ฆา่ และเนอ่ื งจากวา่ พระองคม์ นี สิ ยั เดมิ เปน็ คนใจรอ้ นขโ้ี มโห เวลาเข้าห้องนอนของภรรยาก็ต้องมีธนูติดตัวไปด้วย ท่าน จึงยิงสามาวดี ในขณะท่สี ามาวดีซ่งึ เป็นผ้มู ีเมตตาสูงกำ�ลัง แผเ่ มตตาอยู่ ทา่ นจงึ ยงิ นางไมเ่ ขา้ ทนี ม้ี นั อาจเปน็ ธรรมชาติ อยา่ งหนง่ึ ของผชู้ ายมาแตไ่ หนแตไ่ ร ไดฟ้ งั ธรรมะลว้ นๆ แม้ จะลกึ ซง้ึ สกั แคไ่ หน เขากจ็ ะเฉยๆ แตถ่ า้ มเี รอ่ื งอศั จรรยแ์ บบ ยิงไม่เข้าอะไรทำ�นองน้ ี จึงจะมีผล พระเจ้าอุเทน จึงท่งึ ภรรยาจนเกดิ ศรทั ธา ทรงขอขมาตอ่ สามาวดี แลว้ เรม่ิ สนใจ พระพทุ ธศาสนา คดิ อยากจะฟงั ธรรมะ จงึ เสดจ็ ไปทว่ี ดั ขณะน้นั พระพุทธเจ้าเสด็จธุดงค์ไปท่อี ่นื แต่ก็มีพระ กลมุ่ หน่งึ ธุดงคม์ าทีว่ ดั คือคณะของพระปณิ โฑลภารทวาชะ พระเจ้าอุเทนได้สนทนาธรรมกับท่านปิณโฑลภารทวาชะ และได้เห็นว่าท่านมีลูกศิษย์หนุ่มๆ หลายรูป ก็รู้สึก ศรัทธา เนื่องจากว่าท่านเป็นผู้ที่ค่อนข้างจะมักมากใน เร่ืองของกาม เม่ือเห็นพระหนุ่มจำ�นวนมากหลายองค์ ก็เกิดความอยากรู้ว่า พระหนุ่มๆ อายเุ พียงเท่านเ้ี หล่านี้ ชยสาโร ภิกขุ 93
ท่านสามารถประพฤติพรหมจรรย์กันได้อย่างไร พระ ปณิ โฑลภารทวาชะจึงอธบิ ายให้ฟงั ว่า พระในพทุ ธศาสนา ไมใ่ ชว่ า่ บวชแลว้ อยเู่ ฉยๆ หากมกี ารพฒั นาจติ ใจในทกุ ๆดา้ น มีการเจริญอสุภกรรมฐาน เห็นความไม่สวยไม่งามของ ร่างกาย แล้วก็ยังฝึกจิต พัฒนาสัญญาความจำ�ได้หมายรู้ เมื่อเห็นผู้หญิงท่ีมีอายุมาก ก็ฝึกมองให้เห็นว่าเหมือนแม่ เห็นผหู้ ญิงร่นุ เดียวกนั หรืออายุมากกว่านดิ หน่อย กม็ องให้ เหน็ วา่ เปน็ พส่ี าว ทอ่ี ายนุ อ้ ยกวา่ กเ็ ปน็ นอ้ งสาว ฉะนน้ั ความ รสู้ กึ ทเ่ี ปน็ อกศุ ลอนั เปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ การประพฤตพิ รหมจรรย์ จะลดน้อยลง พระเจ้าอเุ ทนฟงั แลว้ เกิดความเล่ือมใส เกิด ศรัทธา ขอถึงซึ่งพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พงึ่ เป็นสรณะ จากนั้น ท่านกม็ ีความคดิ ขึ้นมาอกี หลายอย่าง ทา่ น ไมค่ ิดจะปฏิบตั ติ อ่ นางสามาวดเี หมอื นเดมิ คือไม่คิดปฏบิ ัติ ต่อนางเหมือนเป็นภรรยา ท่านไม่จำ�เป็นต้องยุ่งเก่ียวกับ นาง เพราะภรรยาอื่นๆ ก็ยังมีอยู่ แต่ท่านถือนางเป็น 94 อกั ษรส่อสาร
กัลยาณมติ ร ปล่อยใหภ้ รรยาคนนไ้ี ดป้ ฏบิ ัติธรรม เมื่อสามี ไม่มาเกี่ยวข้องด้วย สามาวดีก็ปฏิบัติได้ผล นางได้บรรลุ เปน็ สกทิ าคา อนาคา ดว้ ยเหตุน้ี เพราะเหตุนี้นางมาคันทิยะจึงไม่พอใจมาก นางคิด การว่าจะทำ�อย่างไรต่อไปดี เนื่องจากโทสะความโกรธมี มาก นางจงึ ไดว้ างอุบายท�ำ ทวี า่ ออกจากวงั ไปหาญาติ แล้ว จ้างคนไปเผาวังส่วนท่ีพวกผู้หญิงอยู่จนไหม้หมด ทำ�ให้ ผู้หญิงทุกคนรวมท้ังสามาวดี ขุชชุตตราและนางสนม ทั้งหลายตายหมด เร่ืองนี้ทำ�ให้พระบางรูปเป็นทุกข์มาก ดว้ ยความสงสาร พระหลายรูปกราบทลู ถามพระพุทธเจา้ ด้วยความสงสยั ว่า ทำ�ไมจึงเปน็ เช่นนนั้ พระพุทธองคท์ รง ปลอบใจว่า พวกผู้หญิงในวังที่ตายไปน้ัน ไม่มีปุถุชนแม้ เพียงคนเดียว ล้วนเป็นพระอริยเจ้าทั้งหมด อย่างต่ำ�สุด กเ็ ป็นโสดาบนั เป็นสกิทาคา เปน็ อนาคา ทรงวา่ สามาวดี “ร่างกายตาย แต่ไมต่ าย” ส่วนมาคนั ทิยะ“ยงั มีชวี ติ อยแู่ ต่ เหมอื นตาย” ชยสาโร ภกิ ขุ 95
พระพุทธองค์ทรงยกธรรมบทเรื่อง “ความประมาท เป็นทางไปสู่ความตาย ความไม่ประมาทเป็นทางไป สู่อมตะ” คนที่ประมาทเหมือนกับตายแล้ว คนท่ีไม่ ประมาทไม่มีวันตาย นางสามาวดีเป็นอนาคามี ไปอยู่ พรหมโลกช้ันสุทธาวาส และจะบรรลุอรหันตท์ ่นี ัน่ คือไม่ ตาย ส่วนมาคันทิยะยังมีชีวิตอยู่ แต่ได้ตายไปแล้วจาก คุณธรรม และจะต้องตกนรกเป็นเวลานาน หลังจากเกิดเรื่อง พระเจ้าอุเทนทรงเป็นทุกข์อาลัย ภรรยาที่รัก ใครหนอท่ีกล้าทำ�เยี่ยงน้ีได้ ในใจก็คิดว่าน่า จะเป็นมาคนั ทยิ ะ แตจ่ ะทำ�อยา่ งไรใหน้ างสารภาพ จงึ ทรง ปรึกษาเหล่าอำ�มาตย์ ออกอุบายให้อำ�มาตย์ถามข้ึนว่า “โอ.้ ..ใครหนอกล้าท�ำ เรอ่ื งเช่นน้ีไดน้ ะ” แลว้ พระเจา้ อุเทน ทรงตอบว่า “คงจะเปน็ คนทร่ี ักเรามากๆ จงึ กล้าท�ำ ” มาคันทิยะถึงได้ลืมตัวโพล่งออกมาว่า “ฉันนี่ แหละทำ�” 96 อักษรส่อสาร
พระเจ้าอุเทนจบั นางไปทรมานกอ่ นจะประหารชีวติ แล้วนางกต็ กนรกไป ทรงทำ�ไปเพื่อแก้แค้น แล้วจึงคิดได้ ว่า ถ้าสามาวดีรู้ว่าเราทำ�อย่างน้ี นางคงจะไม่รู้สึกพอใจ เพราะนางไมเ่ คยโกรธใคร พระเจ้าอุเทนรสู้ ึกเสยี ใจ จึงได้ ปฏบิ ตั ิธรรมมากขนึ้ น่ีก็เป็นเร่ืองผู้หญิงเก่งท่ีชื่อ สามาวดี และ ขชุ ชตุ ตรา ถ้าใครสนใจศึกษาธรรมะที่ขุชชุตราได้บันทึกไว้และ ได้เลา่ ให้ สามาวดแี ละบริวารในวงั ฟงั ก็ใหด้ ทู ่ีอติ ิวตุ ตกะ ในพระไตรปฎิ ก พระพทุ ธองค์ทรงยกยอ่ งสามาวดวี ่า ใน บรรดาอบุ าสกิ าทงั้ หลาย นางเป็นผู้เลศิ ในทางเมตตา เปน็ ผูม้ เี มตตาสงู ยง่ิ ฉะนนั้ เราทุกคนกเ็ ช่นกัน เมื่อจะปฏิบตั กิ พ็ ยายาม ใหเ้ ปน็ ผู้เลศิ เหมอื นกนั พยายามให้มันเลิศ พยายามให้ มนั ประเสริฐ ชยสาโร ภิกขุ 97
-เมตตาธรรมเป็นสิ่งที่ท�ำ ให้จติ ใจเราไมค่ บั แคบ -เมตตาธรรมเปน็ สง่ิ ทที่ ำ�ใหจ้ ิตใจเราเยือกเย็น -เมตตาธรรมเปน็ ธรรมท่ีขจดั ความโกรธ ขจดั โทสะ ได้สนิ้ เชิง พระพุทธองค์ให้ความสำ�คัญกับการเจริญเมตตา ภาวนามาก ทรงว่าเมตตาภาวนาเป็นไปเพ่ือความเจริญ ถา่ ยเดียว เมตตาน�ำ ไปส“ู่ มรรคผลนิพพาน” อย่าไปกลัว ว่า การแผ่เมตตาหรือการเจริญเมตตา จะได้แต่ความสุข พระพุทธองค์ทรงว่า ความสุขที่เกิดจากการเจริญพรหม วิหารเป็นความสุขที่เป็นไปเพ่ือนิพพิทา เพ่ือการปล่อย วางกิเลส เป็นไปเพ่อื “มรรคผลนพิ พาน” ท�ำ ให้เราฉลาด ในการแผ่เมตตา ฉลาดในการเอาชนะความโกรธ ในเร่ืองนี้พระพุทธองค์ทรงให้คำ�แนะนำ�และให้ อุบายมากมาย ถ้าเราอยู่กับคนที่ความประพฤติไม่ดีหรือ นา่ เกลยี ด แตก่ ารพดู การจาค่อนข้างดี เราจะแผเ่ มตตาให้ 98 อกั ษรสอ่ สาร
เขาได้ไหม ในกรณนี ้พี ระพุทธองคท์ รงแนะนำ�ว่า อยา่ ใสใ่ จ หรือไปเพ่งโทษจับผิดในส่วนที่ไม่ดีของเขา ให้เราคิดถึง ส่วนที่ดขี องเขาซ่ึงก็คือ วาจาทเ่ี รยี บร้อยใชไ้ ด้ ทา่ นเปรียบ ว่าเหมือนกับพระเดินธุดงค์ ต้องการผ้าทำ�จีวร เม่ือเห็น ผ้าบงั สกุ ลุ ซึง่ เปน็ ผ้าสกปรก ท่านบอกวา่ ใหใ้ ชเ้ ทา้ ซ้ายกด ลงบนผา้ ใช้เทา้ ขวาคล่ผี า้ แลว้ ฉกี ออกเฉพาะสว่ นทีใ่ ชไ้ ด้ ปล่อยส่วนที่ใช้ไม่ได้ท้ิงไว้ ท่านว่า เหมือนคนท่ีมีความ ประพฤติไมด่ ีน้ัน เราไมต่ ้องไปคดิ มาก ส่วนท่ีไม่ดี เรากไ็ ม่ เอา เอาแตส่ ่วนที่ดี เพอื่ จะแก้โทสะในใจของเรา บางคน การกระทำ�ดี แต่การพูดไมด่ ี พูดไมน่ า่ ฟัง พดู หยาบ ท่าน ก็วา่ อยา่ ไปใสใ่ จ อยา่ ไประคายเคอื งกบั ค�ำ พูดไม่ดีของเขา ให้ปล่อยมันไป เอาแต่ส่วนที่ดีของเขาไว้ ความประพฤติ ทคี่ ่อนข้างจะดีบางอยา่ งของเขา เช่น เขามคี วามเอื้อเฟอ้ื เผอ่ื แผ่ เป็นตน้ พระพุทธองค์ทรงเปรยี บเทียบว่า เหมอื นกับเราเดนิ ทาง ทัง้ ร้อนทั้งหิวกระหายอยากดื่มน�้ำ แตเ่ มอ่ื ไปถงึ สระน�ำ้ ชยสาโร ภกิ ขุ 99
กพ็ บวา่ มีสาหร่ายและพืชตา่ งๆ สีเขยี วๆ ปกคลุมน�ำ้ ไวจ้ น มดิ แล้วเราจะใช้วิธอี ย่างไร เราก็ใช้มอื แหวกพวกสีเขียวๆ ออกไป กระพมุ่ มือแล้ววกั น้�ำ ขนึ้ ดื่ม ท่านเทยี บว่า คนที่ การกระทำ�ดี แต่การพูดไม่ดี ก็เหมือนพวกสาหร่ายและ พืชสีเขียวๆ ที่ปกคลุมน้ำ�สะอาดที่อยู่เบื้องล่าง ท่านว่า กใ็ หเ้ ราแหวกมนั ออก แล้วเอาแตส่ ว่ นทีด่ ีไว้ พระพทุ ธองคท์ รงสอนใหเ้ ราฉลาดในการมอง ทา่ นวา่ บางคนการกระทำ�ไม่ดี การพูดก็ไม่ดี แต่เมื่อได้สังเกตดู กพ็ บวา่ เขายงั มีความคิดที่ดๆี อย่เู ป็นครงั้ คราว บางครัง้ เหมือนกับเขามีความเมตตานิดๆ หน่อยๆ เขายังพอมี ความดอี ยู่บา้ ง ไม่ใชว่ า่ ไมด่ รี อ้ ยเปอรเ์ ซนต์ ฉะนนั้ ทา่ นให้ เราพยายามสงั เกต แลว้ ใหไ้ ปคดิ ยอมรับและ ชื่นชมใน ส่วนทด่ี ขี องเขา พระพุทธองคท์ รงเปรยี บวา่ เหมอื นกับคน เดินทาง ทัง้ ร้อนทัง้ หวิ กระหายอยากดื่มน�้ำ สระน้ำ�กไ็ ม่มี เห็นแต่รอยเท้าวัว ท่ีมีน้ำ�ขังอยู่ในรอยเท้าเพียงนิดเดียว ถ้าจะเอามือไปวักนำ้�หรือใช้ภาชนะอะไรไปตัก ก็คงไม่ได้ 100 อกั ษรสอ่ สาร
เพราะมนี ้ำ�นอ้ ยมาก ถึงจะพยายามตักออกมา น�้ำ ก็จะขนุ่ จนดืม่ ไม่ได้ เราควรทำ�อย่างไรด ี ก็ต้องคุกเขา่ ลง เอามือ ยันไว้ขา้ งหนา้ แล้วก้มหน้าเอาปากลงไป กินน้�ำ เหมอื นวัว กินน้ำ� ท่านเปรียบเทียบเหมือนคนที่เราไม่เห็นว่ามีส่วน ดีเลย การกระทำ�การพดู แยไ่ ปเสียหมด แต่ถ้าเราสังเกตดู ก็ได้เห็นความดีเพียงน้อยนิด ก็ให้เอาความดีนั้นแหละ เหมอื นน�ำ้ นอ้ ยนดิ ทข่ี งั อยใู่ นรอยเทา้ ววั คกุ เขา่ ลง เอามอื ยนั แล้วเอาปากลงกินเหมอื นววั กนิ นำ�้ นน่ั เอง ถา้ เราเจอคนที่ดีทุกอย่าง การกระท�ำ กด็ ี วาจากด็ ี จติ ใจกด็ ี ทา่ นเปรียบว่าเหมือนเราเดนิ ทาง ทง้ั ร้อนทงั้ หิว กระหายอยากด่ืมน้ำ� ได้เจอสระนำ้�ท่ีมีน้ำ�ใสแจ๋ว รอบๆ สระเตม็ ไปดว้ ยต้นไมน้ า่ ร่นื รมย์ ทุกส่ิงทุกอยา่ งดีหมด เรา กล็ งไปทั้งอาบทั้งดืม่ แล้วก็นอนพักผอ่ นสบาย เมื่อเราได้ เจอคนที่ดที ุกอย่าง เราก็ตอ้ งระวังอยา่ ไปอจิ ฉาเขา อยา่ ไปเปรียบเทียบกับเขาแล้วรู้สึกว่าเราสู้เขาไม่ได้ ท่านให้ เรารจู้ ักชน่ื ชมในส่งิ ที่ดีๆน้นั ชยสาโร ภกิ ขุ 101
เราเป็นผู้มกี าย มวี าจา มีใจ เราทุกคนสามารถ พฒั นากาย วาจา ใจของเราใหม้ ีคุณภาพย่งิ ๆ ขนึ้ ไป เพียงแค่ว่าเราได้เกิดเป็นมนุษย์ ก็เรียกว่าเป็นผู้มีบุญ บารมีสูงแลว้ มคี ณุ สมบตั พิ อแลว้ ยิ่งไดเ้ กดิ เปน็ คนไทย อยใู่ นเมืองพทุ ธ มโี อกาสศึกษาปฏบิ ตั ิธรรม พดู ไปก็จะ เหมือนกับยอ แตต่ อ้ งเรียกวา่ มีบญุ มากๆ ระดบั หวั กะทิ เลย นอ้ ยนกั ทจ่ี ะมโี อกาสอย่างนี้ ฉะน้นั ถา้ เรายังมคี วาม รู้สึกขัดข้อง ยังรู้สึกว่า แหม! ชีวิตมันยาก มันลำ�บาก มันต่�ำ ตอ้ ย ก็ใหร้ ู้วา่ ถึงอย่างไรเราก็เปน็ ผู้มบี ุญสงู เรยี กวา่ ถึงจะรู้สึกวา่ ต่ำ� มนั กย็ งั น่าภมู ใิ จนะ เพราะเป็นระดบั ต่�ำ ของระดบั สงู ซึ่งมนั กส็ ูงมากอยแู่ ล้ว ต่�ำ ของสงู ก็ยอ่ มจะดี กว่าสูงของตำ่� ทา่ นใหเ้ รามองอย่างน้ัน ให้เรามีความหวังว่า ไม่มีอะไรที่เราจะแก้ไม่ได้ เพราะทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่านิสัยใจคออะไร ถึงจะรู้สึก ว่าฝงั ลกึ ขนาดไหนก็ตาม สดุ ท้ายแล้วมันกล็ ว้ นเปน็ สงั ขาร มีเกิด มีดับ ไม่ใช่ว่าเมื่อมันเกิดแล้ว ต้องมีมันทุกภพทกุ 102 อักษรส่อสาร
ชาตไิ ป ส่ิงใดมคี วามเกดิ ขน้ึ แล้ว ยอ่ มดบั ไปเปน็ ธรรมดา กเิ ลสทกุ ตวั ที่เราเห็นอยใู่ นใจของเรา มีเกดิ มีดับ น่ีคือ ความหวัง สง่ิ ท่เี ราจะต้องท�ำ คือให้เรารสู้ กึ สลดสงั เวช หรือทด่ี ี คอื ไม่ประมาท ร้วู า่ กิเลสเกิดแล้ว แต่ยังไม่ดบั โอ!้ กิเลสเกิดขึ้นเยอะ ยังดับไม่ได้สักอย่าง เห็นอย่างนี้แล้ว กใ็ ห้ตง้ั ใจปฏิบัติ แตใ่ นขณะเดียวกนั ก็ต้องเตือนสติตนเอง วา่ เกดิ ได้ กด็ ับได้ ไม่มีสง่ิ ใดท่ีเกดิ ไดแ้ ล้วดับไม่ได้ มนั เปน็ ของเกิดของดบั เพียงแตว่ า่ เรายังไปไม่ถึงข้นั นั้นเท่าน้ันเอง เรายังอยู่ในขั้นต่ำ�ของขั้นสูง แต่ไม่เหลือวิสัยที่จะพัฒนา เพอ่ื ยกระดับ คำ�สอนของพระพุทธเจ้าแม้ที่ง่ายท่ีสุดจะลึกซึ้งมาก ยง่ิ ปฏิบตั ิกย็ ่งิ ลกึ ซง้ึ พระพุทธองค์ตรัสไวว้ า่ ท่พี ระตถาคต สอนให้พวกเธอละบาป เพราะเป็นส่ิงที่พวกเธอทำ�ได้ ท่ี พระตถาคตสอนใหพ้ วกเธอบ�ำ เพญ็ กศุ ล เพราะเปน็ สง่ิ ที่ พวกเธอทำ�ได้ ท่ีพระตถาคตสอนให้พวกเธอชำ�ระจิตใจ ของตนให้บริสุทธ์ิผุดผ่อง เพราะเป็นสิ่งที่พวกเธอทำ�ได้ ชยสาโร ภกิ ขุ 103
ถ้าพวกเธอละบาปไม่ได้ บำ�เพ็ญกุศลไม่ได้ ชำ�ระจิตใจ ของตนใหบ้ ริสุทธ์ิผดุ ผ่องไมไ่ ด้ พระตถาคตไม่สอน พระ ตถาคตเลือกสอนสิ่งท่ีเป็นประโยชน์แก่มวลมนุษย์ ส่ิงท่ี พระองค์ไม่สอนมีมากมาย แต่ส่ิงท่ีทรงสอน คือสอนให้ เราเจรญิ ดว้ ยศลี ดว้ ยสมาธิ ด้วยปัญญา เพราะเป็นส่ิงท่ี มนุษย์ทำ�ได้ และเพราะเป็นสิ่งท่ีเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ตอ่ มนษุ ยไ์ มว่ า่ ยคุ ไหนสมัยไหน ฉะน้ัน เราต้องเชอ่ื มน่ั ใน คำ�ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ด้วยการเชื่อม่ันในศักยภาพ ของตนเอง เราไม่จำ�เป็นที่จะต้องปล่อยให้ความผิดพลาด หรือความประมาทในอดีตมาเป็นตัวกำ�หนดอนาคตของ เรา พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ผู้ท่ีเคยประมาทในกาลก่อน แล้วกลับใจ สำ�นึกตัว ไม่ประมาทอีกต่อไปนั้น มีความ งดงามเสมือนพระจันทร์เต็มดวงท่ีโผล่พ้นจากเมฆ ฉะน้ัน ถ้าพระจันทร์เต็มดวงของเราถูกเมฆปิดบังเอาไว้ เราก็จง ปฏบิ ตั ใิ ห้มันพ้นจากเมฆเสยี เรายอ่ มท�ำ ได้ เราทกุ คนท่ี 104 อกั ษรสอ่ สาร
เคยทำ�ผิดบาปสามารถกลับใจได้ จงเรียนรจู้ ากอดีต แลว้ ปลอ่ ยวางอดีต เพอ่ื สรา้ งอนาคต ด้วยการตง้ั อกตั้งใจอยู่ ในปัจจุบัน ใหเ้ ราค่อยๆ ดูจิตใจของเรา เวลาจิตใจของเราข้เี กยี จ ข้ีคร้าน ก็ต้องพยายามนึกไปในทางที่จะทำ�ให้มีกำ�ลังใจ ถ้าจติ ใจของเรามีก�ำ ลงั ใจมากเกินไป ฮกึ เหิม หรอื วา่ เครยี ด ต้องรูจ้ กั ผอ่ นคลายบ้าง หาทางสายกลาง หาความพอดี ใหพ้ อดพี องาม ถา้ ขเ้ี กยี จขค้ี รา้ น ตอ้ งสอนตวั เองวา่ ถา้ ไม่ บรรลกุ บ็ รรลยั แตถ่ า้ เครยี ดจนเกนิ ไป จะคดิ อยา่ งนน้ั ไมไ่ ด้ ตอ้ งสอนตวั เองว่า ถงึ จะยังไม่บรรลุก็จริง แตก่ ย็ งั ดที ี่ไม่ บรรลยั ให้หาความพอดสี �ำ หรบั ตวั เอง ปรับความรู้สึกไป เร่ือยๆ ใหอ้ ยู่บนเส้นทางทพี่ อเหมาะพอดกี บั เรา เพอื่ จะ ได้เจรญิ กา้ วหนา้ ในทางธรรมตอ่ ไป ชยสาโร ภกิ ขุ 105
ฐ.ฐาน ค�ำ วา่ ฐานหรือฐานะ ปรากฏในพระคัมภรี ์ บ่อยๆ และเป็นหลักการที่สำ�คัญมาก ซึ่งญาติโยมคงจะ คุ้นเคย ในการประพฤติปฏิบัติของเรานั้น อาตมาขอเน้น วา่ ไตรสกิ ขา แตล่ ะขน้ั ทำ�หนา้ ที่เปน็ ฐานของขนั้ ทส่ี งู ขึ้นไป ถ้าหากว่าฐานไม่มั่นคง สิ่งท่ีเราก่อสร้างบนฐานนั้นย่อมจะ ไมม่ นั่ คงดว้ ย และมักจะพังทลายได้งา่ ย ในการเจรญิ สมาธภิ าวนา เราต้องมีฐาน คอื ศลี ซ่งึ เป็นเรื่องท่ีเราพูดกันบ่อยๆ แต่ในพระพุทธศาสนาบาง นิกาย โดยเฉพาะฝ่ายมหายาน ยังไมค่ อ่ ยจะยอมรับในเรอื่ ง นสี้ กั เท่าไหร่ โดยให้เหตผุ ลว่า ไมจ่ ำ�เป็นต้องจกุ จกิ จู้จ้ดี ว้ ย สิกขาบทตา่ งๆ เพยี งขอให้เรามีสติก็พอแล้ว เพราะถา้ มสี ติ แลว้ กาย วาจากจ็ ะเรียบรอ้ ยไปเอง หากกังวลเรือ่ งศลี มาก จิตใจจะอดึ อดั ไม่ปลอดโปร่ง จิตใจจะไม่เปน็ ธรรมชาติ น่คี ือ ทัศนคติของครูบาอาจารย์สายมหายานบางองค์ สว่ น ฝา่ ย เถรวาทของเราบอกว่า ถ้ามีสติที่ดีถึงขนาดน้ันก็ย่อมเป็น 106 อักษรส่อสาร
เชน่ นนั้ ได้ แตน่ า่ กลัววา่ โดยทว่ั ไป สติของเราจะไมถ่ งึ ระดับ นนั้ และทกุ คร้งั ทมี่ ีกิเลสมาย่วั ยวน เราก็จะลมื ลืมเปา้ หมาย ของตัวเอง ลมื หลักการของตัวเอง สติก็จะหาย และกวา่ สติ จะคนื กลับมา เรากม็ กั จะไดท้ �ำ ไดพ้ ูดส่ิงท่ไี ม่ดีไมง่ ามออกไป เสียแล้ว ครูบาอาจารย์ท่านจึงเน้นนักเน้นหนาในเรื่องศีล ให้เราเป็นผู้ที่อย่ใู นกรอบของศลี ธรรม ผลท่ีเกิดจากการไม่รักษาศีลคือ เราจะไม่เป็นท่ี เคารพนับถือของผู้อ่ืน และ เราก็จะเคารพนับถือตัวเองไม่ ได้ด้วย ถ้าความผิดพลาดหรือสิ่งไม่ดีไม่งามที่เราทำ�เป็น สิง่ ผิดกฎหมาย เราจะต้องถูกลงโทษ หรอื ตอ้ งเครียดกังวล กลัวจะโดนจับได้อยู่ตลอดเวลา ถ้าไม่ถึงข้ันผิดกฎหมาย หากเปน็ เร่อื งท่ีเรารสู้ ึกว่าเราจะเสยี หน้าถา้ คนอนื่ ทราบ เรา ก็จะเครยี ด อึดอัด และกลวั ว่าคนอน่ื จะรคู้ วามลบั ของเรา ถ้าเราทำ�ความช่ัวบางอย่างแล้วม่ันใจว่าไม่มีใครรู้ เรารู้อยู่ คนเดยี ว แตเ่ ราก็เป็นคนเหมือนกนั มคี นมากมายทท่ี �ำ ความ ผิดโดยไม่มีใครรู้ แตน่ านๆ ไปกลบั ทนไมไ่ ด้ ต้องระบายและ ชยสาโร ภิกขุ 107
เปิดเผยกบั คนอนื่ เพราะการเก็บเรือ่ งนนั้ ไว้คนเดียวมนั หนกั เกินไป ในทสี่ ดุ แล้วกต็ อ้ งเปิดเผยความจริง คนทศุ ีลจะไม่อยากฟงั เทศน์ เพราะไม่อยากจะคิดถงึ ส่งิ ท่ีไม่ดที ่ตี ัวเองท�ำ ไว้ อยากจะลมื มันเสยี ถ้าฟงั เทศนก์ ็กลวั ว่าพระท่านจะเทศน์เร่ืองความไม่ดีของตัวเอง ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนใจขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ฉะนั้นผู้ทุศีลหรือผู้ ที่เคยทำ�บาปจะห่างเหินวัด อาจจะเอาแค่ใส่บาตรบ้างโดย ไม่ต้องฟังเทศน์ ไม่ต้องรับฟังข้อคิดและคำ�สอนจากพระ เขามักจะเข้าวัดในลักษณะผิวเผิน เพียงแค่ว่าเอาของไป ทำ�บุญหรือไปฝากไว้ แล้วกลับบ้านไปเลย กลัวความจริง กลัวธรรมะ เพราะในใจของเขามีสิ่งทีไ่ มด่ ี มสี ิง่ ทไ่ี มใ่ ช่ธรรมะ นี่คือโทษของการผดิ ศลี เรยี กวา่ ไมม่ ฐี านทจ่ี ะรองรับสิ่งที่ดี ในการทำ�สมาธิภาวนา เราต้องเป็นเพ่ือนกับตัวเอง ต้องเคารพนับถือตัวเอง และต้องยอมอยู่กับตัวเอง โดย ไม่มีสิ่งใดมากระตุ้นจิตกระตุ้นอารมณ์ ไม่ต้องกลบเกลื่อน ความจริงโดยอาศัยความสนุกสนานจากภายนอก ฉะนั้น 108 อักษรสอ่ สาร
ถา้ เรารู้สึกวา่ ตวั เองไม่ดี ไม่อยากอยู่กบั ตวั เอง สมาธิจะเกดิ ได้อย่างไร ทา่ นจึงกล่าววา่ ศลี เป็นฐานของสมาธิ และใน ทำ�นองเดียวกัน สมาธิเป็นฐานของปัญญา ทำ�ไมจึงเป็น เช่นนั้น เป็นไปไม่ได้หรือที่เราจะไม่ใช้สมาธิเลย จะใช้แต่ ความคดิ และความฉลาดในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของตวั เอง บางคน อ่านหนังสือมากจนรู้ทุกสิ่งทุกอย่างแล้ว ยังจำ�เป็นต้องน่ัง สมาธิด้วยหรือ ความสำ�คัญหรือความจำ�เป็นของสมาธิอยู่ ทีว่ ่า สมาธิท�ำ ใหจ้ ิตใจนง่ิ แน่วแน่ มั่นคงอยูใ่ นปัจจบุ ัน นัก ปราชญ์ท่านหน่ึงเปรียบจิตใจของเรากับมีด ท่านว่าปัญญา เหมือนความคมของมีด ส่วนสมาธิเหมือนนำ้�หนักของมีด ถา้ มดี มีแต่ความคม ไมม่ ีนำ้�หนัก มนั จะตัดไม่ลึก ถ้ามีนำ้� หนักแต่ไม่มีความคม มนั กต็ ัดไม่ขาด ฉะน้ัน สมาธจิ ึงมีความ สำ�คัญในการเตรียมจิตใจให้ได้ใช้ปัญญาอย่างคล่องแคล่ว และได้ผล ถ้าจิตใจขาดสมาธิ ปัญญาก็มักจะเป็นปัญญา ระดับความคิด ซงึ่ ไม่มีพลงั พอทจ่ี ะถอดถอนกิเลสได้ ศลี เป็นฐานของสมาธิ สมาธิเป็นฐานของปัญญา ปัญญา ชยสาโร ภกิ ขุ 109
เป็นฐานของการหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่นทั้งหลาย นี่เป็นหลักการสำ�คัญของเรา หลายปีมาแล้วมีอุบาสิกาชาวสเปนคนหน่ึงมาปฏิบัติ ธรรมที่น่ีพร้อมสามี ตัวอุบาสิกาปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจัง มาก ดูเครียด แล้วออกอาการบ้าคลั่ง อย่างที่ได้กล่าวมา แล้วว่า สมยั นน้ั คนชอบพูดว่านง่ั สมาธแิ ลว้ จะเปน็ บ้า ซ่ึงการ พูดอย่างน้ีบาปนะ เพราะมีส่วนทำ�ให้คนไม่กล้านั่งสมาธิ ตอนนั้นอาตมาอยู่วัดมาสัก ๒๐ ปี ได้เห็นคนที่มาปฏิบัติ แล้วเปน็ บา้ หรอื คลง่ั ๒-๓ คนเท่านนั้ ซึ่งหนึ่งในน้นั คอื ผู้หญงิ สเปนคนน้ี ต่อมาจึงทราบว่า ที่เป็นบ้าจากการนง่ั สมาธิน้นั มีเหตุปัจจัยมาจากเร่ืองในอดีตสมัยที่เป็นนักศึกษา เขาอยู่ ในกลุ่มก่อการร้าย วางระเบิดในเมืองมาดริดและเมือง บาเซโลน่า ซ่ึงในสมยั เผด็จการของสเปนน้ัน ถือวา่ เป็นการ กระท�ำ ท่ีมเี หตุมีผล เปน็ การตอ่ ส้เู พอ่ื ประชาชน แต่ภายหลงั เม่ือคดิ ถึงคนทตี่ ายไป เขากร็ สู้ ึกวา่ ตวั เองท�ำ ความผดิ สมอง บอกว่าทำ�ด้วยเจตนาดี ทำ�ด้วยความต้ังใจช่วยผู้อ่ืนให้พ้น 110 อกั ษรส่อสาร
จากเผด็จการ แต่ความรู้สึกบอกว่าผิด ความรู้สึกบอกว่า บาป จึงมีความขัดแย้งอยู่ในใจ เป็นความขัดแย้งที่ตัวเอง เก็บกดไว้ไม่อยากยอมรับ เมื่อมาน่ังสมาธิ สิ่งท่ีเก็บกดก็ กำ�เรบิ เกดิ อาการเสยี จริต แลว้ ยงั เกดิ หลงรกั พระองค์หน่ึง ถึงกับบุกขึ้นกุฏิท่าน ทำ�ให้พระเกือบแย่ ต้องเรียกปะขาว มาช่วยพาไปโรงพยาบาลศรีมหาโพธิ์ โชคดีวา่ ไมเ่ ป็นมาก โรงพยาบาลชว่ ยได้ทนั ฉดี ยารักษาสัก ๕-๖ วัน จนเปน็ ปกติ จึงไดก้ ลบั บ้าน ท่านจงึ วา่ เราท�ำ ความผิดอะไรไว้ อยา่ ปิดบังอ�ำ พราง ตอ้ งเปดิ เผย เพราะถา้ ไมเ่ ปิดเผยแลว้ มันจะเน่า มันจะเป็น ปัญหาและเป็นอุปสรรคในการประพฤติปฏิบตั ิ บางคนอาจ เขา้ ใจวา่ ถา้ เป็นพระอรยิ เจา้ แลว้ จะไม่มกี ารท�ำ บาป แตพ่ ระ อริยเจ้าระดับต้น คือ พระโสดาบันนน้ั ทา่ นยงั อาจทำ�ผิดวินยั บ้างหรอื ท�ำ บาปได้ แตไ่ ม่ใช่เร่อื งหยาบคายรา้ ยแรง เปน็ เพยี ง บาปเล็กๆ น้อยๆ แต่ถ้าท่านได้ทำ�ผดิ ศีลไปแลว้ เอกลกั ษณ์ หรือธรรมชาติของพระอริยเจ้าคือ ท่านไม่สามารถหรือไม่ ชยสาโร ภิกขุ 111
เคยคดิ ทจ่ี ะปดิ บงั อ�ำ พราง ทา่ นตอ้ งรบี ช�ำ ระดว้ ยการไปเปดิ เผย กบั กลั ยาณมติ รหรอื ครบู าอาจารย์ ฉะนั้นที่ว่าศีลบริสุทธิ์นั้น ไมไ่ ดห้ มายความวา่ บรสิ ทุ ธม์ิ าโดยตลอด ไมเ่ คยท�ำ บาปเลย อยา่ งน้คี งหาไดย้ ากในโลกนี้ แตเ่ มอื่ เราท�ำ ความชว่ั หรอื ท�ำ สิ่งท่ีไม่ดีแล้ว กใ็ ห้เราเปิดเผย ไม่ตอ้ งแก้ตัว ไม่ตอ้ งเขา้ ข้าง ตัวเอง ใหย้ อมรับวา่ ตัวเองผดิ เปดิ เผยความผิดนัน้ แล้ว ตงั้ ใจว่าจะไมท่ �ำ อย่างนน้ั อีกตอ่ ไป น่ีคือการชำ�ระ ถา้ ได้ท�ำ เช่นนแี้ ล้ว กเ็ รียกวา่ บริสุทธิ์ เรากป็ ลอ่ ยวางได้ ถา้ มบี างสง่ิ บางอยา่ งทเ่ี ราพยายามทจ่ี ะปลอ่ ยวาง แตก่ ็ ปลอ่ ยไมไ่ ด้สักที การท�ำ พธิ ีกรรมอะไรสักอย่างอาจจะชว่ ยได้ เพราะพิธีกรรมมีผลมากทางจิตวิทยา พิธีกรรมที่จะช่วย ท�ำ ใหเ้ รารูส้ กึ ว่า เร่อื งนนั้ ๆ มนั จบลงแล้ว ในกรณีท่ีพระต้อง อาบัตหิ นกั ท่านต้องอยกู่ รรมซึ่งมีขอ้ วัตรปฏิบตั พิ เิ ศษ เช่นไม่ วา่ ท่านบวชมาก่ีพรรษา ทา่ นกต็ อ้ งไปน่งั ปลายแถว แลว้ ถา้ มี พระจากท่ีอ่ืนมา ท่านจะต้องไปสารภาพบาปกับพระเหล่า น้นั ดว้ ย แลว้ ยงั มขี อ้ วตั รปฏบิ ตั ิอน่ื ๆ อกี เมื่อปฏบิ ัตคิ รบถ้วน 112 อกั ษรสอ่ สาร
แล้ว ทา่ นยังต้องเข้าพธิ ีกรรมทเ่ี รียกวา่ ปริวาสกรรม เมอื่ ผ่าน พิธีกรรมนั้นแล้ว จึงจะได้กลับมาเป็นพระปกติอีกครั้งหน่ึง พระท่ไี ด้ผ่านสังฆกรรมเหล่านีแ้ ล้ว จะร้สู ึกวา่ เร่อื งทไี่ ดท้ �ำ ผดิ ไปนัน้ บดั น้มี นั เป็นอดตี เสยี แลว้ ไม่ตอ้ งคิดถงึ อกี ตอ่ ไป ฉะนั้นคนที่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องจิตใจ อาจจะมีอคติต่อ พิธีกรรมต่างๆ ว่าเป็นเปลือกของศาสนาบ้าง เป็นเรื่องไร้ เหตผุ ลบา้ ง เป็นเรือ่ งไมจ่ �ำ เปน็ บา้ ง แท้ทีจ่ รงิ แล้วนกั ปราชญ์ ในอดตี ท่านทราบวา่ พธิ กี รรมมคี วามขลัง ท�ำ ให้เกดิ ความ รู้สึกพิเศษท่ีจะช่วยให้เราได้เปลี่ยนจากสิ่งเก่าไปสู่สิ่งใหม่ เหมือนกบั เราได้ปิดประตแู ห่งอกศุ ลจิต เพอื่ พรอ้ มทจ่ี ะรับ หรือท�ำ ส่ิงที่ดีงามตอ่ ไป นี่คืออานิสงสข์ องพิธกี รรม ฉะนั้น เม่ือเราวางแผนท่ีจะทำ�อะไรในอนาคต เรา ต้องคำ�นึงถึงฐานของสิ่งท่ีเรากำ�ลังจะทำ� ถ้าสถาปนิกไม่ คำ�นึงถึงฐานของอาคารท่ีตนกำ�ลังออกแบบสร้าง คิดแต่ เรื่องความสวยงามของอาคารเป็นหลัก เม่ือสร้างแล้ว อาคารนัน้ อาจจะพงั ทลาย เพราะฐานไมม่ ั่นคง บอ่ ยครั้ง ชยสาโร ภิกขุ 113
ที่คนเรานอ้ ยใจวา่ ท�ำ ดไี มไ่ ดด้ ี นน่ั เปน็ เพราะยงั ไมร่ จู้ กั ความดี หรือยังไม่ฉลาดในการทำ�ความดี หรือทำ�ความดีโดยไม่มี ฐานท่ถี กู ต้อง เอาแต่เจตนาดีเปน็ หลกั ยกตัวอย่างเช่น คน บางคนยังไม่ไดฝ้ กึ อบรมจติ ใจของตนเอง จิตใจยงั ไมเ่ ขม้ แขง็ ยังไม่รู้จักตัวเองดี แต่คิดอยากจะช่วยคนอ่ืน ทำ�ไปทำ�มา เมอื่ เจอโลกธรรม มีคนสรรเสรญิ บา้ ง นินทาบ้าง ก็เกิดกิเลส หรือเมื่อท�ำ ไปแล้ว หากไม่มีวิหารธรรม ไม่มีหลกั ใจในการ ดำ�เนินชวี ติ กร็ สู้ กึ ล้าไปหมด หมดไฟ หมดแรงก�ำ ลัง เสมือน ว่าทำ�งานหนกั เกนิ ไป การไม่มีวิหารธรรม น้นั มีโทษ เรียกวา่ ทำ�ดแี ต่ไม่ร้จู กั ความดี ไม่รจู้ ักฐานของการท�ำ ความดี ผ้ทู จ่ี ะสามารถท�ำ ความดไี ด้อย่างสม่�ำ เสมอ สามารถ สร้างประโยชนผ์ ูอ้ ่ืนได้เตม็ ท่ี คอื ผูท้ ่ีรู้จกั สร้างประโยชนต์ น ควบคู่กับการสรา้ งประโยชนผ์ ูอ้ นื่ ตอ้ งเป็นผู้ท่มี ีสติ มสี มาธิ และมปี ัญญา ถา้ ขาดปญั ญาแลว้ จะมแี ตค่ วามหวัง หวงั ผล หวังให้เปน็ อย่างน้ัน หวังใหเ้ ปน็ อย่างนี้ เมื่อมันไมเ่ ป็นอยา่ ง ที่หวงั ก็หมดก�ำ ลังใจ เบอื่ หนา่ ย อยากจะเลิกท�ำ ฉะนนั้ ไม่ว่า เราจะมโี ครงงานอะไรก็ตาม ไมว่ า่ จะทางโลกหรอื ทางธรรม 114 อักษรส่อสาร
ให้ถามตวั เองวา่ อะไรคือฐานทตี่ ้องการในเร่ืองนี้ เมอ่ื มีฐาน ทม่ี ั่นคงแลว้ เราจงึ ค่อยๆ ท�ำ ไป หากเราใจร้อน อยากจะ เหน็ ผลเรว็ ผลเรว็ ๆ นั้นคงจะไม่ยงั่ ยืนและคงจะไว้ใจไม่ได้ ค�ำ วา่ ฐาน ที่ปรากฏในคัมภรี ์อีกคำ�หนึ่งคอื ปทสั ถาน แปลเป็นไทยว่า ปัจจยั หรอื ฐานท่ใี กล้ชดิ ที่เราวา่ ศลี เป็นฐาน ของสมาธิ แตฐ่ านที่ใกล้ชดิ ของสมาธไิ ม่ใช่ศีล ฐานใกล้ชดิ ของสมาธิคือความสุข จิตใจของเราจะสงบด่ิงลงไปได้ก็ เมอ่ื มีความสุข สมาธิเกิดข้ึนในจติ ใจทม่ี ีความสขุ ความสขุ เกิดจากปัสสัทธิความผ่อนคลายทางกายทางใจ ปัสสัทธิ เกิดจากปีติ ปตี เิ กดิ จากความปราโมทย์ หรอื กลา่ วทวนได้ ว่า ความปราโมทยเ์ ปน็ ปัจจยั ให้เกดิ ปีติ ปตี เิ ป็นปัจจยั ใหเ้ กดิ ปสั สัทธคิ วามผอ่ นคลายทางกายทางใจ ปัสสทั ธิเป็นปัจจยั ใหเ้ กดิ ความสขุ และความสขุ เป็นปจั จยั ให้เกดิ สมาธิ ความ เข้าใจหรือการเรียนรู้เรื่องความสัมพันธ์หรือการอาศัยกัน ของคุณธรรมต่างๆ จะช่วยให้การปฏิบัติของเราก้าวหน้า ได้เหมือนกัน บางคนกลัวความสุข เพราะเกรงว่าจะหลง เกรงว่าจะติด แต่ถ้าเรากลัวความสุขจนเกินไป สมาธิก็จะ ชยสาโร ภิกขุ 115
ไมเ่ กดิ ความสขุ ทพ่ี ดู ถงึ นค้ี อื ความสขุ ทท่ี า่ นเรยี กวา่ นริ ามสิ สขุ คือความสุขทไ่ี ม่ปนดว้ ยอามสิ วตั ถหุ รอื รูป เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ นิรามิสสขุ เปน็ ความสขุ ทเ่ี กดิ จากความเปน็ หนง่ึ ของจติ หรือเกดิ จากการที่จิตใจไมค่ ิดในสง่ิ ท่เี ศรา้ หมอง อารมณข์ องจิตในระหว่างการฝกึ สมาธิ ทา่ นเรยี กว่า อารมณก์ มั มัฏฐาน ฐานของกรรม กรรมคอื การงาน ฉะนนั้ ในการฝกึ อบรมจติ จะต้องมีท่รี ะลึกของสติ เป็นเคร่อื งรู้ ของจติ สง่ิ นท้ี า่ นเรยี กวา่ อารมณก์ มั มฏั ฐาน การปฏบิ ตั โิ ดย ไม่มีที่ยึดเหนี่ยวหรือไม่มีที่เกาะนั้นย่อมไม่ได้ผล จิตใจ จะลอยๆ ไป แม้ว่าจะสบายบ้าง แต่ก็สบายอย่างขาดสต ิ ขาดสัมปชัญญะ จติ ใจมักจะตกภวังค์ เราต้องมีความตัง้ ใจ ในการเจริญสมาธิ ตอ้ งมีการยกจติ ไปสู่อารมณก์ ัมมฏั ฐาน หมายถึงการตัง้ ใจนึก เชน่ ในกรณที ่เี ราเจริญค�ำ บรกิ รรมว่า พุทโธนั้น การนึก พุทธ การนึก โธ นั่นคือวิตก ส่วนการ รบั รู้หรือการอยูก่ บั พุทธ กบั โธ นีค่ ือวิจารณ์ มวี ิตกวจิ ารณ์ ถา้ ขาดวติ กวจิ ารณใ์ นความหมายน้ี จติ ใจจะงว่ งหรอื ตกภวงั ค์ 116 อักษรสอ่ สาร
ไม่มีทั้งสติ ไม่มีทั้งสัมปชัญญะ จิตใจมืดๆ อยู่อย่างนั้น จงึ จ�ำ เป็นที่เราตอ้ งมฐี าน คอื อารมณก์ มั มัฏฐาน เปน็ เครอื่ ง รูข้ องจิต เปน็ เครื่องระลึกของสติ ซึ่งจะเป็นอะไรก็ไดท้ เ่ี ป็น กุศลหรือที่ไม่ชวนให้จิตใจคิดในสิ่งที่ไม่ดี คอื สมมติว่าเรา โกรธใคร เราไปคิดเร่ืองคนน้ันอย่างตอ่ เน่ือง คิดดว้ ยความ โกรธแค้นใจ ทั้งๆ ที่คิดแต่เรื่องนั้นเรื่องดียว ก็ไม่เรียก ว่าสมาธิ เพราะเป็นความคิดในเรื่องท่ีไม่ดี แม้จิตจะไม่ วอกแวก คดิ อยู่เเต่เรื่องเดียว กไ็ ม่ใช่สมาธิ จะใหเ้ ปน็ สมาธิ ต้องระลึกแต่เรื่องท่ีเป็นกุศลหรือเร่ืองที่เป็นกลางๆ เช่น ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก เร่ืองอารมณ์กัมมัฏฐานน้ัน ไม่ใช่ว่ามีถูกมีผิด ถ้า เป็นกศุ ลหรอื เปน็ กลางๆ ทจ่ี ติ ใจพอใจ ถอื วา่ ใช้ได้ แต่เมอ่ื ได้เลือกกำ�หนดอารมณ์กัมมัฏฐานอันใดแล้ว ท่านสอนว่า อย่าเปลี่ยนบ่อย มิฉะนั้นจิตใจจะจับจด จะไม่เป็นสมาธิ ให้ทำ�ไปเรื่อยๆ อย่างน้อยสัก ๖ เดือนถึง ๑ ปี จึงค่อย คิดจะเปล่ียน ไมใ่ ชว่ ่าท�ำ วัน สองวนั สิบวัน เมื่อรู้สึกเบือ่ ก็ ชยสาโร ภกิ ขุ 117
เปล่ียนใหม ่ เราตอ้ งสรา้ งความเชอ่ื ในอารมณก์ มั มฏั ฐานของ ตวั เอง จึงจะมกี ำ�ลงั ใจ เชน่ เราเจริญอานาปานสติ ก�ำ หนด ลมหายใจเข้าลมหายใจออกเป็นอารมณ์กัมมัฏฐาน ก็ต้อง ระลกึ อยู่วา่ พระพทุ ธองคเ์ องทรงใชว้ ิธนี ้ี พระอรหนั ตพ์ ระ อริยเจ้าจำ�นวนมากนับไม่ถ้วนได้บรรลุธรรมพ้นทุกข์ด้วย การเจริญอานาปานสติภาวนา ระบบลมหายใจของคนใน สมัยปัจจุบันกับคนในสมัยพุทธกาลก็ไม่ต่างกัน ถ้าหากว่า ท่านกำ�หนดลมหายใจเข้าลมหายใจออกจนเกิดความสงบ ร�ำ งับ เกิดดวงตาเหน็ ธรรมได้ ถา้ ทา่ นทำ�ได้ เราก็ย่อมท�ำ ได้ เพราะร่างกายของเราก็ไม่แตกต่างจากร่างกายของท่าน ระบบต่างๆ ของร่างกายกเ็ หมอื นกบั ของทา่ น ท่านหายใจ เข้าหายใจออก เราก็หายใจเข้าหายใจออกเช่นเดยี วกนั ให้ พยายามคดิ ในทางที่จะสรา้ งความเชอื่ มั่นวา่ การก�ำ หนดสติ ไว้กับลมหายใจเข้าลมหายใจออก เป็นวิธีการที่จะนำ�เราไป สคู่ วามดบั ทุกข์ได้อย่างแนน่ อน 118 อกั ษรส่อสาร
เม่อื เราพิจารณาลมหายใจเข้าลมหายใจออก ไม่ต้อง ไปบงั คบั ใหล้ มหายใจยาวหรอื สน้ั เพยี งแคร่ บั รธู้ รรมชาตขิ อง ลมทกุ ขณะจติ ตน้ ลม กลางลม ปลายลม ก�ำ หนดสตอิ ยกู่ บั ลมหายใจตลอดเวลา ท�ำ ไปท�ำ มาลมหายใจจะแผว่ เบา มนั จะละเอียดเข้าๆ ก็ต้องให้สติของเราละเอียดตาม ถ้าไม่ ปรับสติของเราให้พอดีกับความละเอียดของลม จิตอาจจะ ตกภวงั คไ์ ด้ คอื มนั จะเขา้ สสู่ ภาวะมดื ๆ สบายๆ แบบมดื ๆ ไมใ่ ชส่ บายแบบสวา่ งไสว แตห่ ากสตขิ องเราทนั นวิ รณต์ า่ งๆ ความใคร่ในกาม ความพยาบาท ความง่วงเหงาหาวนอน ความฟ้งุ ซ่านรำ�คาญ ความลังเลสงสัยก็จะดับไป และเม่ือ เราตระหนักชัดแน่ว่า นิวรณ์ได้ดับไปแล้ว จะเกิดความรู้สึก ทีด่ ที ี่ท่านเรียกวา่ ความปราโมทย์ เมือ่ ความร้สู กึ นี้เพิ่มขึ้นๆ กจ็ ะเกดิ ปตี ิ ซง่ึ จะตามมาดว้ ยปสั สทั ธิ ความผอ่ นคลายทง้ั กายและใจ จะนง่ั นานชว่ั โมง ๒ ชว่ั โมง ๓ ชว่ั โมง กไ็ มเ่ มอ่ื ยและ ไม่มกี ารเจบ็ ปวดเลย จะสบายและมคี วามสุข ตรงจดุ น้ีแหละ ทเ่ี ปน็ สขุ เปน็ จดุ ทส่ี มาธจิ ะเกดิ ขน้ึ นเ่ี ปน็ เรอ่ื งฐาน ฐ. ฐาน ชยสาโร ภิกขุ 119
ฒ.ผู้เฒ่า ญาติโยมส่วนมากก็จะอยู่ในตัวอักษรน้ี เรยี กว่าเป็นผู้เฒ่า แตก่ ารเป็นผเู้ ฒ่าน้นั ควรตอ้ งเป็นผเู้ ฒา่ ที่ มคี ณุ ภาพมีคุณธรรม พระพุทธเจ้าทรงสอนวา่ ตราบใดทเี่ รา ยงั มชี ีวติ อยู่ เราก็ยังมีโอกาสพัฒนาตนเอง มีโอกาสทจี่ ะละ ส่งิ ที่ไมด่ ี บำ�เพ็ญสงิ่ ท่ดี ี ช�ำ ระจิตใจของตนให้สะอาด เพราะ ฉะน้นั ทกุ คนท่มี ีชวี ติ ควรจะมคี วามหวงั วา่ วนั นี้เราสามารถ ได้กำ�ไรจากความเป็นอยู่ของเรา ไม่ใช่หลงคิดว่า คุณค่า ของตัวเองอยู่ท่ีผลงานทางโลกหรืออยู่ท่ีเรื่องเศรษฐกิจเร่ือง เงนิ เรอื่ งทอง ชาวพุทธเราถือว่า คณุ ธรรมนน่ั แหละเป็นส่ิง ท่มี คี ุณคา่ อยใู่ นตวั ของมนั เป็นสง่ิ ลำ้�คา่ และผทู้ ม่ี ีคณุ ธรรม เหมือนเป็นผู้ประดับโลก สิ่งใดท่ีสวยงาม สิ่งน้ันต้องมี เครอ่ื งประดบั ถา้ ถามวา่ เครอ่ื งประดับมีคุณคา่ อยา่ งไร มัน ทำ�หนา้ ทีอ่ ะไรบ้าง เครื่องประดบั ไมต่ ้องมีหนา้ ที่ มันเพยี ง ทำ�ให้ดูงาม ทำ�ให้ผู้พบเห็นสบายตา คนเราน่ีแม้จะยังไม่ ถึงขั้นอริยมรรคอริยผล แต่เราก็สามารถเป็นคนงาม งาม 120 อกั ษรส่อสาร
ดว้ ยศลี ธรรม งามดว้ ยความสำ�รวม งามดว้ ยความรอบคอบ งามดว้ ยปัญญา ประดบั โลกนใ้ี ห้สวยงาม ทำ�ใหโ้ ลกน้ีน่าอยู่ ทำ�ให้สังคมร่มเยน็ สงั คมใดทผี่ ู้เฒา่ มคี ณุ ภาพ ผูเ้ ฒา่ ไม่ปล่อย ปละละเลยในการพฒั นาตนเอง สังคมนั้นจะนา่ อยู่ แตส่ งั คม ใดที่ผู้เฒ่าปล่อยปละละเลย สังคมนั้นจะมปี ัญหา เชน่ ผูเ้ ฒา่ เรียกรอ้ งให้ลูกหลานเคารพ แตไ่ ม่ท�ำ ตนใหน้ า่ เคารพ คน สมัยใหมน่ ไ้ี ม่เหมือนคนสมยั ก่อน ไม่ใชว่ ่าเหน็ ผ้าเหลืองแล้ว ตอ้ งไหว้ หรือเห็นคนแกต่ ้องเคารพ นีเ่ ปน็ ยุคทคี่ นเนน้ หนกั ไปทางเหตผุ ล ทกุ วันนีเ้ ขาเน้นว่า ถ้าพระไมเ่ รียบร้อย ทำ�ไม ผมจะต้องไหว้ ถา้ คนแก่พดู อะไรไม่มเี หตมุ ีผล ท�ำ ไมผมจะ ตอ้ งยอม เขาจะพูดกนั อยา่ งน้ี ซึ่งก็ดเี หมอื นกัน ทำ�ใหเ้ ราไม่ ประมาท ถ้าเหน็ ว่าคนแก่พูดอะไรแล้วทกุ คนต้องยอม ตอ้ ง เช่อื ฟังหมดทุกสิ่งทกุ อย่าง เราก็จะประมาทได้ ถา้ พระเรา ทำ�อะไรพูดอะไร ญาตโิ ยมตอ้ งยอมทกุ อย่าง ไม่เชน่ น้นั จะ เป็นบาป พระเรากป็ ระมาทไดเ้ หมอื นกนั ชยสาโร ภิกขุ 121
ทางอสี านเรามคี �ำ ทเ่ี ขาพดู ถงึ คนแกว่ า่ แกเ่ พราะกนิ ขา้ ว เฒ่าเพราะอยู่นาน คือ เราอยู่ในโลกนี้ไปเรื่อยๆ มันก็แก่ เฒ่าไปเอง สังขารก็แก่ หูตาก็ไม่ค่อยดีเหมือนแต่ก่อน เดิน กไ็ ม่สะดวก บางทตี ้องใชไ้ ม้เทา้ แต่ก่อนตอนเป็นหนุ่มอยาก จะเดนิ ทางทว่ั โลก ตอนนแ้ี คจ่ ะลกุ จากเตยี งยงั ลกุ ไมค่ อ่ ยไหว คนทเ่ี คยทำ�งานหนัก พออายมุ ากขน้ึ แลว้ กท็ �ำ ไม่ค่อยไหว ผมที่เคยด�ำ สนิท อย่ไู ปอย่มู าก็ขาวขนึ้ ๆ ผวิ หนังกเ็ ห่ียวย่น ไมส่ วยไมน่ ่มิ ไมน่ วลเหมือนแตก่ ่อน น่ีเป็นธรรมดาของความ แกค่ วามเฒ่า ถ้าเราเป็นนักปฏิบัติชาวพุทธ เราจะเห็นว่า เป็นเรื่องธรรมดา และเอาความเป็นธรรมดานี้เป็นข้อคิด เป็นที่เตือนสติ แต่สังคมตะวันตกไม่ได้คิดอย่างนี้ แสดง ให้เห็นว่าเป็นสังคมที่ยังขาดวุฒิภาวะ เพราะคนของเขา กลัวความแก่มาก พยายามสู้ทุกวิถีทางเพื่อจะไม่ให้แก่ คนอยา่ งนีใ้ นเมืองไทยก็มีเหมอื นกัน ต้องผา่ นั่น ดงึ นี่ ท�ำ อะไรต่อมอิ ะไร ยอมเสยี เงนิ มากมาย เพอ่ื จะไดห้ ลอกคนอ่นื วา่ ฉนั ยังไม่แก่ 122 อกั ษรสอ่ สาร
ในสายตาของนักปฏิบัติ คนที่พยายามหลอกคนอ่ืน วา่ ฉันไมแ่ ก่ ทงั้ ๆ ที่แกน่ ี่ น่าสมเพชยิง่ กว่าคนที่ปล่อยตัวเอง ใหแ้ ก่ไปตามธรรมชาตขิ องรา่ งกาย ทำ�ไมเราจะตอ้ งไปสกู้ บั ธรรมชาติ ควรปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติสิ คุณค่า ของเราไมไ่ ดอ้ ยู่ที่หนา้ ตา หากมนั อยทู่ ่ดี ้านใน เม่อื เราแก่ ก็ ไม่ใช่ว่าสติปัญญาหรือความคิดความอ่านจะต้องเสื่อมไป ด้วยเสมอไป อาตมาขอยกตัวอย่างท่านอาจารย์พุทธทาส และหลวงพ่อปญั ญาทวี่ ัดชลประทาน ทา่ นอายมุ ากแต่ความ จำ�และสตปิ ัญญาของท่านยังดี ก่อนทีห่ ลวงพอ่ พุทธทาสจะ มรณภาพ ทา่ นอายุมากแลว้ และปว่ ยมากดว้ ย แตส่ ตปิ ัญญา ของท่านก็ยงั แหลมคมเชน่ เดิม เพราะทา่ นเป็นผู้ขยันในการ ฝึกจิต ทา่ นเปน็ ผ้ทู ม่ี คี วามสุขในการพัฒนาทางจิตใจ ฉะน้นั แมส้ งั ขารของทา่ นได้เสือ่ มไปตามธรรมชาติของมัน แต่จิตใจ ของท่านไม่เสอ่ื ม ท่านไดพ้ สิ ูจนใ์ หพ้ วกเราไดเ้ ห็นวา่ ความ เส่ือมทางร่างกายนั้นเป็นเร่ืองที่ช่วยไม่ได้ แต่ความเสื่อม ของจติ ใจเปน็ เรอื่ งทหี่ ลีกเล่ยี งได้ ถ้าหากว่าเราฉลาด และมี ความตงั้ ใจทจ่ี ะดูแลรกั ษาจติ ใจของเราไว้ ชยสาโร ภิกขุ 123
เมอ่ื ปที แ่ี ลว้ ทฝ่ี รง่ั เศสมกี ารเกบ็ สถติ เิ รอ่ื งโรคอลั ไซเมอร์ ผลปรากฏวา่ กลุ่มคนท่เี ปน็ โรคอัลไซเมอร์นอ้ ยที่สดุ คือพวก แม่ชี นักวจิ ัยสรปุ ว่า ทเี่ ป็นอยา่ งน้นั เพราะพวกแม่ชีตอ้ งทอ่ ง คำ�สวดทกุ วนั ถา้ พวกเราท้งั หลายตอ้ งการใหส้ มองของเราดี ก็ใหท้ อ่ งคำ�บาลี ทอ่ งคำ�สวดทกุ วนั ๆ วนั ละเลก็ วนั ละนอ้ ย เปน็ การฝึกสมอง ผูเ้ ฒา่ ทั้งหลายควรต้องส�ำ รวมระวงั จะตอ้ งระวังอะไร ก็ระวงั ที่จะไมห่ งดุ หงดิ ลกู หลานและคนรอบขา้ ง ถา้ เราคาด หวังให้เขาทำ�ทุกส่ิงทุกอย่างดีเท่าที่เราต้องการหรือเท่าที่เรา เคยทำ� เรากต็ อ้ งรสู้ กื รำ�คาญเป็นธรรมดา ฉะนั้น เมอ่ื เราอายุ มากแล้ว เราต้องมีเปา้ หมายในการปฏบิ ตั ิ อย่างน้อยๆ เช่น เราจะไม่รำ�คาญ ไม่หงุดหงิด ไม่พดู เพ้อเจ้อ ไมพ่ ดู ซ�ำ้ ซาก เราตอ้ งมสี ติ ไมใ่ ชเ่ อาแต่พดู เรอ่ื งเก่าทุกวนั ๆ ต้องพยายาม อยู่ในปัจจุบัน จิตใจจะได้สดชื่น มันเป็นธรรมดาของคน สูงอายุ ที่เรื่องเก่าเรื่องแก่จะแจ่มชัดกว่าเรื่องที่เกิดเมื่อ วานน้ีหรือเม่ืออาทิตย์ที่แล้ว เพราะจิตใจจะชอบกลับไปอยู่ 124 อักษรส่อสาร
ในอดตี เราจงึ ตอ้ งพยายามดงึ กลบั มาใหอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั เราไม่ ตอ้ งไปเอาสญั ญาในอดตี เปน็ สง่ิ ปลอบใจหรอื เปน็ ทพ่ี ง่ึ แตท่ า่ น ให้เราเอาสติเอาปัญญาในปัจจุบันเป็นท่ีพึ่งจะดีกว่า แล้ว ใหเ้ ราระลกึ อยใู่ นเรอ่ื งความเกดิ ความแก่ ความเจบ็ ความตาย อย่างสม่�ำ เสมอ จติ ใจเรากจ็ ะเปน็ ปกตแิ ละมคี วามสขุ แม้ รา่ งกายอาจจะมคี วามเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย เรากจ็ ะทนได้ ท�ำ ใหเ้ หน็ วา่ เปน็ เรอ่ื งธรรมดา ไมเ่ ปน็ ไร สว่ นคนทไ่ี มป่ ฏบิ ตั ิ จะหงดุ หงดิ ไมช่ อบนน่ั ไมช่ อบน่ี ไมอ่ ยากใหเ้ ปน็ อยา่ งนอ้ี ยา่ งนน้ั เวลาไม่ สบายนดิ ๆ หนอ่ ยๆ กก็ ลวั ตอ้ งวง่ิ ไปเอายา ยาเมด็ ไมท่ นั ใจ ก็ต้องใช้ยาฉีด เห็นว่าการฉีดยาน่ีดี แล้วบ้านเราก็บ้าเร่ือง ฉีดยา เปน็ อะไรเลก็ อะไรน้อยกต็ ้องวิง่ ไปฉดี ยา ทง้ั ๆ ทกี่ าร ฉีดยานถ่ี ้าฉีดบอ่ ยๆ กเ็ ป็นอันตรายเหมอื นกนั พระพุทธองค์ตรัสว่า คนท่ีอยู่ในโลกนี้แม้เพียงแค่วัน เดียวหรือปีเดียว แต่มีโอกาสได้ทำ�คุณงามความดี ได้ช่วย เหลอื เพื่อนมนษุ ย์ ไดส้ รา้ งประโยชน์แกส่ ังคม แก่ชุมชน และ แกค่ รอบครัว ชีวิตของเขานั้นมคี วามหมายยงิ่ กว่าคนทอี่ ยู่ใน โลกถึงร้อยปี ด้วยความเห็นแกต่ วั หรอื เอาแต่ความสุขสบาย ชยสาโร ภิกขุ 125
ของตนเปน็ หลกั ส�ำ คญั สนใจแต่ตวั เอง ขอใหต้ ัวเองมคี วาม สุขให้มาก โดยไม่สนใจผู้อ่ืนเลย คนเย่ียงนี้ถึงจะอยู่ในโลก ๑๐๐ ปี ๒๐๐ ปี ก็ไม่เกิดประโยชน์ ไม่ได้สร้างคุณธรรมอัน ใดให้เกิดขึ้น ฉะน้ันจึงไมใ่ ช่วา่ คนเรามีอายยุ นื แลว้ มนั จะดี เสมอไป อายุท่ีเป็นมงคลน้ันต้องประกอบด้วยการบำ�เพ็ญ คณุ ธรรมและประโยชน์ ท้ังเพ่อื ตนเองและผูอ้ น่ื อาตมาเคยรับนิมนต์ไปฉันที่บ้านหลังหนึ่งในเมือง อุบล ไปกับพระผู้ใหญ่รูปหน่ึง เห็นคุณยายคนหนึ่งน่ังรับ น�ำ้ มนตด์ ้วยความยินดี เม่ิือเสร็จพิธแี ล้ว ขณะที่เดนิ ออกไป พระผู้ใหญ่ท่านทักยายคนน้ีว่า ยายอายุเท่าไหร่แล้ว ยาย ก็วา่ ๙๒ เจ้าค่ะ ทา่ นจึงใหพ้ รให้มีอายถุ งึ ๑๒๐ เดอ้ ยายก็ สา....ธุ ดใี จมากท่พี ระอวยพรใหอ้ ยูไ่ ดถ้ งึ ๑๒๐ ปี อาตมาเอง คดิ ว่า ขนาด ๙๒ ปกี ็ยงั ไมพ่ อยงั ไม่อ่มิ นะ ยังพอใจจะเอาอีก ต้ัง ๒๐ กวา่ ปี บางคนนไ่ี ด้เท่าไหรก่ ไ็ มพ่ อ หากว่าเรามีเป้าหมายในชีวิต การจะมีอายุอยู่ถึง ๑๒๐ ปกี ด็ เี หมือนกัน ถา้ เราคิดวา่ ขณะนี้เรายงั เปน็ ปถุ ุชนมี 126 อักษรสอ่ สาร
กิเลสอยู่ เรายังไม่ถึงจดุ พอดี ยังไม่ถึงจดุ ปลอดภัย ยังอาจ ตกนรกได้ อาจเกิดเป็นสัตวเ์ ดรจั ฉานได้ เกิดเปน็ ตกุ๊ แก เกิด เป็นงเู หา่ หรอื อาจเกดิ เป็นมดแดงกไ็ ด้ ถา้ เราเผลอท�ำ บาป ทำ�กรรมเม่ือไหร่ เพราะเรายังไม่ถึงขั้นโสดาบัน ถ้าคิดได้ อย่างนี้ ไม่ว่าจะอายุมากเท่าใด เราก็ยังต้องเร่งทำ�ความ เพียร เพื่อเราจะไดพ้ น้ ทุกข์ คนประเภทนี้แหละจงึ จะกลา่ ว ไดว้ า่ อยู่ในโลกนยี้ ง่ิ นานย่ิงดี เพราะเมอ่ื มีการปฏบิ ตั ิ ชวี ติ ยอ่ มมคี วามหมาย แตถ่ า้ เราอยไู่ ปวนั ๆ นอนบา้ ง หลบั บา้ ง ดูทีวีบ้าง คุยเร่ืองเพ้อเจ้อบ้าง ชีวิตเราก็ยังไม่ค่อยมีคุณค่า ชีวิตจะมีคุณค่าก็ด้วยความเพียรพยายาม แม้ร่างกายจะ อ่อนแอก็ไม่เป็นปัญหา เพราะว่าความเพียรไม่ได้อยู่ที่ อริ ยิ าบถ หากอยทู่ จ่ี ติ ใจ ไมว่ า่ จะอายุ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ปี เราก็ ยงั ปฏบิ ตั ไิ ด้ เขาพดู เขาท�ำ อะไรไมถ่ กู ใจ อยากจะวา่ เขา กใ็ ห้ อดทนๆๆ ดูอารมณ์เจ้าของ มันก็แค่อารมณ์ มันก็แค่ นัน้ แหละ เกิดขน้ึ แล้วมนั ก็ดบั ไป แค่นี้กช็ นะไดแ้ ลว้ นค่ี อื การ ปฏิบัตใิ นชวี ติ ประจำ�วนั อยากได้อะไรสกั อย่าง โอ...อยาก ชยสาโร ภิกขุ 127
ได้เหลือเกิน คิดไปคดิ มา แหม...มนั ก็แค่น้นั แหละ จะเอาไป ทำ�ไม ค่อยๆ ปลอ่ ยวาง ให้เราค่อยๆ ระงับความโลภ ระงับ ความโกรธ ระงับความหลงไปเรื่อยๆ นีเ่ รยี กว่าชีวติ ไดก้ ำ�ไร ทุกวัน ถ้าหากวา่ เราปฏิบัตไิ ด้แลว้ เปน็ คนเยือกเยน็ เปน็ คน รอบคอบ เป็นคนละเอียดสขุ มุ เราไม่ตอ้ งไปเรียกใครใหม้ า เคารพเราหรอก เขาจะเกิดความเคารพของเขาเอง แลว้ เขา จะมาปรึกษาหารือเราในเร่ืองต่างๆ เพราะนบั ถือว่าเราเป็น ผู้มีปัญญา เป็นผู้มีประสบการณ์มาก เวลาที่เขากำ�ลังหา ทางออก ไม่รู้จะไปปรกึ ษาใคร เขากอ็ ยากจะปรึกษาผู้ใหญ่ ปรึกษาผูม้ ีความรู้มปี ระสบการณ์ ถา้ เขามาปรึกษาเรา เรา ก็ได้บุญมาก ได้ประสานความใกล้ชิดระหว่างคนแก่กับคน หน่มุ คนสาว ซ่งึ จะช่วยใหห้ ม่บู า้ นเรามน่ั คง การเป็นผู้เฒ่านี้มีทั้งผลดีและผลเสีย สำ�หรับพระ ก็มีเร่ืองราวต่างๆต้ังแต่สมัยพุทธกาล เกี่ยวกับหลวงตาซึ่ง เป็นพระทมี่ าบวชเมอ่ื แก่ ในพระไตรปิฎกพระพุทธองคท์ รง ตรัสว่า เป็นเรื่องลำ�บากเมื่อผู้เฒ่ามาบวชเป็นพระ การจะ 128 อกั ษรส่อสาร
รักษาวินัยให้ดีเป็นเรื่องยาก การกำ�กับให้มีกิริยามารยาท ที่เรียบร้อยก็ยาก การที่จะรับฟังโอวาทก็ยาก การท่ีจะได้ เป็นธรรมกถึกสอนคนอื่นก็ยาก แล้วพระพุทธองค์ยังตรัส ว่า ธรรมชาติข้อที่เด่นมากของหลวงตา คือ การไม่ยอมรบั ฟงั ค�ำ แนะน�ำ หรอื ค�ำ ตกั เตอื น เพราะถอื วา่ ตวั เองรแู้ ลว้ ท่านวา่ ข้อนต้ี อ้ งระมัดระวงั ใหม้ าก อยา่ ไปหลงคิดวา่ เพียงเพราะ เราแก่แล้ว เรายอ่ มรู้มากกว่าผ้ทู ่อี ายุนอ้ ยกว่า เพราะเขาอาจ จะรูห้ ลายๆ เร่อื งมากกว่าเรากไ็ ด้ ยิ่งในกรณีที่มคี นมาต�ำ หนิ หรอื วา่ กลา่ วตกั เตอื น เราตอ้ งรบั ฟงั ดว้ ยดี ไมใ่ หเ้ กดิ ปฏิกริ ิยา ว่าเขาเป็นใครจึงกล้ามาตำ�หนิเรา หลวงตาต้องพยายาม ทำ�ตนเป็นผู้ที่เข้ามาใหม่ ยังมีพรรษาน้อย ถ้าทำ�ได้อย่าง นนั้ จึงจะเรยี กได้ว่าเปน็ ผใู้ หญอ่ ย่างแทจ้ ริง แตถ่ ้าใครมาว่า กลา่ วต�ำ หนแิ ลว้ โมโหโกรธทันที นนั่ เรียกว่ายงั ไม่เป็นผู้ใหญ่ ฉะนน้ั เม่ือเราเปน็ ผเู้ ฒ่าแลว้ กต็ ้องเป็นผใู้ หญด่ ้วย ต้องเปน็ ผู้มีคุณธรรม และการมีคุณธรรมนั้น ไม่ใช่ว่าอยู่เฉยๆก็จะ มเี อง มนั เป็นสง่ิ ทเ่ี ราจะตอ้ งท�ำ ให้เกดิ ข้ึน ชยสาโร ภกิ ขุ 129
ณ.เณร สามเณรทม่ี ชี อ่ื เสยี งมากทส่ี ดุ ในประวตั ศิ าสตร์ ของพระพุทธศาสนา คือ สามเณรราหลุ ซ่ึงเปน็ พระโอรส ของพระพุทธเจ้า มีพระสูตรหลายบทท่ีพระพุทธองค์ทรง อบรมสามเณรราหุล เช่น สมัยที่สามเณรราหุลยังเป็นเด็ก ท่านคุยเล่นกับเพื่อนแล้วพูดเรื่องท่ีไม่จริง พระพุทธองค์ ทรงอบรมโดยชี้แก้วนำ้�ซ่ึงมีน้ำ�สักเล็กน้อยเหลืออยู่ท่ีก้นแก้ว ทรงถามว่า “ราหุล...เห็นน้ำ�ที่เหลืออยู่ก้นแก้วนั้นไม่มากใช่ ไหม” “ใช่พระเจ้าข้า” ทรงสอนว่า ผู้ที่กล้าพูดเท็จหรือพูด เรื่องทีไ่ มจ่ ริงโดยเจตนา ความเป็นสมณะกจ็ ะเหลอื อยเู่ พยี ง นิดเดียว เหมือนกับน้ำ�ที่ยงั เหลอื อย่ทู ่ีก้นแกว้ ใบนัน้ จากนน้ั พระพทุ ธองคท์ รงสาดน�ำ้ ในแก้วน้ันออกไป จนเหลือตดิ แก้ว อยู่ไม่กี่หยด ทรงถามว่า “น้ำ�ท่ียังเหลืออยู่ในแก้วน้อยมาก ใชไ่ หม” พระราหลุ กว็ ่า “น้อยมากพระเจา้ ขา้ ” พระพุทธองค์ ตรัสอีกว่า “นี่แหละ...ความเป็นสมณะของผู้ท่ีกล้าหรือยอม พูดเท็จจะเหลืออยู่แค่นั้น” แล้วท่านได้คว่ำ�แก้วลงจนแทบ 130 อกั ษรสอ่ สาร
จะไม่เหลือน้ำ�อยู่เลย รับสั่งว่า “นี่แหละความเป็นสมณะ ของผู้ทยี่ อมหรือกลา้ พูดเทจ็ ” พระพทุ ธองค์ทรงสอนวา่ การ พูดโกหกการพูดเท็จน้ันเป็นกิเลสท่ีร้ายแรง เพราะสมณะ ที่กล้าโกหกกล้าพูดเท็จนั้น จะกล้าทำ�บาปอ่ืนๆ ได้ทุก อยา่ ง ฉะนั้นจงึ ต้องระวงั ใหม้ าก พระพุทธองค์ถามราหุลวา่ “ราหุล... กระจกเงามไี ว้เพ่ืออะไร” พระราหุลตอบว่า “มไี ว้ เพ่อื ส่องดูพระเจา้ ขา้ ” จงึ ทรงสอนวา่ “เราตอ้ งสอ่ งดูตัวเอง ดว้ ย เอาจติ ใจเปน็ กระจกเงา ก่อนจะท�ำ จะพดู จะคดิ อะไร ต้องส�ำ รวจตรวจตราวา่ ท�ำ เพื่ออะไร พดู เพือ่ อะไร คิดเพื่อ อะไร จิตใจเป็นบญุ หรอื เปน็ บาป” นคี่ อื ตวั อยา่ งที่พระพทุ ธ องคท์ รงอบรมสามเณรราหุล สามเณรทีเ่ กง่ ๆ ในสมัยพทุ ธกาลมมี ากมาย หลายรปู บรรลโุ สดาบัน ที่เปน็ พระอรหนั ต์ก็มี ขณะที่กำ�ลังโกนศรี ษะ เปน็ ครั้งแรกในการบรรพชา ท่านก็รับ ปัญจกัมมัฏฐาน เกศา โลมา นักขา ทนั ตา ตะโจ ขณะก�ำ ลังพิจารณาเกศาอยู่ ก็มีหลายรปู ท่บี รรลตุ อนนน้ั เลยต้งั แตอ่ ายุ ๗ ขวบ สามเณร รูปหน่ึงท่ีบรรลุในลักษณะน้ัน ได้ไปรับใช้ครูบาอาจารย์ ชยสาโร ภกิ ขุ 131
ท่านนอนห้องเดียวกับอาจารย์ แม้จะเพิ่งบรรลุเป็นอรหันต์ โดยไม่ได้บอกอาจารย์ ท่านยังนั่งสมาธิตลอดคืน ขณะท่ี อาจารยห์ ลบั ไปแล้ว เม่ืออาจารยล์ ุกขึ้นตอนตี ๓ ตี ๔ ซ่งึ ยงั มืดอยู่ อาจารย์นึกว่าสามเณรยังไม่ลุก ก็ถือพัดจะไปปลุก สามเณร พดั เกิดท่ิมเข้าตาสามเณร สามเณรไม่ร้องและไม่ พดู อะไรเลย กลบั เอามอื ขา้ งหนง่ึ ปดิ ตาไว้ แล้วใช้มืออกี ข้าง หน่ึงอุปัฏฐากอาจารย์ เอานำ�้ ไปถวายอาจารย์ ดว้ ยมือเดียว อาจารย์ไมช่ อบใจ บอกว่าสามเณรไมเ่ รยี บรอ้ ย การถวายน�้ำ ต้องใช้ ๒ มอื สามเณรจงึ ต้องอธิบายวา่ ท�ำ ไมถวายมอื เดียว อาจารย์จึงรู้สึกละอายแก่ใจ ไม่รู้ว่าลูกศิษย์ได้บรรลุเป็น อรหันต์แลว้ จติ ใจช่างเยอื กเยน็ เหลอื เกนิ ครูบาอาจารยว์ า่ อย่างไรกไ็ ม่โกรธ เพราะกเิ ลสท่านไมเ่ หลือแล้ว สามเณรอีกรูปหนึ่งระหว่างเดินธุดงค์ เห็นควาญ กำ�ลังฝึกอบรมช้าง ก็เกิดความคิดขึ้นมาว่า ถ้าคนเราฝึก ช้างได้ ทำ�ไมจะฝึกจิตใจตนเองไม่ได้ ท่านจึงเกิดกำ�ลังใจใน การปฏบิ ตั ิ จนพน้ ทกุ ขพ์ น้ กเิ ลสไดใ้ นทส่ี ดุ จติ ใจของผ้ทู ี่มคี วาม 132 อักษรสอ่ สาร
พร้อมและสงบแล้ว ไมว่ ่าจะเดินธดุ งค์หรือในชวี ติ ประจ�ำ วัน ส่ิงต่างๆท่ีมากระทบนัน้ แทนที่จะรู้สึกว่าเป็นอุปสรรค กลบั เห็นว่าเป็นสิ่งท่ีสอนธรรมะเสียมากกว่า เพราะจิตใจพร้อม ที่จะเห็นความไม่เท่ียง ความเป็นทุกข์และเป็นอนัตตาของ ทกุ ส่งิ ทกุ อย่าง สามเณรหลายๆ องค์ไม่ไดบ้ รรลุในขณะท่ีนั่ง สมาธิ หากการนั่งสมาธทิ ำ�ให้จติ ใจท่านมกี �ำ ลัง เมอื่ ออกไป ในโลกภายนอก การเหน็ หรอื ไดย้ ินอะไรสกั อยา่ ง อาจเป็น จุดกระตุ้นปัญญาให้เห็นไตรลักษณ์อย่างชัดเจนและปล่อย วางกิเลสได้ พระสารีบุตรเป็นอาจารย์สอนเหล่าสามเณร และ ท่านเมตตาสามเณรมาก ท่านได้รับการยกย่องว่าไม่ถือตัว ถือตน ดังเรื่องท่ีอรรถกถาอาจารย์เล่าว่า วันหนึ่งสามเณร น้อย อายแุ ค่ ๗ ขวบ ไปตกั เตือนพระสารีบตุ รว่า ท่านปลอ่ ย ชายผ้าสังฆาฏิให้หย่อนยานและนุ่งผ้าสบงไม่เป็นปริมณฑล พระสารีบุตรรับคำ�ตักเตือนของเณรน้อยด้วยความเคารพ โดยไมไ่ ดถ้ อื ตนว่าท่านเป็นอคั รสาวกของพระพุทธเจ้า ทำ�ไม ชยสาโร ภกิ ขุ 133
สามเณรน้อย ๗ ขวบ จึงกล้ามาตักเตือนท่าน นอกจาก ไมไ่ ด้คิดอย่างน้นั แล้ว ทา่ นยงั กลับขอบคุณผู้มาเตอื นด้วย ความหวงั ดีด้วย ซ่ึงเป็นตวั อย่างท่ีดีมาก อาตมาขอเล่าเร่ืองส่วนตัวให้ฟังเล็กน้อย เร่ืองการ บวชเป็นสามเณรของอาตมา ซ่งึ ไมไ่ ด้บวชตอน ๗ ขวบ แต่มา บวชที่เมืองไทยตอนอายุ ๒๑ ปี คอื เมอ่ื อายุ ๒๐ ปี อาตมา เป็นปะขาวอยู่ทอ่ี ังกฤษตลอดพรรษาเปน็ เวลา ๔ เดอื น เม่อื มาถงึ วัดป่าพง อาตมาจึงอยากจะบวชเร็วๆ แต่ถ้าใครอยาก บวชเร็วๆ หลวงพ่อก็จะให้บวชช้าๆ ท่านถามว่า “ฌอน... ฌอน... อยากบวชไหม” “อยากบวชครบั ” “อยากบวชก็ไมใ่ ห้ บวช” ตอ่ มาท่านถามอกี ว่า “ฌอน... ฌอน... อยากบวชไหม” “ไม่อยากบวชครับ” “ไมอ่ ยากบวชก็ไมต่ อ้ งบวช” จนในที่สุด เราจึงเกิดปัญญา “ฌอน... ฌอน... อยากบวชไหม” อาตมา จงึ บอกวา่ “แลว้ แตห่ ลวงพอ่ ครบั ” “อมื ...” ทา่ นพอใจ ค�ำ ๆน้ี มปี ระโยชน์มากซ่ึงอาตมากไ็ ดใ้ ช้มาโดยตลอด คอื “แลว้ แต่ หลวงพอ่ ” 134 อกั ษรส่อสาร
สมัยน้ันมีปะขาวจำ�นวนมาก อาตมาเป็นฝร่ังคน เดียวในกลุ่มปะขาว ๗-๘ คนที่จะได้บวชเณรพร้อมๆ กัน นอกจากน้ันเป็นปะขาวชาวไทย กลางคืนต้องไปซ้อมท่ีกุฏิ ท่านอาจารย์ชู อาตมาใจร้อนอยากบวชมากจึงท่องคำ�บวช ไดภ้ ายในวันเดียว ทำ�ให้เพ่ือนๆ ล�ำ บาก ไปซ้อมแต่ละวันน่ี ทรมานใจ เพราะอาตมาทอ่ งคล่องแลว้ ต้ังแต่วันแรก แต่องค์ อื่นๆ นี่ท่องได้ไม่กี่คำ�ก็ลืมแล้ว ซ้อมกันคืนหนึ่ง ๒ ชั่วโมง ๓ ช่วั โมง ๔ ช่ัวโมง ไดแ้ ตป่ ลอบใจกนั ว่า อีกไม่นานเราจะได้ เป็นสามเณรกนั แล้ว ในสมัยน้ันมีพระฝร่ังชื่อท่านปมุตฺโต ญาติโยมบาง คนอาจจะจ�ำ ทา่ นได ้ เปน็ ชาวออสเตรเลยี เปน็ ชา่ งทเ่ี กง่ มาก ท่านเป็นผู้ที่สร้างเมรุเผาศพข้างหน้า แล้วก็สร้างกุฏิหลวง พ่อท่ีถ้ำ�แสงเพชร ฝีมือท่านดีมาก หลวงพ่อชอบเรียกมา ใช้ทำ�งานที่ละเอียดปราณีต เผอิญช่วงนั้นท่านมีน่ิวในไต ตอ้ งลงไปผา่ ทก่ี รงุ เทพฯ หลวงพอ่ เรยี กอาตมาซง่ึ ตอนน้ันยัง เป็นปะขาวมาบอกว่า อยากจะให้ฌอนติดตามท่านปมุตฺโต ชยสาโร ภิกขุ 135
ไปกรุงเทพฯ ไปเป็นเพ่ือนและเป็นลูกศิษย์คอยดูแลท่าน ที่โรงพยาบาล ซ่ึงใจหน่ึงเราก็ภูมิใจว่าหลวงพ่อไว้ใจท่ีจะ ให้เราชว่ ย แตอ่ กี ใจหนง่ึ กเ็ สยี ใจ เพราะถา้ ไปกรุงเทพฯ ก็ จะไม่ได้บวชสามเณร แตอ่ าตมากต็ อ้ งยอม ทจี่ ริงแลว้ ทา่ น ปมตุ โฺ ตก็เป็นผทู้ ี่มีบญุ คณุ ตอ่ อาตมา เพราะทา่ นเป็นเหมอื น พี่เลี้ยงของอาตมา จึงเป็นโอกาสดีท่ีจะได้ตอบแทนบุญคุณ ท่าน อาตมาจำ�ได้ว่าท่านปมุตฺโตกับอาตมานั่งรถไฟชั้น ๓ ลงไปกรงุ เทพประมาณเดอื นมนี า อากาศรอ้ น ทา่ นปมตุ โฺ ต ต้องทนทรมานด้วยความปวด ท่านอดทนมาก อาตมา นั่งอยู่กับท่านในที่แคบมาก คนบนรถไฟก็แน่น มีผู้หญิง ผมยาวคนหนึ่งมานั่งด้านหลังอาตมา เขาคงง่วงจึงนั่ง เอียงไปมา อาตมากลัวมากว่าจะไปถูกผมผู้หญิงคนนี้ อาตมายังเป็นปะขาวแต่ก็กลัวจะถูกผมผ้หู ญิง ทำ�เอานอน ไมห่ ลบั ทง้ั คนื กลวั จะบาปถา้ โดนผมผหู้ ญงิ คนนน้ั หลวงพอ่ ทา่ นกม็ าในรถไฟขบวนนั้นเหมือนกนั เพราะท่านลงมาตรวจ โรคเบาหวาน พอถงึ กรุงเทพฯ หลวงพ่อรบั นมิ นต์ไปฉนั ที่ 136 อกั ษรสอ่ สาร
บา้ นลูกศิษย์ เรากเ็ ลยไดไ้ ปกับหลวงพอ่ ...นย่ี ังไมถ่ ึงเรอื่ ง บวชเณรนะ เอาเร่อื งปะขาวก่อน... อาตมาตน่ื เตน้ มากที่ได้ ไปกบั หลวงพ่อ มพี ระเถระอีกรปู หนง่ึ กับท่านปมตุ ฺโต รวม เป็นพระ ๓ องคก์ ับอาตมาอีก ๑ คน ต้องนงั่ ฉนั กับหลวง พ่อในห้องท่มี ีแต่เรา ๔ คน ตนื่ เต้นมาก กลวั จนทานไมล่ ง แล้วอาตมาก็น่ังตรงข้ามกับหลวงพ่อเสียด้วย ท่านให้พร แล้วโยมก็ออกไปข้างนอก อาตมาจะต้องพยายามทำ�ทุกส่ิง ทุกอยา่ งให้เรียบรอ้ ย อาตมามีกลว้ ยอยู่ในกาละมงั กำ�ลัง จะปอกกลว้ ยเพอื่ ตดั เป็นช้นิ เลก็ ๆ เพราะรู้วา่ ถา้ ทานกล้วย เหมือนโยมจะผิดขอ้ วัตร อยากจะให้หลวงพ่อเหน็ เหมอื นกัน ว่าเรารจู้ ักข้อวัตรปฏบิ ตั ิ หลวงพ่อกลบั มองตาเขียว “ฌอน... อย่าไปทำ�อย่างนั้นเลย” เราก็ตกใจ เอ... ทำ�อะไรผิด หรือเปลา่ แต่คิดว่ามันน่าจะถูกนะ ที่จะห่นั กลว้ ยเปน็ ช้ินๆ ไวก้ อ่ น ท่านบอกว่า “อยา่ ไปทำ�อยา่ งนน้ั เลย อย่าเพ่ิงปอก กลว้ ยเลย” อาตมาถามว่า “ท�ำ ไมครบั หลวงพ่อ” ท่านก็ตอบ ว่า “มนั จะไม่อร่อย” ท่านบอกเคลด็ ลับว่า ผลไม้นี่ยงั ไมต่ อ้ ง ชยสาโร ภิกขุ 137
ปอกไว้กอ่ น มันจะไมอ่ รอ่ ย ตอ้ งปอกแลว้ ทานเลย ท่านพดู แบบย้ิมๆ ล้อเราเล่นนิดๆ หลังจากพาพระไปศิริราช อาตมาก็ไปพักท่ีวัดบวรฯ เปล่ียนชีวิตจากปะขาวอยู่ในป่า มาเป็นปะขาวอยู่ในป่า คอนกรตี ในเมอื งหลวง รสู้ กึ ทรมานใจมาก แตม่ ดี อี ยอู่ ยา่ งหนง่ึ คือ มีโยมฝากปัจจัยมาหนึ่งพันบาท บอกว่าถ้าพระท่าน ตอ้ งการอะไรก็ให้ช่วยซอื้ ถวาย ฉะนนั้ เราก็เลยมคี วามสขุ ตอนเชา้ ขา้ มแมน่ �ำ้ ไปอกี ฝง่ั ไปซ้ือขนมซือ้ ไอศครีมถวายพระ ทุกวัน คือตอนอยู่วัดปะขาวก็ไม่มีสตางค์ ตอนเป็นโยมก็ ไมเ่ คยมีโอกาสทำ�บุญกบั พระ ตอนนี้เป็นปะขาวท่มี สี ตางค์ ถงึ จะไมใ่ ชส่ ตางคข์ องเรา มนั กย็ งั มคี วามสขุ ทไ่ี ดท้ �ำ บญุ ทกุ วนั แต่ความทุกข์ก็มีอยู่เหมือนกันในช่วงน้ัน ปีนั้นหลวง พ่อจะไปองั กฤษนาน ๒ เดอื น ถา้ เรากลับวัดไม่ทนั ถ้าหลวง พ่อไปอังกฤษก่อนท่ีจะบวชสามเณรให้เรา เราก็ต้องรอ อีกนาน เป็นปะขาวมานานหลายเดือนแล้ว แหม...อยาก จะครองผ้าเหลืองกับเขาบ้าง นอกจากน้ี ยังมีอีกเรื่องท่ี 138 อกั ษรส่อสาร
ทำ�ให้ใจไม่ดี รู้สึกเป็นอัปมงคล คือ ขณะอยู่ที่วัดบวรฯ อาตมาได้ขอยืมผ้าจีวรของพระเพื่อไปหัดครองผ้า คิดว่า เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมทุกอย่าง ทีนี้ห้องที่อยู่ยุงเยอะ อาตมาจึงจุดยากันยุงตอนกลางคืนแล้วเผลอหลับไป ต่ืน ข้นึ มาเพราะได้กลิน่ ไหม้ รบี เปดิ ไฟ ตายแลว้ ... ผา้ จวี รทีย่ ืม มากำ�ลังไหม้อยู่ รีบวิ่งไปเอาน้ำ�มาดับก็ไม่ทัน ไฟไหม้หมด ท้งั ผนื เลย เกดิ น้อยใจตัวเอง คิดวา่ นี่เปน็ ลางไม่ดหี รอื เปล่า ชาตินี้คงจะไมม่ ีบญุ ที่จะได้ครองผา้ เหลอื งเสยี แลว้ เกือบจะ ร้องไห้เลย เป็นบาปเป็นกรรม ได้ผ้าเหลืองมาแค่วันเดียว ก็ไหมห้ มด ชาตินีค้ งจะต้องเป็นปะขาวตลอดชีวิตกระมัง ตอนนั้นท่านปมุตฺโตผ่าตัดเรียบร้อยแล้ว แต่แผล อักเสบก็เลยต้องอย่นู านกว่าท่คี ิด อาตมากำ�ลังจะหมดหวัง พอดีอาจารย์ชาคโรกับอาจารย์ปุริโสมาเยี่ยม ท่านเพิ่งมา จากออสเตรเลีย อาจารย์ชาคโรบอกว่า “ท่ีจริงฌอนอยู่ ที่นี่ก็ไม่ได้ทำ�อะไรแล้ว กลับวัดดีกว่า” อาตมาจึงกราบ ๓ คร้ัง “ครับๆ” เพราะอาตมาไมก่ ลา้ จะกลบั วดั ตามอ�ำ เภอใจ ชยสาโร ภกิ ขุ 139
เพราะหลวงพ่อท่านส่ังให้อยู่ แต่เม่ือมีพระผู้ใหญ่อนุญาต เราจึงรีบกลับไปที่วัด ก่อนท่ีหลวงพ่อจะไปอังกฤษไม่ก่ีวัน กลบั ไปไดว้ นั สองวัน อาตมาไปท�ำ ความสะอาดกฏุ หิ ลวงพ่อ ตอนบา่ ย ท่านกว็ า่ “ฌอน... พร้อมหรือยัง” “พร้อมแลว้ ครบั ” “เข้าโบสถ์เสีย” มันปุบปับมาก อาตมาวิ่งกลับกุฏิไปเอา ผา้ จีวร วิง่ ข้ึนโบสถ์ แล้วก็ไดบ้ รรพชาเปน็ สามเณร มีความ สุขมาก เป็นสามเณรได้สักพัก หลวงพ่อไม่อยู่ ท่านก็ให้มา อยู่กับอาจารย์ชาคโรท่ีวัดนานาชาติ อาจารย์ชาคโรเป็น เจ้าอาวาสท่ีนี่ รู้สึกว่าบรรยากาศในวัดคึกคักข้ึน มีอะไร เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีหลายอย่าง ก็เลยเกิดศรัทธา คิดอยากจะมาจำ�พรรษาท่ีนี่ ปีน้ันอาตมาเป็นสามเณรจำ� พรรษาอยู่ที่น่ี หลวงพ่อไปจำ�พรรษาอยู่บ้านก่อ อาจารย์ ชาคโรพาไปกราบ อาตมาจึงเรียนท่านวา่ คร่ึงพรรษาทเ่ี หลือ อยู่ ๖ อาทติ ยน์ ี้ จะขออนุญาต ๑. ไมพ่ ูด และ ๒. ฉันตก บาตรตลอด ๔๐ กวา่ วนั น้ี หลวงพอ่ ท่านกว็ า่ “อยา่ เปน็ พระ 140 อกั ษรส่อสาร
อรหนั ต์เร็วนกั นะ เดีย๋ วจะไมม่ ีเพือ่ น ใจรอ้ น คิดว่าจะทำ�น่ัน ท�ำ นจี่ ะไดเ้ ปน็ เร็ว มันไม่งา่ ยอย่างนน้ั ” แตเ่ รากย็ งั รกั ษาข้อ วัตรนั้นอยูด่ ี อาตมาว่าการงดพูดเป็นข้อวัตรปฏิบัติที่ดีที่สุด เพราะไดอ้ านิสงสห์ ลายอยา่ ง เราจะรู้ตัวว่า ๙๐% ของสง่ิ ท่ี เราเคยพูดตามปกติน้ัน จริงๆ แล้วไม่จำ�เป็นต้องพูดก็ได้ การงดพดู เรอ่ื งเหลวไหลเรอ่ื งไมจ่ �ำ เปน็ ชว่ ยใหร้ สู้ กึ สงบ ไมค่ อ่ ย คดิ อะไร ท�ำ มาได้ ๓-๔ วนั กค็ ดิ วา่ จะสามารถรกั ษาขอ้ วตั รน้ี ไปเรอื่ ยๆ จนถึงวนั ออกพรรษา เพราะมีความสุข สมัยนัน้ พ่อสมพรจะเอานมถว่ั เหลืองมาชงกาแฟถวายพระท่นี ท่ี ุกเชา้ ในวันออกพรรษาพระเณรทุกรูปต้องขึ้นธรรมาสน์เทศน์ให้ โยมฟัง เป็นธรรมเนียมท่ีพ่อสมพรจะต้องชงกาแฟให้แก่ เป็นพเิ ศษ เพอ่ื พระจะไดก้ ลา้ ขึ้นธรรมาสน์ อาตมางดพูดมา ตั้ง ๔๐ กว่าวัน ฉันกาแฟของพ่อสมพรเข้าไป ๒ แก้ว ตอน ดึกๆ นนี่ ่ังในศาลาไมต่ ิดเลย ต้องลกุ ออกไปขา้ งนอก ต้องหา เพ่ือน ต้องการพดู ตอ้ งการคยุ เพราะยังอีกนานกว่าอาตมา ชยสาโร ภิกขุ 141
จะข้ึนธรรมาสน์ จะตอ้ งหาพระเณรมาคุยใหไ้ ด้ ใหม้ าฟงั เรา พดู ๆๆ พูดกับองคห์ นึ่งแลว้ ก็ยังไม่อม่ิ ต้องคุยต่อ จะคยุ กับ ใครก็ได้ ขอใหม้ หี ฟู ังเราได้ พระเณรก็พอจะทราบว่าอาตมา เกดิ อาการตอ้ งพูด เหน็ อาตมาอย่ตู รงไหน ก็ตอ้ งหลกี ไปทาง อน่ื หรอื หลบเข้าปา่ ไป กลวั จะต้องฟงั สามเณรชยสาโรเทศน์ หลังจากไม่ได้พูดตั้ง ๔๐ วัน คืนนั้นอาตมาพูดไม่หยุดตั้ง ๖-๗ ชั่วโมง อย่างนเ้ี รียกว่าไมพ่ อดี หน้าหนาวต่อจากน้ัน อาตมาก็ไปอยู่ที่หน้าโพธ์ิ เพราะอยากจะไปอยู่ตามสาขาในท่ีเงียบๆ อยากจะฝึกพูด ภาษาไทยภาษาลาว สมยั นนั้ หน้าโพธเ์ิ งยี บมาก แตท่ ่ีวดั กลบั ไม่เงียบเพราะมีสามเณรน้อยจำ�นวนมาก สามเณรน้อยรูป หน่งึ ไม่ชอบอาตมา ไม่รู้ว่าเพราะอะไร อาจจะเพราะอาตมา เปน็ ฝรง่ั กระมงั พยายามกวนอาตมาทกุ อยา่ ง อาตมาอยากเดนิ บณิ ฑบาตคนเดยี วจะไดส้ งบ กจ็ ะออกแตเ่ ชา้ ขณะทอ่ี งคอ์ น่ื ยงั ไม่พร้อม จะได้เดินล่วงหน้าไปคนเดียว พอเณรรูปนี้ทราบ กว็ ง่ิ ตามจนเกอื บจะเหยยี บสองเทา้ อาตมา บางทกี จ็ ะเอาบาตร 142 อกั ษรสอ่ สาร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160