้ั ครรภ์อายุ 16-18 ปี และหญิงตงั้ ครรภอ์ ายุ 19 ปขี น้ึ ไป รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก โดยท่ีก่อนการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บุคลากรสาธารณสุขจะต้องท�ำการสอนเร่ือง ธงโภชนาการ เน้อื หาประกอบด้วยกล่มุ อาหาร ปริมาณและสดั ส่วนอาหาร รวมถงึ อาหารแลกเปล่ียน ในแต่ละกลุ่มอาหาร แกห่ ญิงต้ังครรภ์ทีม่ ารบั บรกิ าร ในโรงเรียนพอ่ แม่ครั้งท่ี 1 พรอ้ มท้งั มีห่นุ จ�ำลองอาหารหรอื อาหารจรงิ เปน็ ตัวอยา่ งประกอบ การสอน เพ่ือหญิงตั้งครรภ์จะได้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับกลุ่มอาหาร อาหารทดแทน และปริมาณอาหารตาม หน่วยครวั เรอื น (ตารางที่ 4) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร (รายละเอยี ดดูในภาคผนวก) มี 2 แบบ คอื แบบท่ี 1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของหญิงต้งั ครรภ์อายุ 16 - 18 ปี แบบที่ 2 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์อายุ 19 ปีขึ้นไป วธิ ีการประเมิน - ประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในช่วง 1 สัปดาหท์ ผ่ี า่ นมา - ในการประเมินครั้งแรกเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงต้ังครรภ ์ เมื่อหญิงต้ังครรภ์เข้าใจในเนื้อหาการประเมิน และสามารถท�ำการประเมินด้วยตนเองได้แล้ว เมื่อมารับบริการในครั้งถัดไป สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย 15 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ ให้หญิงตง้ั ครรภป์ ระเมินพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารดว้ ยตนเอง - การประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในแตล่ ะขอ้ นนั้ หมายถงึ พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม หากพฤตกิ รรม ในขอ้ ใดไม่ปฏิบตั ิ แสดงวา่ ต้องปรับปรุงพฤติกรรมในเรอ่ื งนัน้ ๆ โดยแต่ละข้อมีวิธีการประเมนิ ดังตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 รายละเอียดและวิธีการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารส�ำหรบั หญิงตงั้ ครรภร์ ายข้อ ข้อท่ี รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมนิ 1. กินอาหารเช้าท่มี ีกลุม่ อาหารอย่างน้อย 3 กลมุ่ คือ - ประเมินดูว่าหญิงตั้งครรภ์กินอาหารเช้าที่มีกลุ่มอาหาร กลมุ่ ขา้ ว-แปง้ กลมุ่ ผกั และกลมุ่ เนอื้ สตั ว์ หรอื กลมุ่ อยา่ งนอ้ ย 3 กลมุ่ และทำ� ทกุ วนั ใน 1 สปั ดาหห์ รอื ไม่ ถา้ หาก ขา้ ว-แปง้ กลมุ่ ผกั และกลมุ่ นม หรอื กลมุ่ ขา้ ว-แปง้ กนิ ครบและทำ� ทกุ วนั ใน 1 สปั ดาห์ ก็ให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ กลุ่มเน้ือสัตว์ และกลุ่มผลไม้ หรือกลุ่มข้าว-แป้ง ลงในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ แตห่ ากกนิ ไดน้ อ้ ยกวา่ 3 กลมุ่ อาหาร กลุ่มนมและกลุ่มผลไม้ ทุกวัน ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ ง “ไมป่ ฏิบตั ิ” 2. กนิ อาหารหลักวนั ละ 3-4 ม้อื (เช้า กลางวนั บ่าย - ประเมินดูว่าหญิงตั้งครรภ์กินอาหารหลักวันละ 3-4 มื้อ เยน็ หรอื คำ่� ) ทกุ วนั หรอื ไม่ หากกนิ ไดค้ รบตามทก่ี ำ� หนดและ ทำ� ทกุ วนั ใน 1 สปั ดาห์ ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ิ ได้” ถ้ากนิ ได้นอ้ ยกวา่ 3 มอื้ กใ็ ห้ใสใ่ นเครอื่ งหมาย ✓ ใน ชอ่ ง “น้อยกวา่ ” แต่ถ้าหากกินมากกวา่ 4 มือ้ ขึ้นไป ให้ใส่ เครือ่ งหมาย ✓ ในช่อง “มากกวา่ ” 3. กนิ อาหารว่างวันละ 2-3 ครง้ั (ช่วงสาย ชว่ งบ่าย - ประเมินดูว่าหญิงตั้งครรภ์กินอาหารว่างวันละ 2-3 ม้ือ และ/หรือค่�ำ) ทุกวันหรือไม่ หากกินได้ครบตามที่ก�ำหนด และทำ� ทุกวันใน 1 สัปดาห์ ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏบิ ตั ิได”้ ถ้ากนิ ได้น้อยกวา่ 2 ม้อื กใ็ ห้ใสใ่ นเครอื่ งหมาย ✓ ในช่อง “น้อยกวา่ ” แต่ถา้ หากกนิ มากกว่า 3 มอื้ ขน้ึ ไป ให้ใส่เคร่อื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “มากกว่า” 4. ปรมิ าณอาหารท่บี รโิ ภคในแตล่ ะกลุม่ - ประเมนิ ดวู า่ หญงิ ตง้ั ครรภก์ นิ อาหารตามปรมิ าณ ทกี่ ำ� หนด 4.1 กนิ อาหารกล่มุ ข้าว-แปง้ วันละ 10 ทัพพ ี และทำ� ทกุ วนั ใน 1 สปั ดาหห์ รอื ไม่ ถา้ กนิ ไดต้ ามทกี่ ำ� หนดให้ 4.2 กินอาหารกลุ่มผักวนั ละ 6 ทพั พที ุกวนั ใสเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ ถา้ กนิ ปรมิ าณนอ้ ยกวา่ 4.3 กนิ อาหารกลมุ่ ผลไมว้ ันละ 6 สว่ น ทุกวนั ทก่ี �ำหนด กใ็ หใ้ สใ่ นเครอื่ งหมาย ✓ ในช่อง “น้อยกว่า” แต่ 4.4 กนิ อาหารกลมุ่ เนือ้ สตั ว์ วนั ละ 12 ชอ้ นกนิ ถ้าหากกินมากกว่าที่ก�ำหนดให้ใส่ เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง ข้าวทกุ วนั “มากกวา่ ” โดยปรมิ าณอาหารทบ่ี รโิ ภคในแตล่ ะกลมุ่ ดไู ดจ้ าก 4.5 ดมื่ นม (เลือกใหต้ รงตามภาวะโภชนาการ ช่องรายละเอียดการประเมนิ 4.1-4.5 ของหญงิ ตัง้ ครรภ์) 16 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการด�ำ เนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ คมู่ ือ ในคลินกิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสุข ข้อที่ รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมนิ • นมรสจืดวนั ละ 3 แก้วหรอื กล่องทุกวัน สำ� หรับหญงิ ต้ังครรภไ์ ม่อ้วน • นมพร่องมันเนย/นมขาดมนั เนย วนั ละ 3 แกว้ หรอื กล่องทุกวันสำ� หรับหญงิ ต้ังครรภอ์ ้วน 5. กินปลาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน - ประเมินดูว่าหญิงต้ังครรภ์กินปลาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วนั หรอื ไม่ ถา้ หากกนิ ได้ตามท่ีก�ำหนดใน 1 สปั ดาห์ ก็ใหใ้ ส่ เครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ แตห่ ากกนิ ไดน้ อ้ ยกวา่ สปั ดาหล์ ะ 3 วนั ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง “ไมป่ ฏบิ ตั ”ิ 6. กนิ ไข่ อยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 3 วนั ๆละ 1 ฟอง - ประเมินดูว่าหญิงตั้งครรภ์กินไข่สัปดาห์ละ 3 วัน หรือไม่ หากกนิ ไดค้ รบตามทก่ี ำ� หนดใน 1 สปั ดาห์ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้ากินได้น้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน ก็ใหใ้ ส่ในเครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “น้อยกวา่ ” 7. กินอาหารทีเ่ ปน็ แหลง่ ของธาตุเหลก็ เช่น ตบั เลอื ด - ประเมินดูว่าหญิงต้ังครรภ์กินอาหารของแหล่งธาตุเหล็ก สัปดาหล์ ะ 2-3 วนั เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 2-3 วัน หรือไม่ หากกินได้ครบ ตามที่ก�ำหนดใน 1 สัปดาห์ ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้ากินได้น้อยกว่าสัปดาห์ละ 2 วันก็ให้ใส่ใน เคร่อื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “นอ้ ยกวา่ ” แต่ถา้ หากกนิ มากกว่า สปั ดาหล์ ะ 3 วนั ขน้ึ ไป ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “มากกวา่ ” 8. กินยาเมด็ เสรมิ ไอโอดนี ธาตเุ หล็ก และกรดโฟลกิ - การประเมินเลือกให้ตรงกับยาที่ได้รับ หากกินทุกวันใน (เลอื กให้ตรงกบั ยาท่ไี ดร้ บั ) 1 สัปดาห์ ให้ใส่เครื่องหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” หาก ไม่กินทุกวันใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “น้อยกวา่ ” แต่ถ้า หากกนิ มากกว่าวนั ละ 1 ครง้ั ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “มากกวา่ ” 9. กนิ อาหารประเภทผดั ทอดและกะทิ - การประเมินเลือกให้ตรงกับภาวะโภชนาการของหญิง ต้งั ครรภ์ (นำ้� หนกั ปกติ นำ้� หนกั นอ้ ย และอ้วน) หากกนิ ตาม ทีก่ �ำหนดและทำ� ทกุ วนั ใน 1 สปั ดาหก์ ใ็ หใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในช่อง “ปฏบิ ตั ิได”้ ถ้าหากปฏิบตั ิไม่ได้ตามทกี่ �ำหนดไว้ ก็ จะตอ้ งใสเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ ง “นอ้ ยกวา่ ” หรอื “มากกวา่ ” ท่กี �ำหนดไว้ ส�ำ นกั โภชนาการ กรมอนามยั 17 กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู ือ แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสขุ ข้อที่ รายละเอยี ดการประเมนิ วิธกี ารประเมนิ 10. ไม่กินเนือ้ สัตว์ติดมนั เชน่ หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู - ประเมินดูว่าหญิงต้ังครรภ์กินเน้ือสัตว์ติดมันหรือไม่ หากหนงั ไก่ หนังเป็ด ไส้กรอก เป็นต้น ไม่กินเนือ้ สัตว์ติดมนั ตามท่ีระบุไว้ ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากกินใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ไม่ปฏิบัติ” 11. ไมก่ ินขนมทม่ี รี สหวาน เชน่ ไอศกรมี หวานเย็น - ประเมินดูว่าหญิงต้ังครรภ์กินขนมที่มีรสหวานหรือไม่ ช็อคโกแลต หมากฝรงั่ ลูกอม เยลลี่ เปน็ ต้น หากไม่กินขนมรสหวานตามท่ีระบุไว้ ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ ถา้ หากกนิ ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ไมป่ ฏบิ ัติ” 12. ไมด่ มื่ เครอื่ งดมื่ ทมี่ ีรสหวาน เชน่ น้�ำอัดลม น้ำ� หวาน - ประเมนิ ดวู า่ หญงิ ตง้ั ครรภด์ ม่ื เครอ่ื งดม่ื ทมี่ รี สหวานหรอื ไม่ โกโก้เย็น ชาเยน็ นำ้� ปน่ั น้�ำผลไม้ นมเปร้ยี ว เป็นตน้ หากไมด่ มื่ เครอื่ งดมื่ รสหวานตามทรี่ ะบไุ ว้ ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ ถา้ หากดม่ื ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ไม่ปฏบิ ตั ”ิ 13. ไมก่ นิ ขนมเบเกอร่ี เชน่ เคก้ พาย โดนทั เป็นตน้ - ประเมินดูว่าหญิงตั้งครรภ์กินขนมเบเกอร่ีหรือไม่ หากไม่ กินขนมเบเกอรี่ตามที่ระบุไว้ ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ ถา้ กนิ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ไมป่ ฏบิ ตั ”ิ 14. ไม่กินขนมขบเค้ียว เช่น ปลาเส้นปรุงรส มันฝรั่ง - ประเมนิ ดูวา่ หญงิ ตั้งครรภ์กนิ ขนมขบเค้ยี วหรือไม่ หากไม่ ทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปงั แท่ง เป็นตน้ กนิ ขนมขบเค้ียวตามท่รี ะบุไว้ ให้ใส่เคร่อื งหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากกินให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ไมป่ ฏิบตั ”ิ 15. ไม่เตมิ เครื่องปรงุ รสเค็ม เชน่ น�้ำปลา ซีอวิ๊ แม็กก้ี - ประเมนิ ดูว่าหญิงตั้งครรภ์เตมิ เครือ่ งปรงุ รสเคม็ ในอาหาร ในอาหารทปี่ รุงสุกแล้วทุกครงั้ ทป่ี รงุ สกุ แลว้ ทกุ ครง้ั หรอื ไม่ หากไมเ่ ตมิ เครอ่ื งปรงุ รสเคม็ ตาม ท่ีระบุไว้ ในอาหารท่ีปรุงสุกแล้วทุกคร้ัง ให้ใส่เครื่องหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากเติมให้ใส่เครื่องหมาย ✓ ในช่อง “ไม่ปฏบิ ัติ” 16. ไม่เติมน�้ำตาลในอาหารที่ปรงุ สุกแลว้ ทุกครง้ั - ประเมนิ ดวู า่ หญงิ ตง้ั ครรภเ์ ตมิ นำ้� ตาลในอาหารทป่ี รงุ สกุ แลว้ ทกุ ครงั้ หรอื ไม่ หากไมเ่ ตมิ นำ้� ตาลในอาหารทป่ี รงุ สกุ แลว้ ทกุ ครง้ั ให้ใส่เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากเติม ใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย ✓ ในช่อง “ไม่ปฏบิ ัต”ิ 18 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ คมู่ อื ในคลินกิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ ขอ้ ที่ รายละเอยี ดการประเมิน วิธีการประเมนิ 17. ไมก่ นิ อาหารหมกั ดอง เช่นผักดอง ผลไม้ดอง - ประเมินดูว่าหญิงต้ังครรภ์กินอาหารหมักดองหรือไม่ หอยดอง เปน็ ตน้ หากไมก่ นิ อาหารหมกั ดองตามทรี่ ะบไุ ว้ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากเติม ให้ใส่เครื่องหมาย ✓ ในชอ่ ง “ไมป่ ฏบิ ัต”ิ 18. ไม่ด่ืมเครอื่ งดืม่ ท่มี แี อลกอฮอล์ - ประเมนิ ดวู า่ หญงิ ตง้ั ครรภด์ ม่ื เครอ่ื งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอลห์ รอื ไม่ หากไมด่ มื่ เครอื่ งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอล์ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง “ปฏบิ ตั ไิ ด”้ ถา้ หากดมื่ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ ง 20  “ไม่ปฏบิ ัต”ิ   19. ไมเ่ดป่ืมน เตคนรือ่ งดื่มท่มี คี าเฟอนี เชน่ กาแฟ ชา เปน็ ต้นห าก- ไปมรด ะมื่ เเมคินรื่อดงูวดา่ ื่มหทญ่ีมงิีคตาเัง้ ฟคอรนีรภตด์ าม่ืมทเคร่ี ระอื่บงุไวด ่มืใหทใ ี่มสเีคคารเื่อฟงอหนีมหายรือ√ไใมน่ ชอ ง “ปหฏาิบกัตไิ ดม” ่ดถ่ืมา เหคากร่ืดอ่ืมงเดคื่มร่อื ทงี่ดม่มืีคาใหเฟใ สอเคีนร่ืองตหามมาทยี่ร√ะใบนชุไวอ ง้ ใ“หไม้ใปสฏ่ บิ ตั ิ” เคร่ืองหมาย ✓ ในช่อง “ปฏิบัติได้” ถ้าหากด่ืมเครื่องดื่ม 5. การแจงและอธบิ ายผลการประเมนิ ภาวะโภใชหน้ใาสก่เคารรอ่ืแงลหะมพาฤยต✓กิ รรใมนกชาอ่ รงบ“รไโิมภป่ คฏอบิ าตัหิ”าร 5.1 การแจงและอธิบายผลการประเมนิ ภาวะโภชนาการ โ ภชนาเโพกดายื่อรอจหธะริบไอืดา 5 แรย.กว ตม้ไาขก5 กมปัน.าแ1ญั รดน คแหําวจวคกเาโนรง้กวานแแนิรรามจแลแรกแขจงจะาลทง้าอง้ระทดแั้งสธภแงั้อบิลง แานาเะาสนวหวอยระวาโธผิมโนโรบินลภภขมาม้กชอากยกานวงาผราหะารปรลโกญเเภพกรพาิงะชาร่ิมมติ่ เรนไนมนัง้ดปาค้าํินำ้�ดรกหรหภงัะารนนนาเรภมกักัวี้ห์ ินแะแ รโโภลลือดภะะาแยชภวภอกนะาาธไวโาขวิบภะกะปาโชาโยภญภรนตชแหชาานลกนามากะาาแกพรากนาราฤรวขรตโเานพกิ ดม้อร่ื อแรจามละหกะไาดภารร้ราขว่ บวมอะรกงโิโหภนัภญชดคนำ�องิ เาตานกหงั้นิ าคากรรราไรดรภสด้ ง่ังเนส้ีรมิ ภาวะ 3 อ,ย0ใู่ 0น0เทภกกาณารวรฑัมกะด์โใภนมี ชคา กนร รา แภกน มาวรโี โออน-กยม้ เ-าใู ส กนสเนาเสทกรแ้นจี่เณนพแะวฑมิ่นมโนีนวดนโำ้�มีา้ํมนหหาก้มนกนากกั ักราดเแแรพี นรนเพม่ิ กวำ้� นิ่มเหโกน้ํานนิดหม้�ำกั มหนกเพาานกั กรมิ่ัอกกเขอยพวนึ้ยแู ่มิา ตู่แถนา3ถบํ้าม,บส0หเสดีก0นีดณ0ากั ้านฑดกนบี์รบทนนมั นา้ําแรแหลกลนะใะขนกั ขนเคพนราาม่ิรนนภขกกม์ึน้บั ับโีตเอเสาสกนม้นาทเสทกบึทึบณจี่ แฑะแสมสดนี ดงำ�้งวหวา ่านกั ภแารวกะเกโภดิ ชมนากากกาวรา่ แนวโนม การเพิม่ นํ้าหนักดี แนนว้าํ โหนนม้ ักกเาพรม่ิ เพขนึ้ิ่มนตาำ�้ มหเนกักณดฑี  นำ�้ หนกั เพิม่ ขึ้นตามเกณฑ์ - เสน แนวโนม การเพ่มิ นํ้าหนักอยแู ถบสีดานบน แตเทลงเขา หาเสนทึบ แสดสง�ำวนา กั มโภีชกนราะทกราวรงกสรามธาอรนณามสยัุข 19 ภาวะโภชนาการอยใู นเกณฑด ี แตแนวโนมไมดี น้ําหนกั เพิม่ ขึน้ นอย

คมู่ ือ แนวทางการดำ�เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บุคลากรสาธารณสุข - เสน้ แนวโนม้ การเพมิ่ นำ�้ หนกั อยแู่ ถบสดี า้ นบน แตเ่ ทลงเขา้ หาเสน้ ทบึ แสดงวา่ มภี าวะโภชนาการ อยู่ในเกณฑ์ดี แต่แนวโน้มไม่ดี น�้ำหนักเพ่ิมขึ้นน้อย ทารกในครรภ์มีโอกาสท่ีจะมีน�้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 3,000 กรัม อ    ย   า่ งไรก็ตาม หญิงตัง้ ครรภท์ มี่ นี �้ำหนักมาก หากเสน้ แ221น21 1   ว    โน้มการเพิม่ น้ำ� หนักเบนลงเลก็ นอ้ ย ถอื ว่าไม่เปน็ ปญั หา แแแนนนววโวโนนโนมม มกกกาารารเรเพพเพม่ิ ่มิ ่มินนน้ําํ้าหา้ํหหนนนักกั กัไไมมไมดดดี ี ี แนนนวนา้ํ ํ้าโห้ํานหหน้มนนักกั ักเาเพพเรพ่มิ ่มิเพ่มิขขขน้ึ่ิม้ึนนึ้นนอ้ำ�ออยหยยไนไปปไกั ปไมด่ ี น�ำ้ หนกั เพ่มิ ข้นึ นอ้ ยไป อโแอภรแอภยแอภลาคาลาาู่ใจวละาาเจวะนบเะจเวะเะเกสเกโาสเะเโกกิดภส่ียหดิภโย่ี ณดิภภี่ยงชภวงชตภงชนาตาฑนาตอวนนาอาวา์ดะอกวกะากกีมแคะกากาคา ารลคารารารรรมกรระอรมรอ-ภมนีรทอย-ภนีย-ภแเีนเํา้ยใู าเเาํ้ใูสปนสปหเตเรนา้ํูใหสนปนนนกเหน่นมเนกนแนกพเใแนพีแักกณกันแนพณนษิ-ักแนิษณแนค วฑษิวแรฑวรโเรวฑโกดสรนโโกดรนโโรนกเนด้มีรนโมภเีมกมครกคเ้มีมแามก์อากดิคกิดกคนาทกกาาดิมาควมกววรี่จตารแมาาวแาาโเรมเ้อมกแตพานามกตพเีภมกงดตพมม้มิ่กดมิ่มรากดวนัมีแกิม่นวันแีนะวาวันแีนโาาน้ํานโะวํา้ลารลนโวห4ํา้ัวหงอ4ลหเโหวห,4พนนโ,ว้0นนหิต0นโิต,นักน�้มิ่ำ0นกัมิตส0มสหักอน0อมทส0งูแทงูอยน0ำ้�ยทูง่ตีกลโต่ีหกยแูโักแูรต่ีอกระรโอรแูถนคเถรัมองคเรัมพงถบกัสคเบรัมงเรบบ่ิมอส่ียบะเรสะบายสีดวงมะาดีวหตาังแู่ีดหวาาังา หนว่อนังถกนาวนนาวํา้กนบบาเ้ําบนหกาา้ํนาหบสนนนหินรนดีนนแแมนแไกัา้แแกัลปลนีนแลกัเลละเพะ ้�ำพละบเะทะพ ทหมิ่เะิม่นเทบาอมิ่บานเมรบานรแามานักการกจนลขกาแขกกใใเะขึ้นกเนรึ้นเนกใกเกน้ึเกนจคบจิดคกินินาจเครานภรินกไกไารกปรขิดปไากเภรเภปสน้ึวมสเภอ อสนะจาน อาานคากททจาจกทรกบึมจึบมเรวบึสมีภีภภแ่าแน้ภีาแาส์เสท4วาปวสดดะ,วบึะ็0นดงองะอว0งพแวอว วา0วาสนิษวมนามดนกมี ีงรโีวรมั า่คมคี ภวาามวะดโันภโชลนหาิตกสารูง แแแนนนววโวโนนโนม มมกกกาารารเรเพพเพมิ่ ม่ิ ่มินนน้ํา้ําห้าํหหนนนกั กั ักมมมาากากก แออนอาาวจาจโเจเพนพเพ้ม่ิ ม่ิ ิ่มกมมาากรากเกไไพปปไปิ่มตตนตออำ�้ องงหเงเฝนฝเฝา าักรารมะระาวะวกังวงั งั อาจเพิ่มมากไป ตอ้ งเฝ้าระวัง ---เ เสสเสน นนแแแนน-น ววโเวโสนนโน้ม ม แมกกนกาารวารเโรเพนพเพิ่ม้่มิ ม่ินกนนา้ํ ํา้ รหํา้หเหนพนนกั ม่ิกั กัอนออยยำ�้ ยชูหชู ชูววนงวงกั งกอกลลยลาาชู่งางแว่งแแลงลกละะลขะขาขนนงนาาแนานลนกกะกับขับบัเนเสสเาสนนนททกทบึ บึั ึบเสแแน้แสสทสดดดบึงงวง ว าวาแมามสมี ีดี งวา่ มภี าวะโภชนาการอยใู่ น เภกภภาณาวาวฑะวะโะ์โปภภโาภชชนชนนกนาาลกากากางรารอรอแอยยนยใู ใู นนูใวนเโเกกนเกณณ้มณฑเฑหฑป ป มปาาือนานนกกเกลลดลาาิมงางงแแนแนน้�ำนววหโวโนนโนัมกม มเเหพหเหม่ิมมอืขืออืน้ึนนเปเดดเาดิมิมนมิ นกนน้าํล้าํ หํา้หาหนงนนักกั ทักเเพพเาพ่มิร่มิ ่มิกขขขน้ึใึน้ น้ึปปคปาารนานรนกกภกลล์มลาาีงโางองกาสที่จะมีน�้ำหนักแรกเกิดระหว่าง 2ทท,ท5าาร0ารกร0กกใ-ใน3นใน,ค0คคร0รรร0ภรภภกมมรมโี ีโอัมอโี อก ก กา า สาส สทททจ่ี จ่ี ะ่ีจะมะมมนี นี ีนา้ํ ํ้าหา้ํหหนนนักักักแแแรรกรกกเเกกเกิดดิ ิดรระระหะหหววาวา งางง22,2,55,05000-0-33-,3,00,00000กกกรรมัรมั มั แแแนแนนวนววโโวโนนนโน้มปมปมปกมกปาากาานกานาานรรานกกรกเเรเลกลพพลพเลาาพม่ิาม่ิ่ิมงงางิ่มนนนงน้ํา�ำ้้าํ ห้ําหหหนนนนักักักกั ---เเสสเสนน นแแแนนนววโวโนนโนมม มกกกาารารเรเพพเพิม่ ่มิ ม่ินนนาํ้ ํา้ ห้ําหหนนนักักกัอออยยยใู ใู นนใู นชชชว วงวงกงกกลลลาางางแงแแตตตเเบบเ บนนนลลลงงองออออกกกจจาจาเาเสสเสนนนทททึบึบบึ หหหรรือรือือเเบบเบนนนเเขขเขา าหาหหาาเาเสสเสนน นปปปรระระไะไปปไปทททาางางแงแแถถถบบบสสสีดีดีดา า นานนลลลา างางงแแแสสสดดดงงวงวาวามามมีภภี ีภาาวาวะวะโะโภภโภชชชนนนาากากกาารารอรออยยยูใใู นนใู นเเกกเกณณณฑฑฑป ป ปาานานนกกกลลลาางางง 20 สกแกแก�ำรแกตนระตรทักัมตรมรมัมโวภัมมีแีแงชสแีนนนาานวธวกาโวาโรนรนโณนมกมสรมไุขไมมมไอมด นด ดีาีนมนี ัยนํา้ ้าํ หาํ้หหนนนักักกัเเพพเพิม่ ่ิมมิ่ขขข้นึ น้ึ ึ้นไไมมไมเ เพพเ พียยี ยีงงพงพพอออทททาารารกรกกใในนในคคครรรรภรภภมมมีโโี ออโี อกกกาาสาสสททที่จ่จี ะี่จะมะมมนี นี นีํ้าํ้าห้ําหหนนนกั ักกัแแแรรกรกกเเกกเกดิ ิดดินนนอ อ อยยยกกกววาวาา22,2,55,050000

แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ ค่มู อื ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสุข - เส้นแนวโน้มการเพ่ิมน้�ำหนักอยู่ในช่วงกลางแต่เบนลงออกจากเส้นทึบ หรือเบนเข้าหาเส้น ประไปทางแถบสีด้านล่าง แสดงว่ามีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง แต่มีแนวโน้มไม่ดี น้�ำหนักเพิ่มข้ึนไม่เพียงพอ ทารกในครรภม์ โี อกาสท่จี ะมีนำ�้ หนกั แรกเกิดน้อยกวา่ 2222,252     0   0 กรมั       แแนแนแนนนนำ�้นวนํา้วหาํ้วโ้ําวหโหนโนหนโนนนนม้กันม มกั กัมกเักกเกพเกาพเาพาพริม่าริม่ร่ิมเริ่มเขเพขพขเพขน้ึพึ้นิ่มึ้นิ่มนึ้ม่ิไม่ิไนไนมนมไมนม�้ำํา้่เเ้ําเ้ําพพหหเพหพหนยีียนนียนียงงกักังกั งกัพพพไไไพมไมอมออมอดด่ด ดีีี ี -- -เเสเสสน น น แแแ-น นนวเวสวโโนโ้นนมแม มกนกกาวาารโรรนเเพเพม้พม่ิ ิม่กม่ิ นนานาํ้รํ้า้าํหเหพหนนนิม่ กั กั นักอออำ้� ยยหยูใ ูในูในนชกั ชชวอว วงยงงกกู่ใกลนลลาชาางว่งงงแแกแลลละะาะเเงบเบบนแนนลขขขะึ้น้นึ ึน้ เไไบปไปปนแแแขถถถน้ึบบบไดดปดาาแานนนถบบบนนดนเเา้สเสสน น นบทททนึบบึ บึ เส้นทบึ แสดงว่ามภี าวะ โภแแชแสสนสดดาดงงกงววาวา ารามมอมีภีภยีภาา่ใู าวนววะะเะกโโภโภณภชชชฑนนน์ปาาากากกนาาารกรรออลอยยายูใงูในูใน น เเกเแกกณลณณะฑฑฑแปปนป าาวานนโนกนกกล้มลลากาางงางรแเแแพลลล่ิมะะะนแแแน�้ำนนหวววโนโนโนักนมมดม กกีขกาา้นึารรรเเพทเพพิ่มาิม่ มิ่รนนนก้าํ ้ําใ้ําหหนหนนคนักักรักดรดดภขี ขี ีขน้ึ์มนึ้ ึน้ โี อกาสท่จี ะมนี ำ�้ หนักแรกเกดิ มากกวา่ 3,ท0ทท0าาา0รรรกกกใในใรนนัมคคครรรรรภภภมมมโี ีโอโี ออกกกาาาสสสทททจี่ ีจ่ ีจ่ ะะะมมมีนนี ีนาํ้ า้ํ ํ้าหหหนนนักักักแแแรรรกกกเเกเกกิดดิ ิดมมมาาากกกกกกวววาา า 333,,0,00000000กกกรรรัมมั มั แนแแวแนนโนวนววโโ้มนโนนกม ม มากกกราาเารพรรเเพเม่ิพพม่ินม่ิ ิ่มน้�ำนนห้าํ าํ้ า้ํหนหหนักนนักดกั กั ดีดดี ี ี เ กภนณภนภน้ําาาํ้าฑาํ้าหวหวหวะไ์นะนะมนโโักภโัก่ดภกัภแแชีชแแชรรนนรกลนกากาเะาเกกเ กกแกกาิดาดินาิดรรนนรอวนอ-ออ-อโ ย-อยนยเยยเใูสยูใเสกนมู้ใสกนนกนนวกเนวเวกแเากแากแ-านณ รนณ2นณ2วเเ2วฑ,พสฑว,5โฑ,5โน5โไน้่ิมน0ไ 0นมไ 0มมแน0มม0ดม0ดกน้�ำดกีกกีกาหวแีกาแราแรรโรนลรลัมรนเัมลเัมะพกัเะพม้ะพแไม่ิแ่ิมกแมม่ินนนนนาด่นวว้ําร้าํวีโ้ําหโเทหนโพนหนนานมม่ินมรักกกักนักกกอาอาอำ้�ใายรยรนหยรเแูเแูพคเนูแพถพถร่ิมถกั่มิบบมิ่รบนอนลภนลยลํา้ า้ํา์มาํา้หแู่าหงงหโีงถแนแอนแนบลักลกกัลักะลไะาไะมไขมา่สขมขดนงดทนดนแีาีจี่าทีาลทนทนะนาะากมากรกขรบัรกีนับกนับกเใำ้�เใสาเนใสนหสนนน นคคนนกคปรปรปกับัรรรรแรระภเะภสระภมมกแน้มแแโี โีสเปอสีโกอสอดดกริดกดกงะงานางวาวสวสแาอ้สาทาทมสยมทมจ่ีดีจ่ีกี่จี ีะงะวะมวม่ามา่ี ี ี2ม,ภี 5า0ว0ะกโภรชมั น าการอยใู่ น แแนแแนนวนวโววโนโนโน้มนมมกม กกากาารารรเรเพเพเพพม่ิ ่ิมม่ิ ิ่มนนนน�ำ้ ้าํ ํ้าหาํ้หหหนนนนกัักักกัไไไมมไมมด่ดดดีี ี ี ---เเสเสสน นน แแแนนนวววโโนโนนมม มกกกาาารรรเเพเพพิม่ มิ่ ิ่มนนน้ําํ้า้ําหหหนนนกั กั กั อออยยยูแ แู แู ถถถบบบสสสดี ดี ีดา าานนนลลลาาางงงแแแลลละะะเเบเบบนนนลลลงงงจจจาาากกกเเสเสสน น นปปปรรระะะแแแสสสดดดงงงวววา าามมมี ี ี ภภภาาาวววะะะโโภโภภชชชนนนาาากกกาาารรรอออยยยูใ ใู นใู นนเเกเกกณณณฑฑฑไ ไ มไ มมดดดี ี แีแแนนนวววโโนโนนมม ม กกกาาารรรเเพเพพม่ิ ิ่มิ่มนนนา้ํ ํ้า้าํหหหนนนกั กั ักแแแยยยลลลงงง ไไมไมมเ เพเพพียียียงงงพพพอออตตตอออกกกาาารรรเเจเจจรรรญิ ิญิญเเตเตติบบิ ิบโโตโตตขขขออองงงทททาาารรรกกกใในในนคคครรรรรภภภ  มมมโี ีโอีโออกกกาาาสสสทททีน่ ี่น่ีน้าํ ้าํ ้ําหหหนนนกั กั กั เเดเดด็ก็ก็กแแแรรรกกกเเกเกกดิ ดิ ดิ นนนอออ ยยยกกกวววาาา222,,5,55000000กกกรรรมั ัมมั ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย 21 กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรับบุคลากรสาธารณสขุ - เสน้ แนวโนม้ การเพมิ่ นำ้� หนกั อยแู่ ถบสดี า้ นลา่ ง และเบนลงจากเสน้ ประ แสดงวา่ มี ภาวะโภชนาการ อยู่ในเกณฑ์ไม่ดี แนวโน้มการเพ่ิมน้�ำหนักแย่ลง ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ มีโอกาสท่ีน�้ำหนักเด็ก แรกเกดิ น้อยกวา่ 2,500 กรัม 23       23   แนแวนโนว้มโนกมากรเาพรเิ่มพน่ิม�ำ้ นหาํ้ นหกั นไักมไ่ดมี ดี แนวโนอมยกอ่าายงรมาเพงามกิ่มานกาํ้ หนกั ไมดี - เสนแนวโนม การเพม่ิ น้าํ หนกั อยใู นแถบสีดา นลา ง อยางมาก แ มสาแแแแกดตตตตกงเมเมววบบแีา่แีา่ นนมนน2ขขีภวว,้ึนึ้น5โาโนนเว0เขขมะ0มา าโกกหหภกาาารชารรเมัเนเเส-ส พพานนเิ่ม่ิมกสปปนนาน รรรํา้ํา้แะ-ะอหห นไไยเนปนปวสู่ใักทโักทน้นนดดาาเแมกงีขงีขนดกดณึ้นน้ึ าาวาฑนรทนโทนเไ์บาบาพม้รมรนน่มิ่ดกกกน ีใแใแา นนแํ้าสสรหคตคดเดพร่มนรงงรรว่ิแีมักวภภาานอนมมมมวย้�ำภีโีภีีโใูหออนนาานกกวม้วแาักาะะกถสสโอโาบภภททรยสชชี่จเีจู่่ใีดพนนะะาิ่มามาแนกนกีีนถลา้�ำาาํํา้บารหรหงสออนนีดยยักักูใ้าูใดนแนแนขีรเรเลกกกึ้นก่าณณเเกงทกฑฑดิิดาแไไรมมมมตกาาดดใ่กเกบนีีกกคนววราขาร้ึน22ภเ,,์มข55ีโ0้า0อ0ห0กากกาเสรสรัมัมท้นี่จปะรมะนี ไปำ�้ หทนากังดแร้ากนเบกนดิ แนวโนมการเพิ่มนาํ้ หนักดี แนวแโนนม้วโกนาม รกเพาริม่ เนพ้ำ�่มิ หนนํา้ หกั ดนีกั ดี 5.2 การแจงและอธบิ ายผลการประเมนิ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ทด่ี ตคพคพีอาววรรยรรอรอู่แาแแมมงลจจทททว้งง ัง้งั้ี่ททอ6แอัง้ั้งลธธพพริบะบิ า5 ฤฤทาาย.5ตตย2ยี่ตล.กิิก2ผ ผ้อะรรกลกกลงเกรรอกาาปากมามรยีรราารรกกแแแดรรับแาจาจปปจแปจรรง้งร้งลรงบรบแแะแะะแุงลรลรเลเกแลมิโมโิะะะภากะภนิอนิอรออ้ไคคธธขอธโธอโอบิบิดธดิบิบาพาาาิบยยาหาหยยรยมามยยาผา้อผผยีรีรผผรรลมลลผาาทลทลกทกยกลยกด่ีกดี่าาลั้งาลกาีอราีอรระะารปรยปยปธเรเปปอแูรอูแิบรปรระยีลรียะละาระเะดวเดวยเะมเมมเดมดผเมนิแแินมนิงังัลินินลพลพตินพตกพะะพฤาพฤาฤาทฤทตรรฤตรตฤตาตี่ากต่ีิปตกิติกงงกิอรอกิรรรกิททรรงงะรรรร่ีรม่ีปปมเม6ร6รมมกรรมกมกกับินาบั ากากราปรปราาโบรบบรดรรรบรงุรงุบบรยโิรแแิโโิภมรริโภภกกภโิโิรีคคภไคภไาคอขขอคอยคอาาาอลอหาหหาะาหาาหาเหราอรราราคยีรรวดรราดแยงั จขตง้อาทรงั้าพงทฤี่ต6กิ รรมการบรโิ ภคอาหาร ตขาอ รทา่ีงที่ 6 รายละราเอยยีละดเแอลียะดการปอรธะิบเมายินผลการประเมนิ พฤตกิ รรมการกบาริโอภธคบิ อายาผหลากรารราปยรขะอเมนิ 1. กินอาหารเชา ท่มี กี ลมุ อาหารอยางนอย 3 - อาหารเชาเปนมือ้ ท่สี ําคัญที่สดุ ขอท่ี กลุม คอื รกาลยุมลขะาเวอ-ยี แดปกง ากรปลรุมะผเักมนิ เพราะรางกายไมไดร กับาพรลองั ธงบิ านายโปผลรตกีนารวปิตราะมเมินนิ และแรธ าตุ 1. แกลนิ ะอกาลหมุ าเรนเช้อื าสทตั ่มี วกี หลรมุ อื อกาลหมุ าขรอาวย-า แงปนงอ ย 3 ต- ลออาดหทารั้งเคชืนาเปรน ะมม้อื าทณสี่ าํ8ค-1ญั 2ทช่สี ว่ัดุ โมง กลุม ผคกั ือแกลละมุกขลามุ วน-แมปหง รกือลกมุลผมุ ักขาว-แปง หเพารกาอะดรอาางหกายรเไชมาไจดะรทบั ําพใลหงั มงกีานารโปดงึรโตปีนรตวนีติ าวมติ ินามแนิละแรธาตุ กแลลุมะกเนล้อื มุ สเนัตว้อื สแัตลวะ กหลรมุือผกลลไุมมข า ว-แปง แตลละอแดรทธ ัง้ าคตนื ุจาปกรอะวมยั าวณะต8า -ง1ๆ2ใชน่ัวรโามงงกายของแม เชน กลา มเน้อื ตับ หกรลอืุมกผลักมุ แขลา ะวก-แลปมุ ง นกมลหุม รนอื มกแลลุมะขกาลวุม-แผปลงไม กหราะกดอูกดมอาาใหหาท ราเชรกา จในะคทรํารใหภม แกี มาจระดมงึ โีภปารวตะีนโภวชิตนาามกนิ ารไมดี ทกุกลมุวนัเน้ือสัตว และกลมุ ผลไม สแขุลภะแาพรธไมาตแุจขา็งกแอรงวยั โวอะกตาาสงตๆดิ เใชนือ้ รไาดงงกา ายยของแม เชน กลา มเนื้อ ตับ หรอื กลมุ ขาว-แปง กลมุ นมและกลมุ ผลไม แกลระดจะกู สมงาผใหลทตอารกกาใรนเจครริญรภเต แิบมโตจขะอมงภี ทาาวระกโภดวชยนาการไมด ี 2. กทนิกุ อวานั หารหลกั วนั ละ 3-4 ม้อื (เชา -สหขุ ภญางิ พตไั้งมคแรขรภ็งแจ ระงตโอองกไดาสก ตินิดอเาชห้อื าไรดหง ลายัก 3-4 กลางวนั บา ย เย็นหรือค่ํา) ทกุ วนั มแ้ือลตะจอ ะวสนั งจผะลทตาํ อใหกไาดรรเจับรพญิ ลเังตงบิ าโนตขโปอรงตทนีารวกิตดาว มยินและแรธ าตุ 22 สำ�นกั โภ2ช.นาการกกินรมออานหาามรัยหลักวันละ 3-4 มือ้ (เชา เ-พหยี ญงพิงตองั้ตคอ รกราภรจเจะรติญอ เงตไดิบกโตนิ ขออางหทาารรหกลใกันค3ร-4รภ กระทรวงสาธารณกสลขุ างวัน บาย เย็นหรอื คา่ํ ) ทุกวนั หมาอื้ กตกอนิวอันาจหะาทราํ นใหอ ไยดกร วับาพ3ลังงาน โปรตีน วิตามนิ และแรธ าตุ

แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ คมู่ อื ในคลินกิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสุข ตารางที่ 6 รายละเอยี ดและการอธิบายผลการประเมินพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารรายขอ้ ขอ้ ท่ี รายละเอยี ดการประเมนิ การอธบิ ายผลการประเมิน 1. กินอาหารเช้าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้อย 3 - อาหารเช้าเป็นม้ือท่ีส�ำคัญที่สุด เพราะร่างกายไม่ได้รับพลังงาน กลุม่ คือ กลมุ่ ขา้ ว-แป้ง กลุ่มผัก และกลุ่ม โปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุ ตลอดท้ังคืน ประมาณ 8-12 ชั่วโมง เน้ือสัตว์ หรอื กลมุ่ ข้าว-แป้ง กลุม่ ผัก และ หากอดอาหารเชา้ จะท�ำใหม้ กี ารดึงโปรตนี วติ ามนิ และแร่ธาตุจาก กลุ่มนม หรือกลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มเน้ือสัตว์ อวัยวะต่างๆ ในร่างกายของแม่ เช่น กล้ามเน้ือ ตับ กระดูกมาให้ และกลมุ่ ผลไม้ หรือกลุม่ ข้าว-แปง้ กล่มุ นม ทารกในครรภ์ แม่จะมีภาวะโภชนาการไม่ดี สุขภาพไม่แข็งแรง และกลุม่ ผลไม้ ทุกวนั โอกาสตดิ เชอื้ ไดง้ า่ ย และจะสง่ ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของทารกดว้ ย 2. กนิ อาหารหลกั วนั ละ 3-4 มอ้ื (เชา้ กลางวนั - หญิงต้ังครรภ์จะต้องได้กินอาหารหลัก 3-4 ม้ือต่อวันจะท�ำให้ได้ บ่าย เยน็ หรือค่ำ� ) ทุกวัน รับพลงั งาน โปรตนี วติ ามินและแรธ่ าตุ เพยี งพอต่อการเจรญิ เตบิ โต ของทารกในครรภ์ หากกนิ อาหารน้อยกว่า 3 ม้ือจะได้รับพลังงาน และสารอาหารไม่เพียงพอ แตถ่ ้าหากกนิ มากกว่า 4 ม้ือ จะทำ� ให้ได้ รับพลังงานมากเกินไป 3. กินอาหารว่างวันละ 2-3 ครั้ง (ช่วงสาย - อาหารมื้อหลักอย่างเดียวส�ำหรับหญิงต้ังครรภ์ อาจท�ำให้ได้รับ ชว่ งบ่ายและ/หรือค�ำ่ ) ทกุ วัน พลังงาน โปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุไม่ครบถ้วน เน่ืองจากหญิง ตงั้ ครรภม์ คี วามตอ้ งการสารอาหารเหลา่ นเ้ี พมิ่ ขนึ้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งกนิ อาหารวา่ งเพอื่ ใหไ้ ดร้ บั พลงั งานและสารอาหารเพยี งพอตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ แตไ่ มค่ วรกนิ อาหารวา่ งเกนิ 3 ครงั้ เพราะ จะทำ� ใหไ้ ด้รบั พลงั งานมากเกนิ ไป 4. ปริมาณอาหารทบ่ี รโิ ภคในแตล่ ะกลุ่ม - ทำ� ใหไ้ ดร้ บั พลงั งานเพยี งพอตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ 4.1 กนิ อาหารกลมุ่ ขา้ ว-แปง้ วนั ละ 10 ทพั พี หากกนิ นอ้ ยไปหญงิ ตงั้ ครรภจ์ ะขาดอาหาร เฉอ่ื ยชา กนิ มากไปกจ็ ะ 4.2 กนิ อาหารกลมุ่ ผกั วนั ละ 6 ทพั พี ทกุ วนั อ้วนมผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตของทารก 4.3 กนิ อาหารกลมุ่ ผลไมว้ นั ละ 6 สว่ น ทกุ วนั - ท�ำให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามิน แร่ธาตุ เพียงพอต่อการเจริญ 4.4 กนิ อาหารกลมุ่ เนอื้ สตั ว์ วนั ละ 12 ชอ้ น เตบิ โตของทารกในครรภ์ และใยอาหารชว่ ยลดการสรา้ งและดูดซึม กินข้าวทกุ วนั คอเลสเตอรอล รวมท้งั ไขมนั และน�้ำตาล 4.5 ดืม่ นม - ท�ำให้หญิงต้ังครรภ์ได้รับวิตามิน แร่ธาตุ เพียงพอต่อการเจริญ 1. นมรสจืดวันละ 3 แก้วหรือกล่อง เติบโตของทารกในครรภ์ ชว่ ยในการขบั ถา่ ย ทกุ วนั สำ� หรับหญิงตง้ั ครรภไ์ ม่อว้ น - ท�ำใหไ้ ดโ้ ปรตนี วติ ามินเอ ธาตเุ หล็ก แคลเซยี ม ช่วยในการเจรญิ 2. นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย เติบโตทารกในครรภ์และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายหญิง วนั ละ 3 แกว้ หรือกลอ่ งทุกวันสำ� หรบั หญงิ ตั้งครรภ์ หากได้รับไมเ่ พียงพอ เป็นผลใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตของทารก ตงั้ ครรภอ์ ว้ น ในครรภเ์ กดิ การชะงกั งนั ลกู ทเ่ี กดิ มาจะมนี ำ้� หนกั นอ้ ยกวา่ 2,500 กรมั ส�ำ นกั โภชนาการ กรมอนามัย 23 กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ อื แนวทางการด�ำ เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ ขอ้ ท่ี รายละเอยี ดการประเมนิ การอธบิ ายผลการประเมนิ - ท ำ� ใหไ้ ดร้ บั แคลเซยี มเพยี งพอ ชว่ ยสรา้ งกระดกู และฟนั ใหแ้ ขง็ แรง ช่วยการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หากดื่มนมน้อย การเจริญ เติบโตของทารกในครรภ์เกิดการชะงักงัน ลูกที่เกิดมาจะมีน้�ำหนัก น้อยกวา่ 2,500 กรัม หากกนิ มากเกนิ ไปจะท�ำใหไ้ ด้รบั ไขมันอม่ิ ตัว มาก เกิดการสะสมในเนื้อเยื่อและหลอดเลือดของหญิงต้ังครรภ์ จะท�ำใหอ้ ว้ นหรอื หลอดเลอื ดตีบในอนาคตได้ 5. กนิ ปลาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3 วนั - ปลาเปน็ อาหารทใี่ หโ้ ปรตนี คณุ ภาพ ยอ่ ยงา่ ย ไขมนั ตำ�่ และเปน็ ไข มันจำ� เปน็ มี DHA สูง ช่วยในการสร้างระบบประสาทท่เี ก่ยี วกับการ เรยี นรแู้ ละการมองเหน็ ของทารกในครรภ ์ 6. กนิ ไข่ สปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละ 1 ฟอง - ไขเ่ ปน็ อาหารทใ่ี ห้โปรตีนคุณภาพ และยังให้วิตามนิ และ แร่ธาตทุ ่ี ส�ำคญั หลายชนดิ เชน่ วิตามนิ เอ วติ ามินบี และเลซิตนิ (ชว่ ยสร้าง สารสอ่ื ประสาทของบระบบประสาท) 7. กินอาหารท่ีเป็นแหล่งของธาตุเหล็ก เช่น - ทำ� ใหห้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ บั ธาตเุ หลก็ เพอ่ื ใชใ้ นการสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง ตับ เลอื ด สปั ดาห์ละ 2-3 วัน ภมู ิตา้ นทานโรค มีสมรรถภาพในการทำ� กจิ กรรมต่างๆ 8. กนิ ยาเมด็ เสรมิ ไอโอดนี ธาตเุ หลก็ และกรด - หญิงต้ังครรภ์มีความต้องการไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลต โฟลกิ (เลอื กใหต้ รงกบั ยาทีไ่ ด้รับ) เพิ่มขึ้น จึงจ�ำเป็นต้องเสริมในรูปของยาเม็ด (ไอโอดีน 150-200 ไมโครกรัม ธาตเุ หล็ก 60 มลิ ลิกรมั และโฟเลต 400 ไมโครกรมั ) 9. กินอาหารประเภทผัด ทอดและกะทิ - ท�ำให้ได้รับพลังงานที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของทารกใน ครรภ์ มีแรงในการท�ำกิจกรรมต่างๆ หากได้รับมากเกินไปจะมีผล ทำ� ให้มภี าวะอ้วน มคี วามเส่ียงที่จะเกดิ ภาวะครรภเ์ ปน็ พิษ ลูกเกิด มาตัวใหญ่ คลอดยาก หากได้รับน้อยเกินไปมีผลท�ำให้ขาดอาหาร ลกู เกดิ มาน้ำ� หนกั น้อยกวา่ 2,500 กรัม 10. ไมก่ นิ เนอ้ื สตั วต์ ดิ มนั เชน่ หมสู ามชนั้ ขาหมู - เนอื้ สตั วต์ ดิ มนั มพี ลงั งานสงู และเปน็ ไขมนั อม่ิ ตวั ทำ� ใหม้ กี ารสะสม คอหมู หนังไก่ หนงั เปด็ ไสก้ รอก เป็นตน้ ของไขมนั ในรา่ งกายและหลอดเลอื ด เป็นผลใหอ้ ว้ น มคี วามเสยี่ งท่ี จะเกดิ ครรภเ์ ปน็ พษิ ลกู เกดิ มาตวั ใหญ่ คลอดยาก เสย่ี งทจ่ี ะเปน็ เดก็ อ้วนในอนาคต 11. ไมก่ นิ ขนมทมี่ รี สหวาน เชน่ ไอศกรมี หวาน - ขนม-เครอ่ื งดมื่ ทม่ี แี ปง้ ไขมนั นำ้� ตาล และ/หรอื เกลอื สงู ไมม่ คี ณุ คา่ เย็น ช็อคโกแลต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ ทางโภชนาการ มีแต่พลังงานสูง และโซเดียมสูง เป็นผลให้หญิง เปน็ ต้น ตั้งครรภไ์ ด้รบั โปรตีน วติ ามนิ และแรธ่ าตุ ไมเ่ พียงพอต่อการเจริญ 24 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ คมู่ อื ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ ขอ้ ที่ รายละเอยี ดการประเมนิ การอธิบายผลการประเมนิ 12. ไม่ด่มื เคร่ืองดื่มทมี่ รี สหวาน เช่น น�้ำอดั ลม เตบิ โตของทารกในครรภ ์ ลกู เกดิ มามโี อกาสนำ้� หนกั นอ้ ยกวา่ 2,500 น้�ำหวาน โกโกเ้ ย็น ชาเยน็ น้ำ� ปั่น น้�ำผลไม้ กรัม ในทางตรงกันข้ามอาจท�ำให้หญิงต้ังครรภ์อ้วน มีความเสี่ยง นมเปรี้ยว เปน็ ต้น ทจ่ี ะเกิดครรภเ์ ปน็ พษิ ลกู เกิดมาตัวใหญ ่ คลอดยาก และเสี่ยง ที่จะเป็นเดก็ อ้วนในอนาคต 13. ไม่กินขนมเบเกอร่ี เช่น เค้ก พาย โดนัท เปน็ ตน้ 14. ไม่กินขนมขบเค้ียว เช่น ปลาเส้นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เปน็ ต้น 15. ไมเ่ ตมิ เครือ่ งปรงุ รสเคม็ เช่น น�้ำปลา ซอี ๊วิ - ลดความเส่ยี งตอ่ การเกิดโรคไต และโรคความดนั โลหิตสงู จึงตอ้ ง แม็กก้ี ในอาหารทีป่ รงุ สุกแลว้ ทกุ ครัง้ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกินของหญิงต้ังครรภ์ ไม่เติมเคร่ืองปรุง รสเคม็ ในอาหารที่ปรุงสกุ แล้ว 16. ไม่เติมน้�ำตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้วทุก - พลังงานทไ่ี ด้จากนำ้� ตาลถือเป็นพลังงานสญู เปลา่ ไม่มคี ณุ คา่ ทาง ครง้ั โภชนาการ และยงั ทำ� ใหห้ ญงิ ตง้ั ครรภอ์ ว้ น จงึ ตอ้ งปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม การกินของหญงิ ตั้งครรภ์ไม่เติมน�ำ้ ตาลในอาหารทป่ี รงุ สกุ แลว้ 17. ไม่กินอาหารหมักดอง เช่น ผักดอง ผลไม้ - หญิงต้ังครรภ์ไม่ควรกินอาหารหมักดอง เพราะร่างกายจะได้รับ ดอง หอยดอง เปน็ ต้น ปรมิ าณโซเดยี มจากเกลอื สงู กวา่ ปกติ เพม่ิ ความเสยี่ งตอ่ การมคี วาม ดันโลหิตสูง ท�ำให้หัวใจและไตท�ำงานหนักมากข้ึน นอกจากนั้น อาหารหมกั ดองจะสญู เสียวติ ามินไปกบั กระบวนการผลติ ท�ำให้ไม่ ได้รบั คณุ ค่าทางโภชนาการเทา่ กบั อาหารทีป่ รุงสุกใหมๆ่ และถา้ ไม่ สะอาด จะท�ำใหเ้ กดิ อาการทอ้ งรว่ งได้ 18. ไมด่ ืม่ เครอื่ งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล์ - การด่มื เครอ่ื งดื่มที่มแี อลกอฮอล์เพยี งเลก็ น้อย กอ็ าจมีผลกระทบ ต่อการพัฒนาสมองของลูกในครรภ์ ท�ำให้เด็กที่เกิดมาปัญญาอ่อน หากดื่มมากหรือดื่มเป็นประจ�ำจะเสี่ยงต่อการท่ีทารกเกิดความ ผดิ ปกตแิ ตก่ �ำเนดิ (Foetal Alcohol Syndrome : FAS) ซ่ึงอาจ ทำ� ใหท้ ารกมพี ฒั นาการลา่ ชา้ ทง้ั ทางรา่ งกายและสมอง มปี ญั หาดา้ น พฤตกิ รรม เกดิ ความผดิ ปกตทิ ใี่ บหนา้ และความบกพรอ่ งของระบบหวั ใจ 19. ไมด่ ม่ื เครอ่ื งดม่ื ท่ีมคี าเฟอีน เชน่ กาแฟ ชา - หญิงตั้งครรภ์ท่ีด่ืมชา-กาแฟ จะท�ำให้คาเฟอีนส่งผ่านไปยัง เปน็ ตน้ ทารกในครรภ์ มีผลต่อการสร้างกระดูกของลูก เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนก�ำหนด หรือลกู น้�ำหนกั นอ้ ยกวา่ ปกติ พกิ ารได้ สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั 25 กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู อื แนวทางการด�ำ เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินกิ ฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสขุ 6. การใหค้ วามรดู้ า้ นโภชนาการเปน็ กลุ่ม การให้ความรู้ด้านโภชนาการเป็นรายกลุ่มจะให้เมื่อมาฝากครรภ์ในครั้งท่ี 1 ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ ผนวกเนื้อหาเข้ากับโรงเรียนพ่อแม่ในเร่ืองอาหารหญิงต้ังครรภ์โดยสอนในรูปของธงโภชนาการ และควรมีหุ่นจ�ำลองอาหาร (Food Model) หรอื อาหารจริง ประกอบการให้ความรู้ เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในการเลอื กซื้อ เลอื กกิน อาหารทถี่ ูกต้องเหมาะสม 7. การให้คำ� แนะน�ำ/คำ� ปรึกษาทางโภชนาการเปน็ รายบคุ คล การให้ค�ำปรึกษาด้านโภชนาการส�ำหรับหญิงต้ังครรภ์เป็นรายบุคคล มีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยให้ หญงิ ต้งั ครรภเ์ ข้าใจปญั หา และปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการบริโภคอาหารใหเ้ หมาะสม ชว่ ยให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการ และสขุ ภาพท่ดี ขี ึ้น เพอ่ื สง่ เสริมสุขภาพ ปอ้ งกนั โรค และลดภาวะแทรกซ้อนที่เกีย่ วข้องกับโภชนาการ หลังจากที่ได้มีการประเมินภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์ แลว้ ก็จะทำ� ใหท้ ราบวา่ หญงิ ตงั้ ครรภ์รายน้นั มีภาวะโภชนาการเปน็ เช่นใด พฤติกรรมใดเหมาะสม พฤติกรรมใดไมเ่ หมาะสม ปรมิ าณอาหารทีไ่ ด้รบั เพยี งพอหรือไม่ ปริมาณอาหารกลมุ่ ใดไม่เหมาะสม ซง่ึ อาจนอ้ ยหรือมากเกินไป บุคลากรสาธารณสขุ จะต้องให้ค�ำแนะน�ำ/ปรึกษาทางโภชนาการเป็นรายบุคคลเพื่อปรับปรุงแก้ไขปัญหาทางโภชนาการของคนๆนั้น โดยรายละเอยี ดของการให้คำ� แนะน�ำ/ปรึกษาจะมีอย่ใู นหนา้ ที่ 27-29 8. การนดั หมายการตรวจครรภ์ นดั หมายการตรวจครรภต์ ามปกติ ยกเวน้ หญงิ ทีม่ นี �ำ้ หนกั น้อย, น้�ำหนักมากหรอื นำ�้ หนกั เหมาะสมแต่มี แนวโน้มการเพ่ิมนำ้� หนักไม่ด ี ควรนดั เดือนละครง้ั เพอื่ ติดตามแนวโนม้ การเพิ่มน�ำ้ หนัก 9. การจา่ ยยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตเุ หลก็ และกรดโฟลิก 1. จา่ ยยาเมด็ เสรมิ ไอโอดีน ธาตุเหลก็ และกรดโฟลิก ใหห้ ญิงตงั้ ครรภ์ทุกรายตลอดการต้งั ครรภ์ และ หญงิ ใหน้ มบตุ รในระยะ 6 เดอื นหลงั คลอด โดยยาเมด็ เสรมิ ไอโอดนี มปี รมิ าณไอโอดนี 150-200 ไมโครกรมั ยาเมด็ ธาตเุ หลก็ มปี รมิ าณธาตเุ หลก็ 60 มิลลกิ รมั และยาเมด็ กรดโฟลกิ มีปริมาณ โฟเลต 400 ไมโครกรมั อาจจะเปน็ ยาเมด็ รวม หรอื เปน็ ยา เมด็ เดย่ี วแยกแตล่ ะชนดิ ใหก้ นิ ทกุ วนั ๆ ละ 1 ครงั้ พรอ้ มแนะนำ� ใหร้ บั ประทานยา หลงั รบั ประทานอาหารเชา้ หากรบั ประทาน แลว้ มอี าการคลน่ื ไส้ อาเจยี น ปวดศรี ษะ จนไมส่ ามารถทำ� กจิ วตั รประจำ� วนั หรอื ทำ� งานได้ ใหร้ บั ประทานหลงั อาหารเยน็ หรอื ก่อนนอน ในรายที่แพ้ท้อง ให้เปล่ียนจากยาเม็ดรวมเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิกมาเป็น ยาเม็ดเดี่ยวไอโอดีน และกรดโฟลกิ (งดยาเมด็ ธาตุเหล็ก) วันละ 1 ครง้ั ๆ ละ 1 เมด็ จนกว่าจะหายจากอาหารแพท้ ้อง จึงใหย้ าเม็ดรวมตามปกติ 2. ประชาสัมพันธ์ถึงความส�ำคัญของการรับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก เพ่ือส่งเสรมิ ใหห้ ญิงตง้ั ครรภแ์ ละหญิงให้นมบุตรหลังคลอด 6 เดือน รบั ประทานยาตามทแ่ี นะนำ� 10. การจัดอาหารเสริมทมี่ ีพลังงานและโปรตีนสูงใหแ้ ก่หญงิ ต้ังครรภน์ ้�ำหนักนอ้ ย จดั หาอาหารเสรมิ ที่มีพลงั งานและโปรตนี สงู เชน่ นม ไข่ ถวั่ ลิสง เปน็ ต้น ใหก้ บั หญิงตั้งครรภ์ที่มนี �้ำหนกั นอ้ ยกนิ ทกุ วนั จนกวา่ จะกลบั เขา้ สภู่ าวะโภชนาการปกติ โดยอาจจะขอสนบั สนนุ งบประมาณจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ กองทุนสขุ ภาพต�ำบล หรือจากหน่วยงานอืน่ ๆ ในการแก้ปญั หาโภชนาการหญงิ ต้ังครรภ ์ 26 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ คู่มือ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข 11. การติดตามหญงิ ตัง้ ครรภ์ทมี่ ีปญั หาด้านโภชนาการ หญิงตง้ั ครรภท์ ่นี �ำ้ หนกั นอ้ ย หญงิ ตง้ั ครรภ์อว้ น และหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีน้�ำหนักไม่เพมิ่ ตามเกณฑ์ ควรมีการ ประเมนิ การบรโิ ภคอาหารในชว่ งสปั ดาหท์ ี่ 2 หลงั จากทมี่ าคลนิ กิ ฝากครรภ์ (ตาม Flow chart) โดยสง่ ตอ่ ใหก้ บั หนว่ ยบรกิ าร ปฐมภูมิ กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลในพื้นที่ด�ำเนินการเย่ียมบ้าน เพ่ือติดตามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ส�ำหรับเดือนถัดๆไปให้ติดตามพฤติกรรมการบริโภคอาหารสัปดาห์ท่ี 2 ในกลุ่ม หญิงต้ังครรภ์ท่ีน้�ำหนักน้อย อ้วน และน้�ำหนักไม่เพิ่มตามเกณฑ์ เฉพาะรายท่ีไม่สามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภค อาหารได้ตามคำ� แนะนำ� แนวทางการให้ค�ำแนะน�ำทางโภชนาการสำ� หรบั หญิงต้ังครรภ์ หญิงต้ังครรภ์ท่ีมีภาวะโภชนาการก่อนการต้ังครรภ์ที่แตกต่างกัน ขณะตั้งครรภ์จึงควรบริโภคอาหารตาม ภาวะโภชนาการ ดังน้ันเพ่ือให้บุคลากรสาธารณสุขสามารถน�ำแนวทางการให้ค�ำแนะน�ำทางโภชนาการไปให้ค�ำแนะน�ำ กบั หญิงต้ังครรภท์ ่ีมารบั บริการทีค่ ลินกิ ฝากครรภ์ จงึ แบ่งแนวทางการใหค้ ำ� แนะนำ� ไว้ 3 แนวทางดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แนวทางการให้คำ� แนะน�ำทางโภชนาการสำ� หรบั หญิงตงั้ ครรภ์ทุกคน หญงิ ตง้ั ครรภท์ ุกคน ควรบรโิ ภคอาหารใหค้ รบ 5 กล่มุ ได้แก่ กล่มุ ขา้ ว-แป้ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุม่ เนอื้ สัตว์ และกลมุ่ นม ในปรมิ าณท่เี หมาะสมแตล่ ะวนั ขณะต้ังครรภ์ และกินใหห้ ลากหลาย เพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ลงั งานและสารอาหารสำ� คญั เพียงพอตามทร่ี า่ งกายต้องการ ได้แก่ โปรตนี ไอโอดีน เหล็ก แคลเซยี ม สังกะสี โฟเลต วิตามนิ เอ วิตามนิ บี 1 วติ ามนิ บี 2 วติ ามนิ บี 6 วติ ามนิ บี 12 และวติ ามนิ ซี ซง่ึ จะสง่ ผลใหท้ ารกในครรภเ์ จรญิ เตบิ โตดี ทงั้ นี้ ควรนำ� ขอ้ มลู จากการประเมนิ พฤตกิ รรม การบริโภคอาหารมาวิเคราะห์ด้วยว่า พฤติกรรมใดเหมาะสม ปริมาณอาหารกลุ่มใดที่เพียงพอ พฤติกรรมใดไม่เหมาะสม ปรมิ าณอาหารกล่มุ ใดไม่เหมาะสมซ่งึ อาจนอ้ ยไปหรอื มากเกินไป ซงึ่ ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไขพฤติกรรมนน้ั โดยมแี นวทางดงั น้ี 1. กนิ อาหารมอื้ หลกั 3 มอื้ ไดแ้ ก่ อาหารมอื้ เชา้ มอื้ กลางวนั และมอื้ เยน็ และมอี าหารวา่ งซง่ึ เปน็ อาหาร ระหว่างมื้อ ไดแ้ ก่ อาหารวา่ งเชา้ และบา่ ย เนื่องจากหญงิ ต้ังครรภ์มคี วามต้องการพลังงานและสารอาหารมากขนึ้ การบริโภค อาหาร 3 มื้อหลัก จะไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย โดยเลือกอาหารว่างท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น นมจืด ผลไม้ ขนมไทยรสไม่หวานจัด เช่น เต้าสว่ น กล้วยบวดชี ฟกั ทองแกงบวด ข้าวต้มมัด ขา้ วเหนยี วถ่วั ดำ� เป็นตน้ 2. กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ให้หลากหลาย รวมทั้งไข่ ถั่วเมล็ดแห้งและผลิตภัณฑ์ เช่น เต้าหู้ เป็นต้น เพ่ือให้ได้โปรตีน กรดไขมันจ�ำเป็น แร่ธาตุ และวิตามิน ซึ่งจ�ำเป็นต่อการสร้างเน้ือเย่ือต่างๆ รวมทั้งการเจริญเติบโตของ เซลล์สมองของทารกในครรภ ์ - กนิ ปลา โดยเฉพาะปลาทะเลอย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 คร้งั จะช่วยให้ไดร้ บั DHA (Docosahexaenoic acid) เป็นกรดไขมนั จ�ำเปน็ ในกลุม่ โอเมกา้ 3 ซ่ึงมบี ทบาทส�ำคัญตอ่ โครงสรา้ งและการท�ำงานของสมอง และระบบประสาท เก่ยี วกบั การพัฒนาเรียนรู้และจอประสาทตาซ่ึงเกย่ี วกบั การมองเห็นของทารกในครรภ์ - กินอาหารทเี่ ปน็ แหลง่ แรธ่ าตเุ หล็กสปั ดาหล์ ะ 2-3 ครัง้ เช่น ตบั เลือด เนอื้ สตั วโ์ ดยเฉพาะเน้อื แดง และควรกนิ อาหารที่มีวิตามนิ ซีสงู รว่ มด้วย เชน่ ฝร่ัง มะขามป้อม มะปรางสุก มะละกอสุก ส้ม เป็นตน้ เพื่อช่วยในการดดู ซมึ ธาตเุ หล็ก - กินไข่ สัปดาห์ละ 3-7 วัน เพ่ือให้ได้โปรตีนคุณภาพดี และยังให้วิตามินและ แร่ธาตุที่ส�ำคัญ หลายชนิด เช่น วิตามินเอ วิตามินบี และเลซติ ิน เป็นตน้ อยา่ งไรก็ตาม ไข่แดงมีคอเลสเตอรอลสงู (1 ฟอง มีคอเลสเตอรอล 200 มิลลกิ รัม) ปรมิ าณทีแ่ นะนำ� ควรไดร้ ับคอเลสเตอรอล ไม่เกนิ วนั ละ 300 มลิ ลกิ รมั ดงั นั้น จงึ ควรบรโิ ภคไขไ่ ม่เกนิ วนั ละ 1 ครั้ง สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั 27 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ แนวทางการด�ำ เนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ ส�ำ หรบั บุคลากรสาธารณสุข 3. กนิ อาหารกลมุ่ ผกั และผลไมเ้ ปน็ ประจำ� ทกุ วนั และกนิ ใหห้ ลากหลายสี เชน่ สเี หลอื ง-สม้ สแี ดง สเี ขยี ว เข้ม สีม่วง สีขาว เปน็ ต้น เพือ่ ให้ได้วิตามินและแร่ธาตุครบถว้ นเพยี งพอ 4. กินอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียมเป็นประจ�ำทุกวัน โดยเฉพาะนม เป็นแหล่งแคลเซียมที่ดีที่สุด เนอ่ื งจากมปี รมิ าณแคลเซยี มสงู และดดู ซมึ ไดด้ ี หากดม่ื นมแลว้ มอี าการทอ้ งอดื แนน่ ทอ้ ง มแี กส๊ ในกระเพาะ หรอื บางคนรนุ แรง ถึงขั้นทอ้ งเสีย น้ัน สามารถแกไ้ ขได้โดย - ดื่มนมทีละน้อย แลว้ ค่อย ๆ เพ่ิมปรมิ าณนมใหไ้ ดต้ ามท่ีแนะน�ำ - ไมด่ ่มื นมในขณะท้องว่าง ควรหาอาหารวา่ งบรโิ ภคก่อนแลว้ คอ่ ยด่มื นม - หากทำ� ตามคำ� แนะนำ� ขา้ งตน้ แลว้ ยงั คงมอี าการ ใหเ้ ปลยี่ นเปน็ ผลติ ภณั ฑน์ มทผี่ า่ นกระบวนการหมกั แล้ว เช่น โยเกิร์ต ซ่ึงควรเป็นโยเกิร์ตชนิดธรรมดา (Plain yoghurt) ซึ่งจะมีปริมาณน้�ำตาลน้อยกว่าโยเกิร์ตท่ีปรุงแต่งรส ดว้ ยผลไม้ นอกจากนมและโยเกิร์ต ยังมีแหล่งแคลเซียมจากอาหารอ่ืน ๆ เช่น เนยแข็ง ปลาเล็กปลาน้อย ปกู ะตอยทอด กงุ้ ฝอย เตา้ หู้แขง็ -อ่อน เปน็ ต้น สตั วต์ ัวเล็กท่กี ินทัง้ ตัวและกระดกู ไดแ้ ก่ กบ/เขยี ด/อึ่งแห้ง/แย/้ กิ้งก่า เป็นต้น 5. ปรุงอาหารด้วยเกลือหรือเคร่ืองปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีนทุกคร้ัง โดยปรุงด้วยเกลือ ไม่เกินวันละ 1 ชอ้ นชา หรอื น�้ำปลาไมเ่ กนิ วันละ 5 ชอ้ นชา เพอ่ื ป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน และไดร้ บั โซเดยี มไมเ่ กินปริมาณทีก่ ำ� หนด 6. ให้กินยาเม็ดรวมเสริมไอโอดีน (150 ไมโครกรัม) ธาตุเหล็ก (60 มิลลิกรัม) และกรดโฟลิก (400 มลิ ลกิ รมั ) ทกุ วนั ๆ ละ 1 เม็ด เพอื่ ปอ้ งกันการขาดไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลต 7. นอนหลับพักผอ่ นใหเ้ พียงพอ อยา่ งน้อยวันละ 8 ชวั่ โมง 8. ให้ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ เช่น การเดิน และบริหารร่างกาย เพื่อลดอาการแทรกซ้อนในขณะ ต้ังครรภ์ เพิ่มความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื และระบบการย่อยอาหารดขี ึ้น 2. แนวทางการใหค้ ำ� แนะน�ำทางโภชนาการเพิ่มเติมสำ� หรบั หญงิ ตัง้ ครรภน์ ้�ำหนักนอ้ ย หญงิ ตง้ั ครรภน์ ำ้� หนกั นอ้ ย หมายถงึ หญงิ ตงั้ ครรภท์ ม่ี คี า่ ดชั นมี วลกาย (BMI) กอ่ นตง้ั ครรภน์ อ้ ยกวา่ 18.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และ/หรือมีน�้ำหนักเพิ่มข้ึนน้อยในขณะตั้งครรภ์ โดยได้รับค�ำแนะน�ำการบริโภคอาหารทั่วไป ในหนา้ 27-28 และตอ้ งให้คำ� แนะน�ำเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี 1. เพ่ิมปริมาณอาหารประเภทท่ีให้พลังงาน เพื่อให้มีน้�ำหนักเพ่ิมข้ึน ได้แก่ อาหารประเภทข้าว-แป้ง เชน่ ขา้ วเจ้า ข้าวเหนียว ก๋วยเตย๋ี ว ขนมจนี ขนมปงั เผอื ก มนั เปน็ ตน้ และอาหารไขมนั เชน่ น�ำ้ มัน โดยการปรงุ อาหาร ด้วยวธิ ที อดหรอื ผดั และกะทิ อาจทำ� เปน็ กับขา้ วหรือขนมหวาน แบบไทยๆ เช่น กล้วยบวดชี เปน็ ต้น 2. เพ่ิมอาหารกลุ่มเนอ้ื สัตว์ และกลุ่มนม หากบริโภคไม่เพยี งพอ เพื่อให้ได้สารอาหารโปรตนี ซ่งึ จำ� เปน็ ตอ่ การสร้างเนื้อเยือ่ ต่างๆ รวมท้ังการเจรญิ เติบโตของเซลลส์ มอง 3. การเพ่ิมปรมิ าณอาหาร ต้องคอ่ ย ๆ เพ่มิ ทีละนอ้ ย จนไดต้ ามปรมิ าณท่ีแนะนำ� 4. เพม่ิ ปรมิ าณและจำ� นวนครง้ั ของอาหารระหวา่ งมอื้ ไดแ้ ก่ อาหารวา่ งเชา้ บา่ ย และคำ�่ เพอ่ื เพม่ิ พลงั งาน และสารอาหาร 5. งดกินขนม-เคร่ืองด่ืมท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการต่�ำ เช่น ขนมขบเค้ียว ขนม-เคร่ืองด่ืมท่ีมีรสหวานจัด เปน็ ต้น 28 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ คมู่ ือ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสุข 3. แนวทางการใหค้ ำ� แนะน�ำทางโภชนาการเพ่ิมเติมสำ� หรับหญงิ ตงั้ ครรภ์นำ้� หนักเกินหรืออ้วน หญิงตั้งครรภ์น�้ำหนักเกิน หมายถึง หญิงต้ังครรภ์ท่ีมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนต้ังครรภ์ ระหว่าง 23.0-24.9 กิโลกรัมตอ่ ตารางเมตร และ/หรอื มนี �้ำหนักเพิ่มขนึ้ มาก ในขณะต้ังครรภ์ หญงิ ตัง้ ครรภอ์ ว้ น หมายถึง หญงิ ต้งั ครรภ์ท่มี คี ่าดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนตงั้ ครรภ์ ต้ังแต่ 25 กโิ ลกรัม ตอ่ ตารางเมตรขน้ึ ไป และ/หรอื มีน้�ำหนักเพิม่ ขน้ึ มากในขณะตัง้ ครรภ์ หญงิ ตัง้ ครรภน์ �ำ้ หนกั เกนิ หรอื อว้ น ตอ้ งไดร้ บั คำ� แนะน�ำการบริโภคอาหารทั่วไปในหนา้ 27-28 และต้อง ไดค้ �ำแนะนำ� เพม่ิ เตมิ ดงั น้ี 1. ควบคุมปริมาณอาหารให้ได้รับพลังงานและสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของมารดาและ การเจรญิ เติบโตของทารก โดยบริโภคอาหารในแตล่ ะมอ้ื ไมค่ วรบริโภคมากเกนิ ไป 2. อยา่ อดอาหารมือ้ หลกั หรือลดปรมิ าณอาหารมากเกนิ ไป เนอื่ งจากทารกในครรภ์กำ� ลังเจริญเติบโต การลดอาหารมากไปจะทำ� ให้การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ชา้ ลง 3. ลดปรมิ าณอาหารท่ใี ห้พลงั งานหากบริโภคมากกว่าท่ีแนะนำ� หรอื ลดปริมาณให้ นอ้ ยกว่าทแี่ นะน�ำ เลก็ นอ้ ย ไดแ้ ก่ - อาหารประเภทข้าว-แป้ง เชน่ ข้าว ก๋วยเตย๋ี ว ขนมจีน ขนมปัง เผอื ก เปน็ ต้น - อาหารไขมนั เช่น นำ้� มนั กะทิ ควรหลีกเลีย่ งการปรุงอาหารดว้ ยวิธกี ารทอด ผดั แกงกะทิหรือขนม ทีใ่ สก่ ะทิ ให้เปล่ยี นวิธปี รุงอาหารโดยการตม้ นงึ่ ปง้ิ แทน 4. การลดปรมิ าณอาหาร ควรค่อย ๆ ลดปริมาณจนได้ตามปริมาณทแี่ นะนำ� 5. หลกี เลยี่ งเนอ้ื สตั วต์ ดิ มนั เชน่ หมสู ามชน้ั หมตู ดิ มนั คอหมู หนงั ไก่ หนงั เปด็ แคบหมู ไสก้ รอก เปน็ ตน้ 6. อาหารกลมุ่ ข้าว-แปง้ ควรเปน็ คาร์โบไฮเดรตเชิงซอ้ น ได้แก่ ธัญพืช หรอื ข้าวไม่ขัดสี เชน่ ข้าวกล้อง ขา้ วซอ้ มมือ ขนมปงั โฮลวที ขา้ วโพด 7. กนิ ผกั ผลไม้รสไมห่ วานจดั เพิม่ ข้นึ และหลากหลาย เพอ่ื ใหไ้ ดใ้ ยอาหารในการลดการดดู ซมึ น�้ำตาล ไขมัน และคอเลสเตอรอลในร่างกาย 8. งดกนิ ขนม-เคร่ืองดื่มทมี่ รี สหวานจดั เช่น ทองหยบิ ทองหยอด ลูกอม ชอ็ คโกแลต็ เยลลี นำ�้ หวาน น�้ำอดั ลม เป็นต้น 9. งดกนิ จบุ จบิ เชน่ ขนมขบเคย้ี ว เพราะมแี ปง้ -นำ�้ ตาลมาก ไขมนั สงู จงึ ใหพ้ ลงั งานสงู โซเดยี มสงู คณุ คา่ ทางโภชนาการต�ำ่ 10. หลีกเล่ียงการบริโภคอาหารรสเค็มจดั 11. กนิ อาหารทเ่ี ปน็ แหลง่ แคลเซยี มเปน็ ประจำ� ทกุ วนั โดยเฉพาะนม แตค่ วรเปลย่ี นจากนมจดื (มพี ลงั งาน 130 กโิ ลแคลอรี ไขมนั 7.8 กรมั ) เป็น นมพรอ่ งมนั เนย (มีพลงั งาน 84 กโิ ลแคลอรี ไขมนั 3.2 กรัม) หรอื นมขาดมันเนย (มพี ลงั งาน 72 กิโลแคลอรี ไขมัน 0.6 กรมั ) สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย 29 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื แนวทางการด�ำ เนินงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบคุ ลากรสาธารณสุข คำ� ถาม - ค�ำตอบ ค�ำถาม 1. หญิงต้ังครรภ์ทีด่ ืม่ นมวัว ทำ� ใหล้ กู เป็นโรคภูมแิ พห้ รอื ไม่ คำ� ตอบ : ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า หญิงตั้งครรภ์ด่ืมนมวัวในปริมาณท่ีแนะน�ำ ท�ำให้เกิดโรคภูมิแพ้ในทารก ดังน้ัน หญิงต้ังครรภ์จึงควรดื่มนมสดรสจืดในปริมาณที่ก�ำหนด คือ 2-3 แก้วต่อวัน ส�ำหรับหญิงต้ังครรภ์ท่ีมีน้�ำหนักปกติ และวนั ละ 3 แกว้ สำ� หรับหญงิ ต้งั ครรภท์ ่นี ำ�้ หนกั นอ้ ย ส่วนหญงิ ต้งั ครรภ์ทอี่ ว้ นใหเ้ ปล่ียนจากนมรสจืด เป็นนมพร่องมันเนย หรอื นมขาดมนั เนยวนั ละ 2-3 แก้ว คำ� ถาม 2. หญงิ ตง้ั ครรภ์ด่มื นมวัววันละ 2-3 แก้วมากเกนิ ไปหรอื ไม่ ค�ำตอบ : เหตุผลท่ีให้หญิงตั้งครรภ์ดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว ก็เพ่ือต้องการเสริมให้ได้แคลเซียมในปริมาณท่ีหญิงตั้งครรภ ์ ควรไดร้ บั ใน 1 วนั โดยหญงิ ต้งั ครรภจ์ ะตอ้ งไดร้ ับแคลเซียมดงั ต่อไปน้ี อายุ 16-18 ปี อายุ 19 ปขี นึ้ ไป พลังงานและสารอาหาร ไตรมาสของการตัง้ ครรภ์ ไตรมาสของการตั้งครรภ์ 123 123 แคลเซียม (มลิ ลกิ รัม) 1,000 1,000 1,000 800 800 800 หญิงตั้งครรภ์จะต้องถ่ายทอดแคลเซียมสู่ลูกเพ่ือการพัฒนาโครงสร้างร่างกายของทารกในครรภ์ ดังน้ัน หญิงตงั้ ครรภ์จึงจ�ำเป็นอยา่ งย่งิ ท่ีจะตอ้ งได้รบั แคลเซยี มในปรมิ าณทก่ี �ำหนดตามตารางดา้ นบน การแนะนำ� ใหห้ ญงิ ต้ังครรภ์ ดมื่ นมวนั ละ 2-3 แก้ว จึงเปน็ ปริมาณที่เหมาะสมเพราะในนมวัวรสจดื 1 แกว้ (200 ซซี )ี มปี ริมาณแคลเซยี ม 244 มลิ ลิกรมั นมพรอ่ งมนั เนยมีแคลเซียม 292 มิลลิกรมั นมพร่องมนั เนย สูตรแคลเซียมสงู มแี คลเซยี ม 480 มิลลิกรมั ถงึ แมว้ า่ นมสตู รแคลเซยี มสงู จะมปี รมิ าณแคลเซยี มมากกวา่ นมชนดิ อน่ื ๆ ทำ� ใหด้ มื่ เพยี ง 1-2 ครง้ั จะไดป้ รมิ าณ แคลเซียมเท่ากบั ดืม่ นมทว่ั ไป 2-3 คร้งั แตอ่ ย่างไรก็ตามนมแคลเซยี มสงู การดดู ซมึ แคลเซียมเขา้ สู่ร่างกายจะไดน้ ้อยกว่าการ ดมื่ นมทัว่ ไป เป็นผลให้การด่มื นมท่ัวไป ร่างกายจะไดร้ บั แคลเซียมมากกว่า ในกรณที หี่ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มส่ ามารถดม่ื นมววั ได้ สามารถเลอื กรบั ประทานอาหารทม่ี แี คลเซยี มสงู จากแหลง่ อนื่ ๆ ไดอ้ ีก เช่น ปลาเลก็ ปลาน้อย ก้งุ แห้ง กงุ้ ฝอย โยเกิร์ต เต้าหู้ เปน็ ตน้ 30 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสริมสขุ ภาพด้านโภชนาการ คูม่ ือ ในคลินกิ ฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ คำ� ถาม 3. ในชว่ งตงั้ ครรภ์ ควรกนิ นมวัวหรอื นมถ่ัวเหลอื ง คำ� ตอบ : นมเปน็ แหล่งท่สี �ำคัญของแคลเซียม โดยในนมวัวน้นั มีแคลเซียมในปรมิ าณทเี่ พียงพอ แตม่ ีไขมันอิ่มตัวในปรมิ าณ มาก เช่น ปริมาณหนง่ึ หนว่ ยบรโิ ภค 200 ซีซี นมจดื มแี คลเซยี ม 244 มิลลกิ รมั มไี ขมนั อม่ิ ตัว 4.5 กรมั นมพรอ่ งมนั เนยมี แคลเซียม 292 มลิ ลิกรมั มไี ขมนั อิ่มตวั 3 กรมั สำ� หรับนมถั่วเหลอื งน้ัน เป็นทางเลอื กที่ดีในการลดปรมิ าณไขมันอ่มิ ตวั แต่ใน ด้านของแคลเซยี มนัน้ คณุ ค่าน้อย ในนมถ่วั เหลือง 200 ซีซี มีแคลเซียม 44 มลิ ลกิ รมั มไี ขมนั อิม่ ตวั 0.9 กรมั ดังนัน้ ตอ้ งพจิ ารณาจากฉลากโภชนาการของผลติ ภัณฑท์ ร่ี ับประทาน ซ่ึงปรมิ าณแคลเซียมทแ่ี นะน�ำส�ำหรับ หญิงตงั้ ครรภค์ อื 800-1,000 มิลลกิ รัม/วัน (ตามตารางในข้อคำ� ถาม 2) นอกจากน้ี ยงั สามารถรบั ประทานแคลเซยี มได้จาก แหล่งอื่นๆ เชน่ โยเกริ ์ต เตา้ หู้ ตารางท่ี 7 เปรียบเทียบคณุ ค่าทางโภชนาการและราคาระหวา่ งนมวัวและนมถ่วั เหลอื งชนิด UHT. ชนิดของนม นมรสจืด นมพร่องมันเนย นมถั่วเหลอื ง (UHT.) (UHT.) (UHT.) (200 ซซี )ี (200 ซีซ)ี (200 ซซี ี) 144 คุณค่าทางโภชนาการ 44 พลงั งาน (กโิ ลแคลอร)ี 130 84 4.8 แคลเซยี ม (มลิ ลกิ รัม) 244 292 6.2 โปรตนี (กรัม) 4.6 7.4 0.9(3) ไขมัน (กรัม) 7.8 3.2 17.2 ไขมันอ่ิมตวั (กรัม) 4.5(1) 3(2) 1 คารโ์ บไฮเดรต (กรมั ) 8.2 6.4 52 ธาตุเหล็ก (มลิ ลิกรัม) 0.2 0.4 18(3) ฟอสฟอรัส (มิลลิกรัม) 180 198 8.50 น�ำ้ ตาล (กรมั ) 6(1) 6(2) ราคา (บาท) 9 9 หมายเหตุ (1) ข้อมูลฉลากโภชนาการนมยเู อชที รสจดื ขนาด 200 ซซี ี (2) ขอ้ มลู ฉลากโภชนาการนมยเู อชที พรอ่ งมนั เนยขนาด 200 ซซี ี (3) ข้อมูลฉลากโภชนาการนมถ่วั เหลืองยเู อชที สตู รหวานปกติขนาด 200 ซซี ี สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย 31 กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข ค�ำถาม 4. ชว่ งแพท้ อ้ งควรกนิ อยา่ งไร ค�ำตอบ : อาการแพ้ท้องโดยปกติจะหายเองโดยไม่ต้องพ่ึงยา แต่หากแพ้มากถึงข้ันกินอาหารไม่ได้เป็นระยะเวลานานๆ อาจสง่ ผลกระทบต่อรา่ งกายหญงิ ตั้งครรภแ์ ละทารกในครรภ์ ซึง่ กรณนี ีค้ วรต้องพบแพทย์ท่ีฝากครรภ์ โดยทัว่ ไป ขอ้ แนะนำ� ในเรือ่ งอาหาร กรณีทมี่ อี าการแพ้ทอ้ ง ได้แก่ 1. กินอาหารทีละน้อยๆ แต่บอ่ ยครง้ั ข้ึน 2. หลกี เลีย่ งกนิ อาหารทม่ี กี ลน่ิ แรง เพราะจะกระตนุ้ ให้คลนื่ ไส้ 3. หลีกเล่ียงอาหารทอด เพราะอาหารกลุ่มเหลา่ น้ีจะย่อยยาก 4. ดื่มเครอื่ งด่มื ที่มีรสเปรยี้ ว เช่น มะนาว น้ำ� ส้ม ซ่งึ อาจช่วยบรรเทาอาการแพท้ อ้ งได้ 5. สงั เกตอาการแพท้ ้องทีเ่ ปน็ นอ้ ย เกดิ ชว่ งไหนในแตล่ ะวัน ใหพ้ ยายามกินอาหารช่วงเวลานัน้ มากกว่าเวลาอื่นๆ 32 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการด�ำ เนนิ งานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ คู่มอื ในคลนิ ิกฝากครรภ์ ส�ำ หรับบุคลากรสาธารณสขุ บรรณานกุ รม กลมุ่ อนามยั แมแ่ ละเดก็ สำ� นกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั . สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ . องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . 2556. คณะกรรมการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. คู่มอื แนวทางการควบคุมและปอ้ งกันโลหติ จางจากการขาดธาตเุ หล็ก, 2557 คณะกรรมการจัดท�ำข้อก�ำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจ�ำวันส�ำหรับคนไทย กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข. ปรมิ าณสารอาหารอา้ งอิงทีค่ วรไดร้ ับประจ�ำวนั ส�ำหรับคนไทย พ.ศ 2546. องค์การรบั สง่ สนิ ค้า และพัสดภุ ัณฑ์ (รสพ). ฉบับปรับปรุงคร้งั ที่ 3, 2546. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กลุ่มงานวิเคราะห์อาหารและโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . โรงพมิ พ์องคก์ ารทหารผ่านศกึ . พิมพค์ ร้ังที่ 1, 2544. ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล, เรวดี จงสุวัฒน์, ฉัตรภา หัตถโกศล. คู่มือการให้บริการด้านโภชนาการส�ำหรับคลินิกฝากครรภ ์ ยุคใหม.่ สำ� นกั โภชนาการ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ เครือข่ายคนไทยไร้พุง ภายใตก้ ารสนับสนุน ของ สสส. 2555 ณฐั วรรณ เชาวนล์ ลิ ติ กลุ . แนวทางการดำ� เนนิ งานเฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการหญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ แรกเกดิ – 5 ปี. องคก์ ารรับส่งสนิ คา้ และพสั ดภุ ัณฑ์ (รสพ). พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2, 2557. นิพรรณพร วรมงคล. สถานการณเ์ ด็กแรกเกดิ นำ้� หนักต�่ำกว่าเกณฑ์ และกลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพ. วารสารการสง่ เสรมิ สุขภาพและอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 3, 2547. ปน่ิ มณี แซเ่ ตยี . ปจั จยั เสยี่ งของมารดาตอ่ การเกดิ ทารกแรกเกดิ นำ้� หนกั นอ้ ย. วารสารการแพทยโ์ รงพยาบาลศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร์ บุรรี ัมย์ 2555; 27(1): หนา้ 66-68. ศิริกุล อิศรานุรักษ์. ทารกน�้ำหนักแรกเกิดน้อย : ปัญหาสุขภาพคนไทยท่ียังแก้ไม่ตก. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา 2549 ปที ่ี 4 ฉบบั ที่ 1: 73. World Health Organization. Worldwide prevalence of anemia 1993-2005: WHO global database on anaemia. Geneva, World Health Organization, 2008 : page 28. ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามยั 33 กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ แนวทางการด�ำ เนนิ งานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรับบุคลากรสาธารณสขุ ภาคผนวก 34   1. กราฟโภ ช   นาการหญงิ ต้ังครรภ์ 34 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการด�ำ เนนิ งานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ คมู่ อื ในคลนิ ิกฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสุข 35           สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั 35 ค่มู อื แนวทางการดำเนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารกณระสทุขรว  งสาธารณสขุ

คมู่ อื แนวทางการดำ�เนนิ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพด้านโภชนาการ ในคลินกิ ฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมบริโภคอาหารส�ำหรับหญงิ ต้งั ครรภ์ แบบประเมินพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของหญิงต้งั ครรภ์อายุ 16-18 ปี ชอื่ -นามสกุล....................................................... ครง้ั ที่ ....................วันท่ี ............................. ความหมาย พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้อนั้น หมายถึง พฤติกรรมท่ีเหมาะสม หากพฤติกรรมในข้อใดไม่ปฏิบัต ิ แสดงวา่ ตอ้ งปรับปรงุ พฒั นาในเร่อื งนัน้ วธิ ีประเมิน 1. ประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารใน 1 ชว่ งสปั ดาห์ ทผ่ี ่านมา 2. ให้ทำ� เครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องปฏิบตั หิ รือไม่ปฏิบตั ใิ นพฤตกิ รรมแตล่ ะขอ้ ถา้ ไมป่ ฏิบตั ิใหด้ วู า่ ส่งิ ที่ท�ำนัน้ นอ้ ยกว่าหรือมากกว่าจากท่แี นะน�ำ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบัติ น้อยกวา่ มากกว่า 1. กินอาหารเช้าท่ีมีกลุ่มอาหารอย่างน้อย 3 กลุ่ม คือ กลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก และกลุ่มเน้ือสัตว์ หรือกลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก และกลุ่มนม หรือกลุ่มข้าว-แป้ง กล่มุ เน้อื สัตวแ์ ละกลมุ่ นม หรือกลมุ่ ขา้ ว-แป้ง กล่มุ นมและกลุ่มผลไม้ ทุกวนั 2. กนิ อาหารหลกั วันละ 3-4 มอ้ื (เช้า กลางวัน บ่าย เย็นหรอื ค�่ำ) ทุกวนั 3. กินอาหารวา่ งวนั ละ 2-3 ครั้ง (ชว่ งสาย ชว่ งบ่าย และหรอื ช่วงค่�ำ) ทุกวนั 4. ปริมาณอาหารท่ีบริโภคในแต่ละกลมุ่ 4.1 กินอาหารกลุ่มข้าว-แปง้ วันละ 10 ทัพพี 4.2 กนิ อาหารกลุม่ ผกั วันละ 6 ทพั พี ทกุ วัน 4.3 กินอาหารกลุม่ ผลไมว้ ันละ 6 สว่ น ทกุ วนั 4.4 กนิ อาหารกลมุ่ เนื้อสัตว์ วนั ละ 12 ช้อนกินขา้ วทกุ วนั 4.5 ดมื่ นม (เลือกใหต้ รงตามภาวะโภชนาการของหญงิ ตงั้ ครรภ์) - นมรสจืดวนั ละ 3 แก้วหรอื กล่องทุกวนั ส�ำหรบั หญงิ ต้ังครรภไ์ มอ่ ว้ น - นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 3 แก้วหรือกล่องทุกวันส�ำหรับ หญิงตง้ั ครรภอ์ ้วน 5. กนิ ปลาอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 3 วนั 6. กนิ ไข่ อย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วัน วนั ละ 1 ฟอง 7. กนิ อาหารท่เี ป็นแหลง่ ของธาตเุ หลก็ เช่น ตบั เลอื ด สปั ดาห์ละ 2-3 วัน 36 สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการ คมู่ อื ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บุคลากรสาธารณสุข พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบัติ น้อยกวา่ มากกวา่ 8. กนิ ยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีน ธาตเุ หลก็ และกรดโฟลกิ (เลอื กให้ตรงกับยาท่ีได้รับ) - ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก (รวมในเม็ดเดียวกัน) วนั ละ 1 เม็ดทุกวัน - ยาเมด็ เสริมไอโอดีน วนั ละ 1 เมด็ ทกุ วัน - ยาเมด็ เสริมธาตเุ หล็กวันละ 1 เม็ด ทุกวนั - ยาเมด็ เสริมกรดโฟลกิ วนั ละ 1 เม็ด ทุกวัน 9. กินอาหารประเภทผัด ทอดและกะทิ (เลือกให้ตรงตามภาวะโภชนาการของ หญิงต้ังครรภ)์ - 1- 5 อย่างตอ่ วัน สำ� หรับหญิงตงั้ ครรภน์ �ำ้ หนกั ปกติ - มากกวา่ 5 อย่างต่อวันสำ� หรบั หญงิ ต้ังครรภท์ ี่มนี ้ำ� หนกั นอ้ ย - 1- 3 อย่างตอ่ วนั สำ� หรับหญิงตั้งครรภอ์ ว้ น 10. ไมก่ ินเนอ้ื สัตว์ตดิ มนั เช่น หมสู ามช้ัน ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนงั เปด็ ไสก้ รอก เป็นต้น 11. ไมก่ นิ ขนมทมี่ รี สหวาน เช่น ไอศกรีม หวานเยน็ ชอ็ คโกแลต หมากฝร่ัง ลกู อม เยลลี่ เปน็ ตน้ 12. ไม่ดื่มเคร่ืองด่ืมท่ีมีรสหวาน เช่น น�้ำอัดลม น�้ำหวาน โกโก้เย็น ชาเย็น น�้ำปั่น นำ�้ ผลไม้ นมเปรีย้ ว เปน็ ตน้ 13. ไมก่ นิ ขนมเบเกอร่ี เชน่ เค้ก พาย โดนัท เป็นต้น 14. ไมก่ นิ ขนมขบเคย้ี ว เชน่ ปลาเสน้ ปรงุ รส มนั ฝรงั่ ทอด ขนมปงั เวเฟอร์ ขนมปงั แทง่ เป็นต้น 15. ไม่เตมิ เครือ่ งปรงุ รสเค็ม เชน่ นำ้� ปลา ซอี ๊ิว แม็กก้ี ในอาหารท่ปี รุงสกุ แล้วทุกครั้ง 16. ไม่เตมิ นำ้� ตาลในอาหารทีป่ รงุ สกุ แล้วทุกครงั้ 17. ไมก่ นิ อาหารหมกั ดอง เช่น ผกั ดอง ผลไม้ดอง หอยดอง เปน็ ต้น 18. ไม่ดื่มเคร่ืองด่มื ท่ีมแี อลกอฮอล์ 19. ไมด่ ม่ื เครอ่ื งด่มื ท่มี คี าเฟอนี เช่น กาแฟ ชา เปน็ ตน้ ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย 37 กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู ือ แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรับบุคลากรสาธารณสุข แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของหญงิ ตัง้ ครรภอ์ ายุ 19 ปขี น้ึ ไป ชือ่ -นามสกลุ ....................................................... ครง้ั ที่ ....................วนั ที่ ............................. ความหมาย พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้อน้ัน หมายถึง พฤติกรรมท่ีเหมาะสม หากพฤติกรรมในข้อใดไม่ปฏิบัติ แสดงว่าต้องปรบั ปรุงพฒั นาในเร่อื งนั้น วิธปี ระเมนิ 1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารใน 1 ชว่ งสัปดาห์ ที่ผ่านมา 2. ให้ท�ำเครือ่ งหมาย ✓ ลงในช่องปฏิบัตหิ รือไม่ปฏบิ ัตใิ นพฤติกรรมแตล่ ะขอ้ ถา้ ไม่ปฏิบัตใิ หด้ วู า่ ส่งิ ท่ที ำ� น้ัน นอ้ ยกวา่ หรอื มากกวา่ จากท่แี นะนำ� พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ นอ้ ยกว่า มากกวา่ 1. กินอาหารเช้าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้อย 3 กลุ่ม คือ กลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก และกลุ่มเน้ือสัตว์ หรือกลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก และกลุ่มนม หรือกลุ่มข้าว-แป้ง กล่มุ เนื้อสตั ว์และกลมุ่ นม หรือกลุ่มข้าว-แปง้ กลุ่มนมและกลุ่มผลไม้ ทุกวนั 2. กนิ อาหารหลัก วนั ละ 3-4 มือ้ (เช้า กลางวนั บา่ ย เย็นหรอื ค่ำ� ) ทุกวนั 3. กินอาหารวา่ งวนั ละ 2-3 ครงั้ (ชว่ งสาย ชว่ งบ่าย และหรือชว่ งค่�ำ) ทกุ วนั 4. ปรมิ าณอาหารทบี่ รโิ ภคในแตล่ ะกลมุ่ 4.1 กินอาหารกล่มุ ข้าว-แป้ง วันละ 9 ทัพพี 4.2 กนิ อาหารกลุ่มผกั วนั ละ 6 ทัพพี ทกุ วนั 4.3 กนิ อาหารกลุม่ ผลไมว้ ันละ 6 สว่ น ทกุ วนั 4.4 กนิ อาหารกลุ่มเนอ้ื สัตว์ วนั ละ 12 ช้อนกินขา้ วทกุ วัน 4.5 ดม่ื นม (เลอื กใหต้ รงตามภาวะโภชนาการของหญิงตง้ั ครรภ์) - นมรสจืดวนั ละ 3 แกว้ หรือกล่องทุกวันสำ� หรับหญิงต้งั ครรภ์ไมอ่ ว้ น - นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 3 แก้วหรือกล่องทุกวันส�ำหรับ หญิงตัง้ ครรภ์อ้วน 5. กนิ ปลาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วัน 6. กินไข่ อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละ 1 ฟอง 7. กินอาหารทีเ่ ปน็ แหลง่ ของธาตเุ หลก็ เช่น ตบั เลือด สัปดาห์ละ 2-3 วัน 38 ส�ำ นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ คูม่ ือ ในคลนิ กิ ฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสขุ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ัติ น้อยกว่า มากกว่า 8. กินยาเมด็ เสริมไอโอดีน ธาตเุ หลก็ และกรดโฟลิก (เลือกให้ตรงกบั ยาทไ่ี ดร้ บั ) - ยาเม็ดเสรมิ ไอโอดนี ธาตุเหลก็ และกรดโฟลกิ (รวมในเมด็ เดียวกัน) วันละ 1 เม็ดทกุ วัน - ยาเม็ดเสริมไอโอดนี วนั ละ 1 เมด็ ทุกวัน - ยาเมด็ เสรมิ ธาตุเหลก็ วันละ 1 เมด็ ทุกวนั - ยาเมด็ เสริมกรดโฟลิก วันละ 1 เมด็ ทุกวัน 9. กินอาหารประเภทผัด ทอดและกะทิ (เลือกให้ตรงตามภาวะโภชนาการของ หญงิ ตงั้ ครรภ์) - 1- 5 อยา่ งตอ่ วัน ส�ำหรบั หญิงตั้งครรภน์ ำ้� หนักปกติ - มากกวา่ 5 อย่างต่อวันสำ� หรับหญงิ ตัง้ ครรภท์ ่ีมีนำ�้ หนกั นอ้ ย - 1-3 อยา่ งต่อวนั ส�ำหรบั หญงิ ต้ังครรภ์อว้ น 10. ไม่กนิ เนือ้ สตั วต์ ดิ มนั เชน่ หมสู ามชนั้ ขาหมู คอหมู หนงั ไก่ หนงั เปด็ ไส้กรอก เปน็ ต้น 11. ไม่กนิ ขนมทมี่ รี สหวาน เช่น ไอศกรีม หวานเย็น ช็อคโกแลต หมากฝรง่ั ลูกอม เยลล่ี เปน็ ต้น 12. ไม่ด่ืมเครื่องดื่มท่ีมีรสหวาน เช่น น�้ำอัดลม น้�ำหวาน โกโก้เย็น ชาเย็น น้�ำปั่น นำ�้ ผลไม้ นมเปร้ียว เป็นต้น 13. ไม่กินขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ก พาย โดนัท เป็นตน้ 14. ไมก่ นิ ขนมขบเคยี้ ว เชน่ ปลาเสน้ ปรงุ รส มนั ฝรงั่ ทอด ขนมปงั เวเฟอร์ ขนมปงั แทง่ เป็นตน้ 15. ไมเ่ ตมิ เครื่องปรุงรสเคม็ เชน่ นำ้� ปลา ซอี ๊วิ แมก็ ก้ี ในอาหารที่ปรุงสกุ แล้วทกุ ครง้ั 16. ไมเ่ ติมน้ำ� ตาลในอาหารท่ปี รุงสกุ แลว้ ทุกครง้ั 17. ไม่กนิ อาหารหมกั ดอง เชน่ ผักดอง ผลไมด้ อง หอยดอง เป็นตน้ 18. ไม่ด่ืมเครื่องดื่มที่มแี อลกอฮอล์ 19. ไมด่ ่มื เครอื่ งดมื่ ที่มีคาเฟอีน เชน่ กาแฟ ชา เปน็ ตน้ สำ�นักโภชนาการ กรมอนามยั 39 กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู อื แนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสรมิ สุขภาพดา้ นโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรับบคุ ลากรสาธารณสุข คมู่ ือแนวทางการดำ�เนนิ งานสง่ เสรมิ สุขภาพด้านโภชนาการ ในคลินิกฝากครรภ์ สำ�หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4331 โทรสาร 0-2590-4333 ที่ปรึกษา รองอธบิ ดีกรมอนามัย ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นกั โภชนาการ กรมอนามยั นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ แพทยห์ ญงิ นภาพรรณ วริ ยิ ะอุตสาหกุล ผู้จดั ทำ� นางณัฐวรรณ เชาวนล์ ลิ ติ กลุ นักโภชนาการชำ�นาญการพิเศษ สำ�นักโภชนาการ นายสพุ จน์ ร่ืนเริงกลนิ่ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ�นาญการ สำ�นักโภชนาการ นางสาวนันทจติ บุญมงคล นกั โภชนาการชำ�นาญการ สำ�นักโภชนาการ บรรณาธกิ าร นกั โภชนาการชำ�นาญการพเิ ศษ สำ�นักโภชนาการ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำ�นาญการ สำ�นกั โภชนาการ นางณัฐวรรณ เชาวนล์ ลิ ติ กลุ นายสพุ จน์ ร่นื เริงกล่ิน 40 สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ