Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อักษรส่อสาร

อักษรส่อสาร

Description: อักษรส่อสาร

Search

Read the Text Version

ไมใ่ ชว่ า่ จะหลอ่ ทุกส่วน สว่ นท่ไี ม่สวยไมห่ ล่อมีไหม นางสาว จักรวาลสวยท้งั ๓๒ อาการไหม ลำ�ไสข้ องนางสาวจกั รวาล สวยไหม นางสาวจักรวาลมีขี้หูไหม ก็คงตอ้ งมีนะ เขาตอ้ ง เข้าห้องน�้ำ ทุกวันใชไ่ หม ตอ้ งมถี า่ ยหนักถ่ายเบา ถงึ จะสวย ทส่ี ดุ ในโลกกต็ อ้ งเปน็ อยา่ งนน้ั   สมมตวิ า่ ผา่ เอาตบั ไตออกมา จะรู้ไหมวา่ ชิน้ ไหนเป็นของนางสาวจักรวาล ชิน้ ไหนเปน็ ของ คนแก่ มันก็ดไู มอ่ อก แล้วถ้าไม่อาบน้ำ�สักวันสองวนั มันจะ เป็นอย่างไร มนั จะเหม็นไหม ไม่ใชว่ ่าเราจะมองในแงร่ ้าย แตเ่ มอ่ื จติ เกดิ เผลอจนผดิ ปกติ จะเขา้ ขน้ั หลงใหลเสยี แลว้ กใ็ ห้ ใช้ความคิดทำ�นองน้ีเพ่ือดึงจิตให้กลับมาอยู่ในทางสายกลาง ปกติคำ�พดู ทีว่ า่ “รักสนกุ ทกุ ขถ์ นดั ” เคยได้ยนิ กันไหม ถา้ รกั สนุกมาก เวลาเป็นทกุ ข์จะทุกขม์ าก ฉะนนั้ รกั ษาจติ ใจของ เราใหเ้ ปน็ กลางๆ ไว้จะดกี ว่า หลวงพ่อชาบอกว่าธรรมะคือพอดี  เรียนหนังสือให้ พอดี  พักผ่อนให้พอดี  ถ้าดูทีวีดูบอลโลกตอนตีหน่ึงตีสอง แล้วไปเรียนหนังสือ มันก็งว่ งใชไ่ หม กไ็ ม่ต้องดทู ุกนัด ลอง ชยสาโร ภิกขุ 43

ถามตวั เองวา่ อะไรส�ำ คญั กวา่ ปรญิ ญาบตั รหรอื แมนยู แมนยู เล่นอยู่ทุกปี  เรียนจบแล้วค่อยดูก็ได้  ไปเท่ียวไปดิสโก้ไป ที่ไหนก็อย่าให้มันดึกมาก  ต้องรักษาสุขภาพของตัวเองไว้ ไปเรียนหนังสือไม่ใช่ว่าเอาแต่กายไป ถ้าจิตใจมันยังง่วง กไ็ ม่เกิดประโยชน์ อาจารยเ์ องกห็ มดกำ�ลงั ใจทีจ่ ะสอน ตอ้ ง เหน็ ใจอาจารย์ ท่านอุตส่าห์ทุ่มเทสอนลูกศษิ ย์ ความขีเ้ กยี จ ขค้ี ร้านมันก็มีกันอยทู่ กุ คน ถา้ เราเขา้ มหาวิทยาลยั โดยใช้ทุน ของตัวเองก็อยา่ งหนง่ึ แตถ่ ้าเราใชท้ นุ ของคุณพ่อคณุ แม่แล้ว มัวขี้เกียจข้ีคร้าน  ก็เป็นบาปเป็นกรรม  ไม่ใช่ว่าท่านจะหา เงนิ ทองมาไดง้ า่ ยๆ นะ ถ้าเราอยากจะเอาชนะความขเี้ กียจ ขค้ี ร้าน กจ็ ะชนะไดไ้ ม่ยาก มันอยทู่ ี่ความตั้งใจของเรา พระเราไดเ้ ปรยี บในเรอ่ื งน้ี เพราะพระจะขเ้ี กยี จไมไ่ ด้ จะเปน็ บาปเปน็ กรรมหนกั หนา  ชวี ติ ของพระขน้ึ อยกู่ บั ชาวบา้ น ผา้ จวี ร ผา้ อืน่ ๆ ทใ่ี ชท้ ั้งหลาย กุฏทิ ่ีอยู่ และอาหารการกนิ ล้วนเป็นของที่ชาวบ้านถวายด้วยความศรัทธา ถ้าพระรับ ของจากชาวบ้านแล้วไม่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ  อย่างนี้ตกนรก แนๆ่ พระจงึ ระลึกอยู่ตลอดเวลา ไม่กล้าข้ีเกียจ 44 อกั ษรส่อสาร

มีใครสงสัยอะไรไหม  มีใครอยากจะถามอะไรบ้าง สมมติว่าถ้ามีใครเหาะเหินเดินอากาศได้มาลงในศาลานี้ แล้วอยากรู้ว่า  คนท่ีอยู่ในศาลาน้ีมาจากประเทศไหน  ง่าย มากเลย  เวลาถามว่ามีใครสงสัยอะไรไหม  ถ้าเงียบไม่มี คำ�ถาม กร็ ู้ไดเ้ ลยว่าเปน็ เมืองไทย เพราะทีเ่ มอื งนอกเขาแย่ง กนั ถาม กลวั จะไมม่ โี อกาสถาม ถา้ ไมอ่ ยากถามอะไร จะสอน อาตมากไ็ ด้นะ อาตมาเองก็ยงั เรยี นไม่จบ ง.งู  พระพุทธองค์ตรัสเรื่องงูหลายเรื่องเหมือนกัน หลวงพ่อชาท่านเล่าเร่ืองการจับงู  ท่านว่าถ้าจับงูผิดวิธี  งู จะกัดเรา  ถ้าจับงูถูกวิธี  งูก็ไม่กัด  ธรรมะคำ�ส่ังสอนก็เช่น เดียวกัน ถ้าหากวา่ เราจับไมถ่ กู ต้อง มันก็เปน็ พิษกบั เราได้ มากเหมือนงู  คือ  บางทีคนเราปฏิบัติธรรม  ก็มักเลือกจะ ปฏิบัติเฉพาะข้อที่ถูกใจเรา  ไม่ได้ปฏิบัติตลอดกระบวนการ ของธรรม  เราก็จะไม่ได้รับผลเท่าท่ีควร  บางคนชอบเอา ธรรมะมาอ้าง  เช่น  เอาคำ�สอนท่ีพระพุทธเจ้าทรงยกย่อง ชยสาโร ภิกขุ 45

การปลกี วเิ วกเพอ่ื ท�ำ ความเพยี รคนเดยี วมาอา้ ง  ทง้ั ๆ  ทต่ี วั เอง เป็นคนทีเ่ ข้าสงั คมยาก พดู ไม่เป็น ไมม่ คี วามเหน็ อกเห็นใจ คนอื่น ชอบขัดกับคนอื่นตลอดเวลา ชอบเพ่งโทษคนอื่น  คนอย่างนี้จึงมีนิสัยชอบอยู่คนเดียว  แต่ไม่ได้เป็นการอยู่ คนเดยี วทถ่ี กู ตอ้ งตามทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงยกยอ่ ง มนั เกดิ จาก เหตทุ ไ่ี มช่ อบอยกู่ บั คนอน่ื   เพราะนสิ ยั ไมด่ ตี า่ งๆ  ของตวั เอง ทำ�ให้ชอบทะเลาะกับคนนั้นคนน้ี  การอยู่คนเดียวจึงกลาย เป็นการส่งเสริมกิเลสของตัวเองมากกว่าที่จะเป็นการปฏิบัติ ที่ถูกต้อง เป็นการเอาหลักการที่ถูกต้องมาเป็นข้ออ้างเพื่อ การกระทำ�ที่ผิด พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าบางครั้งธรรมะก็ เหมือนงู ถา้ จบั ไมถ่ กู มันก็กัดเราได้ หลวงพ่อท่านว่า ความสุขความทุกข์ก็เหมือนกับงู เราตอ้ งจับงูทห่ี วั มัน ถา้ จบั ผิด เช่น ไปจบั ทค่ี วามทกุ ข์ มนั กัด เราไดท้ ันที แต่ถา้ จบั ทค่ี วามสุข แลว้ ไปยดึ ติดในความสุข แรกๆอาจไมเ่ หน็ โทษ แตถ่ า้ ไมร่ ะวงั มนั กก็ ดั เราไดใ้ นภายหลงั คือ ให้เราเป็นสุขก่อน แล้วจึงค่อยกัด 46 อักษรส่อสาร

มคี ำ�อปุ มาเร่ืองหน่งึ เกย่ี วกับงู เลา่ กันว่า มชี าวบ้าน คนหน่ึงเดนิ กลบั บา้ นในความมดื เจองูตวั ใหญข่ วางทางอยู่ ไม่เลื้อยไปสักที เขาเกิดความกลัว ไม่กล้าเดินข้าม กลัวงู จะกดั แลว้ เกดิ ความกงั วลว่าจะกลบั บ้านได้อยา่ งไร มนั มืด แลว้ จะหันกลบั ก็ไมไ่ ด้ จะไปต่อกไ็ ปไมไ่ ด้ เกดิ ความสงสยั วา่ จะท�ำ อยา่ งไรดี เกดิ ความพยาบาท โกรธงตู วั นน้ั เกดิ อารมณ์ หลายๆอยา่ งเพราะงเู ปน็ เหต ุ เมอ่ื พระจนั ทรโ์ ผลพ่ น้ จากเมฆ เขาก็เดินไปดูงู ปรากฏว่ามนั ไมใ่ ช่งู มนั เปน็ แคเ่ ชือก ก็เลย หัวเราะตวั เอง แลว้ เดินกลบั บ้านด้วยความปลอดภัย นักปราชญ์ทา่ นเปรยี บเทยี บวา่ คนเราอยูใ่ นความมดื คอื อยดู่ ว้ ยอวิชชา เราเห็นกายกบั ใจ เหน็ ขนั ธ์ ๕ ธาตุ ๔ วา่ เป็นตัวเปน็ ตน เป็นเราเป็นเขา เและอารมณ์ทัง้ หลาย กเิ ลส ทั้งหลายเกิดขึ้นเพราะความรู้สึกยึดมั่นถือมั่นว่ามีอัตตา ตวั ตน มเี รา มขี องเรา เมอื่ มเี รา ก็ตอ้ งมีสงิ่ ท่ไี มใ่ ชเ่ รา เม่ือมี ของๆ เรา กต็ ้องมสี ง่ิ ทไ่ี ม่ใชข่ องๆ เรา จึงเกดิ ความขดั แย้ง ข้นึ มาทนั ที เกดิ ความโลภอยากได้ เกดิ ความโกรธ เกิดความ ชยสาโร ภกิ ขุ 47

หลงประการต่างๆ  ซึ่งล้วนแต่เกิดจากความเข้าใจผิดหรือ การมองผดิ ส�ำ คญั มั่นหมายว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้นคือเรา  คือของๆ  เรา  แต่เม่ือแสงสว่างแห่ง ปญั ญาเกิดขนึ้ เราจงึ ได้เหน็ วา่ ไมม่ ีอัตตาตัวตน ไมไ่ ดเ้ ป็น อยา่ งที่คดิ เรามองผิด เราคดิ ผิด แทท้ ่ีจรงิ แลว้ มนั ก็เปน็ แค่ รปู แคเ่ วทนา แค่สัญญา แคส่ งั ขาร แคว่ ญิ ญาณ แค่กายกับ ใจเทา่ นนั้ เอง กเ็ ลยหัวเราะตวั เองได้ ปลอ่ ยวางได้ กเ็ หมือน กับคนท่ีเห็นเชือกเป็นงู  พอเห็นเชือกเป็นงูก็เกิดความกลัว ความกังวล ความสงสยั สารพดั แต่เมือ่ มีแสงสวา่ ง ก็มอง เชอื กวา่ เปน็ เชอื ก ไมไ่ ดเ้ ห็นเชอื กเปน็ งู ฉะน้ัน ในการปฏิบัติ ไม่ต้องปฏิบัติเพื่อจะทำ�ลายอัตตาตัวตน  การพยายามจะ ทำ�ลายอัตตาตัวตนก็เหมือนคนท่ีต้องการจะทำ�ลายงู  แต่ เขาทำ�ลายงูไมไ่ ดใ้ ช่ไหม เพราะมันไม่มงี ู มันมแี ตเ่ ชอื ก เรา ทำ�ลายอตั ตาตัวตนไมไ่ ด้ เพราะวา่ มนั ไม่มอี ตั ตาตวั ตน มัน มีแตร่ ูป มแี ตเ่ วทนา มีแตส่ ัญญา มีแต่สงั ขาร มีแต่วิญญาณ ฉะนั้นจะปฏิบัติอย่างไร  ก็ปฏิบัติให้เห็นเชือกว่าเป็นเชือก ให้มแี สงสวา่ งเพื่อจะไดเ้ ห็นเชือกตามความเป็นจริง เหมือน 48 อักษรส่อสาร

เราปฏิบัติกับตัวเราเพ่ือให้มีแสงสว่างพอที่จะเห็นตามความ เป็นจริงเทา่ น้นั จริงๆ  แล้ว  การท่ีเราว่างูว่าเป็นอสรพิษน้ันก็ไม่ถูก ตอ้ งนกั สมมติวา่ งตู ัวหน่ึงไมเ่ คยกัดใครเลยในชีวิต อยู่อยา่ ง ใจดีและสำ�รวมมาตลอดชีวิต  มันสมควรที่จะโดนว่าว่าเป็น งูอสรพษิ หรอื ไม่ การทเี่ ราใชค้ ำ�ว่า “งูอสรพิษ” น้ัน เหมอื น กับเราเหมาว่างูทุกตัวมีความผิดที่สามารถกัดคนได้  แต่ ไม่ใช่ว่างทู กุ ตัวตอ้ งกัดคน อาจจะแคบ่ างตวั เท่านั้น ท่านจงึ ใหเ้ ราเปรียบเทยี บเร่ืองงกู ับสิ่งตา่ งๆ ทเี่ ราต้องเจอในชีวติ ท่ี ท่านว่าส่ิงท้ังหลายท้ังปวงเป็นทุกข์น้ัน  ก็ไม่ใช่ว่าเราจะต้อง ทุกขร์ ำ�่ ไป แตถ่ า้ เราเข้าใกลห้ รือไปเหยยี บงูเขา้ นน่ั ถอื วา่ เรา ไปเก่ียวข้องกับงูในทางท่ีไม่ถูกต้อง  งูจึงจะกัดเรา  แต่โดย ทว่ั ไปแล้ว งอู สรพษิ ไม่อยากกัดใคร และมันก็ไม่ได้ก้าวรา้ ว ดว้ ย พระปา่ เจองูในป่าบอ่ ยๆ ก็ไมเ่ หน็ มันคดิ จะกัดพระหรอื กดั ใคร มแี ตอ่ ยากจะหลบมากกวา่ แตถ่ า้ ใครไปเหยยี บมนั เขา้ ไปแหยม่ นั หรอื จะไปจบั มนั กเ็ ปน็ ไปไดว้ า่ มนั จะกดั เอา เพราะ งูมันกลวั คน ชยสาโร ภิกขุ 49

เราอยู่ในโลกแห่งความเปลี่ยนแปลง  อยู่ในโลกแห่ง สังขาร  สังขารที่ไม่มีอะไรเท่ียงแท้คงทน  เปล่ียนแปลงไป เร่อื ยๆ ตามเหตตุ ามปจั จัยของมนั หากเราไปเกีย่ วข้องกับ ส่งิ ท้ังหลายในทางทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง เรากจ็ ะเป็นทกุ ข์ แต่สง่ิ ท้ัง หลายไม่ได้เป็นทุกข์ในตัวของมัน  ปัญหาหรือทุกข์เกิดจาก การทเี่ ราเขา้ ไปจบั มันหรือเข้าใกล้มนั จนเกินไป ฉะน้ัน  เราต้องอยู่ในโลกด้วยความระมัดระวัง  รู้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างพร้อมที่จะกัดเรา  และพร้อมท่ีจะท�ำให้เรา เป็นทกุ ขอ์ ย่เู สมอ ถ้าเราขาดสติสัมปชัญญะ แต่ถ้าเรามีสติ มสี มั ปชญั ญะ อยกู่ บั ธรรมะ มีพระพุทธ พระธรรม พระ สงฆ์เป็นที่พึ่งภายใน  ย่อมไม่มีส่ิงใดท่ีจะสามารถบังคับ จิตใจของเราให้เป็นทุกข์ได้  เราต้องเชื่อม่ันในข้อนี้  ไม่ใช่ ว่าเราจะต้องเช่ืออย่างเดียว  แต่เราสามารถสังเกตเห็นจาก ประสบการณต์ รงของตนเองวา่ วนั ใดทจี่ ติ ใจเราสงบ วันใดท่ี เรามสี ติ หากเกิดการกระทบกระทง่ั อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ จิตใจ ร้สู กึ หนักแนน่ ไมห่ ว่ันไหว ทนได้ ปกติอยู่ แตใ่ นวันทจ่ี ิตใจเรา ไม่สงบและไม่มีสติ  เมื่อถูกกระทบ  เราจะรู้สึกกระเทือน 50 อักษรสอ่ สาร

ท�ำให้เป็นทุกข์ทันที  แต่เราจะกล่าวว่าเราทุกข์เพราะส่ิงนั้น ไมไ่ ด้ เพราะถา้ ความทกุ ขเ์ กดิ จากส่ิงนนั้ จริงๆ แล้ว ทุกครงั้ ที่มีการกระทบหรือมีการสัมผัสส่ิงนั้น  เราจะต้องเป็นทุกข์ ทกุ ครง้ั ซึ่งความจริงไมใ่ ช่เช่นนัน้ เราสงั เกตตัวเองได้วา่ บาง ครั้งเจอปัญหาแบบนี้แล้วทุกข์มาก  แต่บางครั้งเจอปัญหา แบบเดียวกนั กลับทกุ ขน์ อ้ ย บางครง้ั เกอื บจะไมท่ ุกข์หรอื ไม่ ทุกขเ์ ลย ฉะนัน้ เรานา่ จะได้บทเรยี นแล้ววา่ ความทกุ ขไ์ ม่ได้ อยู่กับสิ่งที่เราประสบ  หากความทุกข์อยู่ท่ีใจเรามากกว่า เพราะถ้าความทุกข์อยู่กับสิ่งนั้น  ย่อมจะต้องทุกข์เหมือน กันทุกคร้งั เหมือนกบั ไฟ ถา้ เราเอามอื จับไฟ ไมว่ า่ อารมณ์ เรากำ�ลังเป็นเช่นไร  มือย่อมไหม้อยู่ทุกคร้ัง  เพราะมันเป็น ธรรมชาติของไฟและเป็นธรรมชาติของมือ  มันไม่เก่ียวกับ อารมณ์ของใครท้ังสิ้น  แต่เรื่องที่เกิดกับจิตใจ  ไม่ว่าจะเป็น เรื่องค้าขายขาดทุน เป็นเรื่องที่คนอื่นมาสบประมาท ดูถูก ดูหมิ่น หรอื มาดา่ มาว่าเรา ท�ำ ไมบางครง้ั เราท�ำ ใจได้ บาง คร้ังทำ�ใจไม่ได้  ก็เพราะมันข้ึนอยู่กับความเข้มแข็งของจิตใจ ชยสาโร ภิกขุ 51

เราใช่ไหม  ฉะน้ันเมื่อเราไม่ต้องการจะเป็นทุกข์กับเรื่อง ตา่ งๆเหลา่ น ้ี แลว้ คดิ วา่ เราจะหนไี ปอย ู่ ณ  ทแ่ี หง่ ใดแหง่ หนง่ึ ที่ปัญหาเหล่านี้จะไม่เกิดขึ้น มันไม่ถูกต้องที่จะคิดอย่างนี้ เราควรจะคดิ วา่ ท�ำ อย่างไรเราจึงจะอยู่กับธรรมะใหม้ ากขน้ึ ให้จิตใจของเราแนบสนิทอยู่กับธรรม  เพราะเมื่อจิตใจ อยกู่ บั ธรรมแล้ว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขน้ึ เราจะรูส้ กึ วา่ ทนได้ ทัง้ หมด แตท่ ยี่ ังทนไมไ่ ดน้ ้นั ก็เพราะวา่ เรายังคงย่อหย่อนใน การปฏิบตั มิ ากกวา่ น่ีคือหนทางท่ีเราจะดำ�เนินไป  เมื่อเห็นว่า  อยู่กับ ธรรมะมาก ความทกุ ข์ของเรานอ้ ย อยกู่ บั ธรรมะน้อย ความ ทุกข์ของเรามาก  เราก็ต้องพยายามเร่งการทำ�ความเพียร ทำ�จิตใจใหม้ ั่นคงอยู่ในธรรม เม่ือจิตใจของเราม่นั คงเข้มแข็ง อยใู่ นธรรม ก็จะเกิดปัญญา จะรู้เทา่ ทนั สิ่งทีเ่ กิดขึ้นอยู่เสมอ เร่ืองบาปบุญคุณโทษไม่ต้องถามใคร  เพราะจะรู้ได้ด้วย ตนเอง สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับเหตกุ ารณห์ รือสถานการณ์ ต่างๆ ได้เปน็ อย่างดี 52 อกั ษรส่อสาร

จ.จาน  ในพระไตรปิฎกไม่ค่อยจะมีเรื่อง  จ.จาน เพราะในสมัยน้ันไม่ทราบว่าใช้จานกันหรือเปล่า  แต่ที่พอ นึกได้คอื เรือ่ งท่ีหลวงพอ่ ชาสอนแมบ่ ้านว่า เวลาลา้ งจานให้ ลา้ งใจไปดว้ ย ท่านว่าบางคนขยันทำ�ความสะอาดบา้ น ขยัน ล้างจาน แต่ปล่อยใหจ้ ติ ใจสกปรก ขุ่นมวั หน้าบูด เอาแต่ ความสะอาดภายนอก แตไ่ มส่ นใจเรือ่ งความสะอาดภายใน ทา่ นบอกวา่ จานสะอาด แตจ่ ติ ใจไมส่ ะอาด หลกั การส�ำ คญั ทางพุทธศานา คือ ความสมดลุ หรอื ความพอดี ตอ้ งมคี วาม สอดคลอ้ งกันระหวา่ งเร่ืองภายในและเรอื่ งภายนอก เพราะ ถ้าเรามัวแต่จัดแจงทุกสิ่งทุกอย่างนอกตัวเราให้เรียบร้อย แต่ปล่อยปละละเลยในเรื่องจติ ใจ กย็ ่อมไม่เกิดประโยชน์ บางคนรักสะอาด  บางคนไม่รักสะอาด  แต่การรัก สะอาดทเี่ กนิ พอดกี ม็ ี คือ รักความสะอาดเสยี จนใครไปทำ�ให้ สกปรกแมแ้ ตน่ ดิ เดียวก็จะโกรธทนั ที บางคนท�ำ ราวกบั บ้าน ชยสาโร ภกิ ขุ 53

เป็นพิพิธภัณฑ์  ถ้าใครมาน่ังเล่นมาทำ�ลายความเรียบร้อย ในบา้ น ก็จะโกรธ ถ้าเปน็ เชน่ นน้ั ก็เท่ากบั วา่ เสยี หลกั เพราะ มัวห่วงแตค่ วามสะอาดเรียบร้อยทางวตั ถุ จนมองขา้ มไปวา่ ความหงุดหงดิ หรอื ความร�ำ คาญใจในสิ่งท่ีไมส่ ะอาดนน้ั เปน็ มลทนิ ทางใจ ความอยากให้สะอาดอยากให้เรยี บร้อย กลาย เป็นความสกปรกในใจ ฉะนั้น ทา่ นจงึ สอนวา่ ลา้ งจานกล็ า้ ง ใจไปด้วย  พยายามให้หน้าท่ีทุกอย่างท่ีเราทำ�  เข้ามาเป็น ส่วนหน่งึ ของการพฒั นาชีวติ ในขณะที่คนจำ�นวนหนึ่งมีความสุขกับการทำ�กับข้าว คนเราเกือบทุกคนมีความสุขในการทานอาหารท่ีมีรสชาติดี แต่คงจะมีน้อยคนท่ีมีความสุขกับการล้างจานหลังจากทาน อาหารเสร็จแล้ว  บางคนบางครอบครัวหลังทานอาหารค่ำ� ก็จะคยุ กนั ตอ่ จนดึก ดึกแลว้ กข็ ้เี กียจลุกขน้ึ ล้างจาน ผลดั ไป ลา้ งพรุ่งนเ้ี ชา้ ตื่นขึ้นตอนเช้า แทนทจี่ ะเจอความสะอาดที่จะ ทำ�ให้จิตใจสดชื่น  กลับเห็นแต่จานสกปรกที่ทิ้งไว้ตั้งแต่ เม่ือคืน ก็เลยหงดุ หงดิ ใจตง้ั แต่เช้า 54 อกั ษรสอ่ สาร

ถ้าเรารู้จักจัดเวลาและเปล่ียนความรู้สึกต่อการล้าง จานได้ การลา้ งจานจะไมใ่ ช่เรื่องทรมานจิตใจอีกต่อไป ทุก วันนี้อาตมาไม่ค่อยมีโอกาสล้างจาน  แต่ตอนเป็นนักเรียน อาตมาชอบช่วยโยมแม่ล้างจาน  ที่จริงก็ไม่ได้ล้างเอง  โยม แม่เปน็ คนลา้ ง อาตมาเป็นคนเช็ด ยืนคกู่ ันสองคน รู้สกึ มี ความสขุ มาก จนกระทง่ั ทุกวันน้ี ทุกครงั้ ท่ีกลบั ไปเยย่ี มบา้ น ก็จะขออนญุ าตโยมแม่เชด็ จาน โยมแมจ่ ะบอกวา่ “ไม่ตอ้ งๆ” อาตมากว็ า่ ขอโอกาสเถดิ นานๆ จะมาเยี่ยมบ้านที ปีสอง ปีครั้ง  อาตมามีความสุขกับการเช็ดจาน  ส่ิงท่ีคนส่วนมาก ไม่ชอบทำ� ถอื เป็นเรอื่ งน่าเบ่อื แตถ่ ้ารจู้ กั เปลย่ี นความรู้สกึ ของเราเสียอย่าง  เราก็มีความสุขได้  โดยเฉพาะถ้าสิ่งท่ีเรา ท�ำ เป็นการช่วยผอู้ ่นื เรากย็ ง่ิ ไดบ้ ญุ เช่น การทำ�อะไรๆ ให้ ครอบครัว เราดูว่างานอะไรที่คนอื่นไม่อยากทำ� เบื่อหน่าย ทจี่ ะท�ำ เราทำ�ใหเ้ องดกี วา่ แล้วเรากร็ บี ไปท�ำ สงิ่ น้นั นีเ่ รา ก็ได้บุญ ชยสาโร ภกิ ขุ 55

หลวงพ่อชาเคยพูดถงึ จานอีกครงั้ หน่งึ เมื่อทา่ นพดู ถึง การปฏบิ ัติทางจิต หรือการทำ�สมาธิภาวนา ท่านจะพยายาม เลย่ี งภาษาเทคนิค พยายามเลีย่ งเรือ่ งองค์ฌาน ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตติยฌาน อย่างท่ีเราสวดในอริยมรรคมีองค์ ๘ นานๆ จึงจะพูดสักที แต่มีอยู่ครั้งหนึ่งที่ท่านเทศน์เรื่อง องค์ฌาน องคฌ์ าน หมายถงึ คุณธรรมหรอื บางส่ิงบางอยา่ ง ทีโ่ ดดเดน่ ในฌานแต่ละขัน้ เชน่ ในปฐมฌาน หรอื ฌานที่ หนึ่งมวี ิตก วจิ ารณ์ ปตี ิ สุข เอกคั คตา ตามท่เี ราสวดกนั แต่ ไม่ไดห้ มายความว่า ปฐมฌานมีแต่สิง่ เหล่าน้เี ท่านนั้ เพราะ ยงั มีอะไรๆ อย่างอื่นอีกหลายอยา่ ง เชน่ มสี ติ มสี ัมปชัญญะ มเี วทนา มีสัญญา แตท่ า่ นเลอื กเอา ๕ ขอ้ นเ้ี ป็นองค์ฌาน เพราะเปน็ สว่ นประกอบของฌานทช่ี ดั เจนหรอื เดน่ กวา่ เพอ่ื น เอกัคคตาแปลว่าจิตเป็นหนึ่ง  หลวงพ่อท่านเปรียบ เทยี บว่า วิตก วจิ ารณ์ ปีติ สขุ เปน็ เหมอื นผลไม้ ส่วน เอกคั คตาเปน็ เหมือนจาน คือความเป็นหนงึ่ เหมอื นกบั เปน็ ฐานหรือเปน็ ภาชนะรองรบั วิตก วจิ ารณ์ ปีติ สขุ เหมือนจาน 56 อักษรสอ่ สาร

เปน็ ภาชนะรองรบั ผลไม้ พุทธศาสนาจะย้ำ�หรอื เน้นในความ สำ�คัญของภาชนะรองรบั สง่ิ ทีด่ ี หมายความวา่ จติ ใจเราจะ เข้าถึงสมาธิหรือเกิดความสงบได้  เราจะต้องมีฐานที่ม่ันคง เสยี กอ่ น ซ่งึ ก็คือศลี นัน่ เอง กายวาจาตอ้ งเรยี บรอ้ ย ถ้ากาย วาจาเราไม่เรียบร้อย  เราจะมีความรู้สึกตะขิดตะขวงอยู่ ตลอดเวลา  รู้สึกว่าตัวเองไม่สะอาด  ยังมีสิ่งท่ีไม่ดีอยู่ในตัว เรา ในชวี ติ ประจำ�วนั เราอาจจะเกบ็ กดหรอื อาจจะลมื มันได้ แตไ่ ม่ใช่วา่ จะลมื ไปเลย เพราะมนั ยงั ตกตะกอนอยู่ใตส้ �ำ นึก เม่ือเรานั่งสมาธิหรืออยู่กับตัวเอง  ความรู้สึกนั้นจะปรากฏ เราจะรสู้ ึกละอาย ร้สู ึกผิดในส่ิงทไ่ี ดท้ �ำ หรอื สง่ิ ท่ีไดพ้ ดู ซึง่ จะ เปน็ อปุ สรรคต่อสมาธิ หรอื จติ ภาวนาของเรา อาจจะทำ�ให้ ไม่ไดผ้ ล หรืออาจจะเกดิ โทษในการปฏบิ ัตขิ นั้ สงู ๆ อย่างไรกต็ าม คนท่นี งั่ สมาธิแล้วเกดิ ปัญหาทางจิตใจ มนี อ้ ยมาก เมอ่ื ๑๐-๒๐ ปีท่ีแลว้ มกี ารพูดกันมากว่านง่ั สมาธแิ ลว้ มีสิทธจิ ะเป็นบ้า มีการขูว่ า่ อยา่ น่งั คนเดยี ว คนจงึ กลวั กันมาก  คนท่เี รม่ิ พูดอยา่ งนั้นได้ทำ�ให้หลายๆ คนเสีย ชยสาโร ภกิ ขุ 57

ประโยชนท์ ่ีควรจะได้จากการประพฤติปฏบิ ัติ เท่าทีอ่ าตมา ประสบมากว่า  ๒๐  ปี  คนท่ีน่ังสมาธิแล้วเสียจริตมีน้อย มาก ถา้ พบกม็ ักจะมาจาก ๒ สาเหตุ คอื หนง่ึ เคยทำ�บาป กรรมอะไรไวแ้ ล้วยังไม่เคยเปิดเผย เกบ็ กดไวไ้ ม่ใหใ้ ครรู้ พอ นง่ั สมาธิ เรอ่ื งทีเ่ คยเก็บกดก็ระเบิดออกมา จึงเกิดปัญหา สาเหตทุ ่สี อง คือ คนท่ีมมี จิ ฉาทิฐิ อยากได้ อยากมี อยาก เปน็ อยากเที่ยวสวรรค์ อยากเทีย่ วนรก ภาษาพระเรยี กว่า มีความปรารถนาลามก  หรือมีความปรารถนาที่ไม่ถูกต้อง ตามหลกั พระพทุ ธศานา หากว่าศีลของเราเรียบร้อย  ไม่มีอุปสรรคอย่างที่ กล่าวมา  หรือถ้าในอดีตเราเคยทำ�อะไรไม่ดีไว้  แล้วเราได้ เปิดเผย และได้ตงั้ อกตั้งใจว่าจะไม่ท�ำ อีกตอ่ ไป ยอมรบั ว่าตวั เองผิด แลว้ ปลอ่ ยวาง อย่างนีเ้ รียกวา่ ภาชนะคอื จติ ใจสะอาด พอท่จี ะทานอาหารใจ และสามารถจะเจริญในจติ ภาวนาต่อ ไป ถ้าหากว่าเราไมท่ �ำ เรือ่ งศีลเรื่องทิฐใิ ห้เรียบร้อย ก็เหมอื น ภาชนะสกปรก เม่อื จานมันสกปรก แม้จะเอาอาหารดขี นาด 58 อักษรส่อสาร

ไหนมาใส่บนจานน้นั ก็ตอ้ งสัมผัสกับความสกปรกของจาน และอาจจะเกิดเชอ้ื โรค แทนท่อี าหารจะสรา้ งประโยชน์ กลบั มีโทษต่อรา่ งกาย ฉะน้ันเราต้องทำ�จิตใจของเราให้เป็นภาชนะที่สะอาด ดว้ ยการควบคมุ ดแู ลรกั ษากายวาจาใหด้ ี และท�ำ ทฐิ ใิ หต้ รง ด้วยการศึกษาคำ�ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า  แล้วน้อมจิต เข้าหาธรรมะ  หลวงพ่อท่านเตือนอยู่เสมอว่า  อย่าไปน้อม ธรรมะมาสจู่ ิตใจเรา หมายถงึ ว่า อยา่ ไปดงึ เอาคำ�สอนของ พระพุทธเจ้ามาอ้างเพ่ือสนับสนุนความคิดเห็นส่วนตัว  แต่ ให้เราอ่อนน้อมถ่อมตน  น้อมจิตเข้าหาธรรมะ  ยอมสละ ความยึดมั่นถือมั่นต่างๆ  และปล่อยวางความคิดเห็นที่ขัด กบั หลกั ธรรม ท�ำ ภาชนะคอื จิตใจของเราใหส้ ะอาด เพื่อเรา จะได้ปฏิบัตติ อ่ ไป ชยสาโร ภิกขุ 59

ฉ.ฉ่ิง ฉ่ิงเป็นเคร่ืองดนตรีให้จังหวะ เราควรต้องมี ส่ิงท่ีจะให้จังหวะในการปฏิบัติเช่นกัน  ซึ่งก็คือ  ครูบา อาจารย์หรือกัลยาณมิตร  ผู้มีความปกติสม่�ำเสมอเหมือน กับเป็นกระจกส่องให้เราได้เห็นความไม่ปกติของตัวเราเอง ฉิ่งจะใหจ้ งั หวะทส่ี มำ�่ เสมอ เชน่ เดียวกับความสม�ำ่ เสมอใน จิตใจของผู้ท่ีเจริญโดยธรรม  เมื่อมีความสม�่ำเสมอปรากฏ ให้เราเหน็ เราก็จะสามารถเหน็ ความเปล่ียนแปลงไดช้ ดั ขนึ้ เม่ือพูดถึง  ฉ.ฉิ่ง  เราจะพูดถึงเรื่องดนตรีบ้างก็ได้ ดนตรีเป็นส่ิงต้องห้ามสำ�หรับพระภิกษุและผู้ถือศีล  ๘  แต่ สำ�หรับผู้ถือศีล ๕ นั้น ดนตรีไม่ใช่ข้อห้าม เพราะศีล ๕ เป็นศีลหรือเป็นสิกขาบทที่เกี่ยวกับความดีความช่ัวโดยตรง ฉะน้ันศีล  ๕  ในทางพระพุทธศาสนาจึงมีความคล้ายคลึง กบั หลกั ศลี ธรรมในศาสนาอ่นื แต่ศีลข้อที่ ๖ ถึง ๘ น้นั มุ่ง ที่จะช่วยให้เราขัดเกลากิเลส  เป็นสิกขาบทท่ีสนับสนุนการ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ 60 อกั ษรส่อสาร

ดนตรีให้ความสุขกับชาวโลกไม่ใช่น้อย  แต่การให้ ความสขุ นัน้ หากมองในแงธ่ รรมะ กอ็ าจจะพูดใหช้ ัดข้นึ ว่า ดนตรชี ่วยลดความทุกข์ของมนุษย์ไดบ้ ้าง คนในสมยั ปจั จบุ ัน มักใชด้ นตรีเปน็ เครื่องคลายเครียด อาตมาเพิง่ อ่านเจอวา่ มี การเก็บสถติ จิ ากการถามคนทั่วโลกวา่ เวลาเครยี ดเขาคลาย เครียดอยา่ งไร มากกว่าครึง่ บอกว่าฟงั ดนตรี พอทายไดไ้ หม วา่ อะไรคอื อนั ดบั สอง อนั ดบั สองคือการอาบนำ้� คนใชก้ าร อาบน้ำ�เพอื่ คลายเครยี ดได้เหมือนกนั แตอ่ ันดับหนงึ่ คอื การ ฟังดนตรี แตท่ างพุทธศาสนาของเรานัน้ จะแกป้ ัญหาเราต้องแก้ ทีต่ น้ เหตุ ไม่ใช่ด้วยการกลอ่ มจิตใจหรอื พยายามกลบเกลอื่ น ความทกุ ข์ดว้ ยวิธีต่างๆ คนส่วนมากมักมคี วามเครยี ด แต่ แทนทีจ่ ะหยดุ ทบทวนวถิ ชี วี ิต และถามตวั เองวา่ เราก�ำ ลงั ทำ� อะไรอยู่ เราเครยี ดอย่างนีเ้ พราะอะไร ทำ�งานหนักเกนิ ไป หรอื เปล่า หรือท�ำ งานแบบไมร่ จู้ กั ปลอ่ ยวาง ถ้าเราเร่มิ ถาม อยา่ งนี้ เราอาจจะต้องยอมรบั ว่า เราดำ�เนินชวี ติ ผดิ ทางเสีย ชยสาโร ภกิ ขุ 61

แล้ว ทำ�งานมากเกินไป เพราะอะไร เพราะอยากได้เงิน ได้เงินมากๆ เพอ่ื อะไร เพ่ือจะไดม้ คี วามสุขใช่ไหม ถ้าอยา่ ง นั้นก็เท่ากับว่า  กำ�ลังทำ�ตัวเองให้เป็นทุกข์เพ่ือจะได้เป็นสุข ใชไ่ หม มันขัดกนั อยใู่ นตัว ท�ำ ให้ตวั เองเปน็ ทุกข์ทกุ วนั เพื่อ หวังความสขุ แตค่ วามสุขทป่ี รารถนาหรือท่ีหวังนั้นก็ยังไมไ่ ด้ สกั ที เหมอื นคนวิง่ ตามเงาตวั เอง หวังจะไดค้ วามร่มเย็น แต่ ถึงจะว่งิ เร็วสักเทา่ ไร ก็ตามมันไมท่ ันสักที โลกปัจจุบันเจริญด้วยวิธีการต่างๆ  ที่จะช่วยกล่อม ประสาทให้หนีจากตัวเองหรือลืมความทุกข์  ฉะนั้นเมื่อมี ความทุกข์  การลืมหรือกลบเกลื่อนความทุกข์จึงเป็นส่ิงท่ี กระทำ�ได้ง่าย  จนน้อยคนนักท่ีจะยอมหรือกล้าท่ีจะเผชิญ หนา้ กับความทกุ ข์ พจิ ารณาและกำ�หนดรู้ความทกุ ข์ จงึ ไม่ สามารถพ้นจากทุกข์ไดเ้ สยี ที ครบู าอาจารยท์ า่ นเตือนเสมอ วา่ ถ้าอยากจะพน้ ทุกข์ ก็ต้องกลา้ เผชญิ หน้ากบั ความทกุ ข์ ไมใ่ ชว่ า่ พอเครยี ดขึน้ มา กเ็ ปิดวิทยุเปิดทวี ี จะไดไ้ มต่ ้องคดิ อะไรสกั พักหนึง่ เปลย่ี นอารมณ์ เปลีย่ นอิรยิ าบถ เปล่ยี นได้ 62 อักษรส่อสาร

แตไ่ ม่ไดแ้ กอ้ ะไรเลย นสิ ัยตา่ งๆ ท่ีเปน็ เหตุให้จิตใจวา้ ว่นุ ขนุ่ มวั ก็ยงั มอี ยู่เหมอื นเดิม เมื่อเรายังคงด�ำ เนนิ ชวี ิตในลักษณะ ท่ีไม่พอดี ความทกุ ขก์ ็จะตอ้ งปรากฏข้นึ มาใหม่ ไมช่ า้ กเ็ ร็ว ฉะนน้ั คนเราจงึ ชอบฟงั ดนตรี เพราะมนั ท�ำ ใหม้ คี วามสขุ สำ�หรับคนที่ไม่ปฏิบัติและไม่สามารถปล่อยวางความคิด เมอ่ื ฟงั ดนตรี ปลอ่ ยจติ ใจใหเ้ คลม้ิ ตามเสยี งเพลง กค็ ดิ นอ้ ยลง ก็เลยมีความสุข แต่ความสุขนั้นไม่ได้อยู่ที่ดนตรี ความสขุ น้ันอยู่ท่ีการไมค่ ิดมากไมฟ่ งุ้ ซา่ นมาก แต่คนส่วนใหญ่มกั คดิ วา่ ความสขุ อย่ทู เ่ี สียงดนตรี เวลาไปเมอื งนอก ชาวตะวันตก จะถามเรือ่ งนีม้ าก เชน่ ถามวา่ ทำ�ไมพระจงึ ฟงั ดนตรีเล่น ดนตรีไม่ได้  ทำ�ไมต้องรังเกียจดนตรี  ไม่เห็นดนตรีจะเป็น เรือ่ งนา่ เกลียดอะไร เขาสงสารพระมาก เพราะบางคนเช่อื ว่า ถา้ ไมม่ ีดนตรแี ล้ว เขาจะอยู่ไมไ่ ดเ้ ลย เมื่อคนเรามีสิ่งใดที่ให้ความสุขแก่ตัวเอง  แล้ว พยายามวาดภาพหรือจินตนาการชีวิตที่ไม่มีส่ิงนั้น  รู้สึก นึกไม่ออกว่าชีวิตจะเป็นอย่างไร  คิดได้แต่ว่าคงจะแห้งแล้ง ชยสาโร ภิกขุ 63

เหลือเกิน โดยลืมคิดไปว่า ถ้าเราสละความสุขในสิ่งนี้ เรายงั มีโอกาสทจ่ี ะหาความสขุ จากสงิ่ อนื่ ไม่ใช่ว่าสละความ สุขอยา่ งนีแ้ ล้ว  จะไมม่ ีความสุขอ่ืนเลย  ชวี ิตของคนเราตอ้ ง มีความสุข ขาดความสุขไม่ได้ แม้แต่พระธุดงค์กรรมฐาน ผู้ที่อยู่ด้วยความอดทนก็เช่นเดียวกัน  ถ้าชีวิตพระไม่มี ความสุข ก็คงจะอยเู่ ปน็ พระไดไ้ ม่นาน แต่ความสขุ ของนกั ปฏบิ ตั ิ ไม่ไดม้ องเห็นไดง้ ่ายๆ เหมือนความสขุ ของชาวบ้าน  ความสขุ จากการท�ำ ความดี ความสุขจากความไม่ประมาท ความสุขจากการประพฤติปฏิบัติเป็นความสุขท่ีละเอียด และเม่ือเราตง้ั อกต้ังใจปฏิบตั ิ เราจะเรมิ่ เหน็ วา่ การจะได้ ความสุขที่ละเอียดนั้น เราต้องยอมสละความสุขที่หยาบ เสียกอ่ น จะเอาความสขุ ท้งั หยาบทง้ั ละเอยี ดไม่ได้ เพราะ มนั ขัดกัน ดนตรีมีผลต่ออารมณ์  มีผลต่อความรู้สึกปรุงแต่ง อารมณ์ต่างๆ  ความสุขจากการฟังดนตรีมีอยู่  ท่านไม่ได้ ปฏิเสธ  แต่เราต้องยอมสละความสุขน้ันบ้าง  ถ้าต้องการ ความสขุ ข้ันละเอียดทีเ่ กดิ จากสมาธิภาวนา ส�ำ หรับฆราวาส 64 อักษรสอ่ สาร

อยา่ งน้อยในเวลาท่ีจะต้งั อกตั้งใจปฏบิ ัติ กค็ วรอยแู่ บบเรยี บ งา่ ยที่สุด ใหม้ สี ิ่งทมี่ ากระทบและปรุงแตง่ จิตน้อยทส่ี ุด การท่ีจะเลิกหรือหยุดปรุงแต่งน้ัน  ไม่ว่าจะเป็นการ ปรุงแต่งไปในทางบุญหรือทางบาป  เราต้องเข้าใจธรรมชาติ ของการปรุงแต่งว่ามนั เป็นอยา่ งไร ถ้าเราปลอ่ ยจติ ไปกบั การ ปรงุ แตง่ เราจะมองไม่เหน็ การปรุงแต่งของจิต ในขณะปฏิบตั ิ ภาวนา เราจึงต้องสรา้ งบรรยากาศใหเ้ รียบง่ายท่ีสุด เพือ่ จะ ให้เห็นอารมณ์และการปรุงแต่งได้ชัดขี้น  สำ�หรับฆราวาส เมื่อออกจากการปฏิบัติธรรม นอกจากวนั พระ กไ็ มใ่ ช่เร่อื ง ผดิ อะไรท่ีจะฟังดนตรีบ้าง แตไ่ มใ่ ช่วา่ ทุกครง้ั ที่เกิดความเบ่ือ หรอื เกดิ เป็นทกุ ขอ์ ย่างใดอยา่ งหน่ึง ก็ตอ้ งเปดิ ดนตรฟี งั เพ่ือ จะได้คลายเครียดทุกคร้งั ถ้าเป็นเช่นน้ันก็จะเป็นคนอ่อนแอ ไม่มีวันส้ินสุด เพราะเอาแต่หนจี ากอารมณ์ตัวเอง ในฐานะที่เราเป็นนักปฏิบัติ  เราต้องรู้ว่าตัวเองกำ�ลัง รสู้ ึกอยา่ งไร ความรูส้ กึ นมี้ นั คืออะไร มนั เกิดอย่างไร บางที เราก็ไม่รู้ใช่ไหม  บางทีรู้สึกเศร้าๆ  ไม่รู้ว่าเป็นเพราะอะไร ชยสาโร ภกิ ขุ 65

พอรู้สึกตัวว่าเศร้าก็ไม่ชอบ  ไม่อยากจะเศร้าอย่างนี้  ต้อง รีบไปหาอะไรที่จะช่วยทำ�ลายความรู้สึกว่าเศร้า  หรือหันไป คิดเรื่องอ่ืนเสีย  น่ีไม่ใช่การปฏิบัติท่ีถูกต้อง  เมื่อนักปฏิบัติ รู้สึกตวั ว่าเศร้า ก็ต้องมาดูว่าความเศร้านีป้ รากฏอยา่ งไร มี อาการทางร่างกายบ้างไหม  มีอาการทางจิตอย่างไร  ต้อง ดูเหตุปัจจัยของมัน  อะไรคือสิ่งท่ีสนับสนุนให้อารมณ์นี้คง อยู่ เพราะถา้ ไม่มสี งิ่ ใดสนบั สนุน ไมม่ อี ะไรเปน็ อาหารหรอื เป็นเช้อื อารมณน์ ้ีกจ็ ะคงอย่ไู ม่ได้ เพราะส่งิ ทัง้ หลายอยูด่ ว้ ย อาหาร สงิ่ ทง้ั หลายอยดู่ ้วยเชื้อ ฉะนั้น  อารมณ์ท้ังหลายทั้งปวงล้วนเป็นบทเรียนบท ศึกษาของนักปฏิบตั ธิ รรม เราตอ้ งไมร่ ังเกียจ ไม่กลัว ไมย่ ินดี ไม่ยินร้าย  หากพร้อมที่จะรู้เท่าทันและปล่อยวาง  เมื่อเกิด ความรู้สกึ ไม่สบาย ไม่ตอ้ งตกใจ ไม่ต้องเสยี ใจ แตใ่ ห้ดวู า่ มนั คืออะไร ถา้ เรารีบไปท�ำ อะไรสกั อย่าง ไปเปดิ ดนตรี เปิดทวี ี ไปกินอะไรสกั อยา่ ง ไปซื้อของหรอื ไปอะไรก็แล้วแต่ เราก็จะ ไม่กา้ วหนา้ ในธรรม 66 อกั ษรส่อสาร

ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราได้สัมผัสในชีวิต  ท่านให้เรา พจิ ารณาวา่ เราเกย่ี วขอ้ งกบั สง่ิ นเ้ี พอ่ื อะไร เราไดก้ �ำ ไรอะไรบา้ ง หรือขาดทุนอะไรบ้าง มันมีคุณมีโทษต่อชีวิตเราอย่างไรบ้าง การรักษาศีล ศีล ๘ หรือศีลอุโบสถ ย่อมมีอานิสงส์มาก เป็นโอกาสท่เี ราจะได้ทดสอบตวั เอง ได้เชค็ ไดส้ �ำ รวจความ ยึดม่ันถือมั่นต่างๆ  ของเราว่า  ทุกวันนี้เรายึดมั่นถือมั่น หรอื ยึดติดในอะไรบา้ ง เชน่ ในวนั พระ เราก็ไม่ตอ้ งอา่ น หนังสือพิมพ์ ไม่ต้องดูทีวี ไม่ต้องแต่งตัว ไม่ต้องแต่งหน้า ไมต่ อ้ งทาครมี อะไรท้ังส้ิน แลว้ พจิ ารณาดูวา่ แต่กอ่ นเคยดู ทีวที ุกวนั ฟังดนตรีทุกวนั วันพระไมไ่ ดด้ ูไมไ่ ดฟ้ งั เป็นอย่างไร รู้สกึ ขาดอะไรไหม อึดอดั ไหม เป็นทกุ ขไ์ หม การถือศลี จึง เป็นสว่ นหนึ่งของการภาวนา ศลี ไมใ่ ชเ่ ปา้ หมายในตวั มนั เอง แต่ถือศีลเพ่ือสมาธิ  เพื่อปัญญา  เพ่ือรู้ตัวเอง  เพื่อเข้าใจ ตวั เอง ชยสาโร ภกิ ขุ 67

ช.ช้าง เร่ืองช้างจะมมี ากหนอ่ ย เร่ืองการฉนั อาหาร พระพุทธองค์ให้พระเป็นผู้เล้ียงง่าย  พระองค์ไม่ได้ทรง ก�ำ หนดอะไรมากวา่ พระควรจะฉันหรือไม่ควรฉนั อะไร ท่าน ให้เป็นเร่ืองของพระแต่ละองค์ตัดสินเอาเอง  ถ้าพระองค์ใด อยากจะฉนั เจ ท่านกไ็ มห่ ้าม พระอยากจะฉนั เนอ้ื สัตว์ ทา่ น ก็ไมห่ ้าม ทรงก�ำ หนดเพียง ๒ อยา่ ง คือ ใหพ้ ระเป็นผ้เู ล้ยี ง ง่าย และให้รูจ้ ักประมาณในการบรโิ ภค จะฉันอะไรก็แลว้ แต่ แต่อย่าฉันมากเกินไป  ให้ฉันแต่พอดี  อย่าไปฉันของแสลง ให้ฉนั แต่ของทยี่ อ่ ยได้ ไม่ใชว่ า่ เห็นส่ิงใดอรอ่ ย แม้จะรู้ว่าไม่ ถูกกบั โรคประจ�ำ ตวั หรือสังขารของตน แตก่ อ็ ดไม่ได้ อย่างนี้ ถอื ว่าผิด อย่างไรกต็ าม แมพ้ ระพุทธองค์ทรงถือว่า พระจะฉัน เน้อื สัตว์ หรอื ฉันเจเปน็ เรื่องส่วนตวั แตท่ า่ นห้ามพระฉนั เน้อื สตั ว์ ๑๐ ชนิด ซึ่งถือว่าไมเ่ หมาะสมที่จะฉนั และเนอื้ ชา้ ง ก็เป็นหน่ึงในนั้น  ที่ทรงห้ามห้ามเพราะถือว่าสัตว์บางชนิด 68 อักษรส่อสาร

เป็นสัตว์สูง  หรือมีอุปการคุณต่อมนุษย์  สัตว์ป่าบางชนิด เช่น  เสือ  ถ้าพระฉันแล้วธุดงค์เข้าไปในป่าจะเป็นอันตราย เพราะมันจะมีกลิ่นซึ่งเมื่อเสือได้กลิ่นแล้ว  มันจะรู้ว่าคนๆ นี้กนิ ญาติของมนั มันกจ็ ะตอ้ งจัดการแก้แคน้ สว่ นเนอ้ื ช้าง น้นั   ท่านไม่ให้ทานเพราะถือว่าเป็นสัตว์สูง  ช้างเป็นสัตว์ที่ มนุษย์เราประทับใจมากมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดูสง่าและมี ความน่าเลือ่ มใส มกี ารเปรยี บเทยี บมนษุ ยท์ ี่ได้รบั การฝึกฝน อบรมมาดี กับช้างดว้ ย พระพุทธองคเ์ องก็ทรงเปรยี บเทียบ พระอรหันตก์ บั ชา้ งหลายคร้ัง ญาติโยมหรือผู้ท่ีเคยเห็นหลวงพ่อชาสมัยท่ีท่านยังไม่ อาพาธ คงจำ�กนั ได้ว่า หลวงพอ่ ท่านเดินเหมอื นช้าง มีความ สง่าผ่าเผย มคี วามงามในการเดิน งามมาก จนหลายคนตา่ ง พดู เปน็ เสยี งเดียวกนั วา่ ท่านเดินเหมอื นช้าง การที่บอกว่า คนเดินเหมือนช้างน้ีเป็นคำ�ชมของคนเอเซียหรือคนที่อยู่ใน เมืองร้อนท่ีมีวัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับช้างมานมนาน  ถ้าเป็น ที่อังกฤษ  การบอกว่าคนเดินเหมือนช้างจะมีความหมาย ตรงกันขา้ ม เวลาพวกฝรั่งตวั หนักๆ เดนิ เสียงดังอยทู่ ่ีชนั้ บน ชยสาโร ภิกขุ 69

จนได้ยินมาถึงชั้นล่าง  ท่ีบ้านอาตมาจะว่าเดินเหมือนช้าง ฉะนน้ั สญั ญาท่ีเก่ียวกบั สัตว์ต่างๆ จะตา่ งกนั ท่อี ังกฤษไม่มี ชา้ ง มีแตเ่ ฉพาะในสวนสตั ว์ สัญญาหรอื ความคิดความรสู้ กึ ต่อช้างจึงต่างจากคนไทยที่คุ้นเคยกับช้างมาแต่โบราณ  ช้าง เป็นสัตว์ท่ีมีอุปการคุณต่อมนุษย์มาก  เราใช้ช้างทำ�งานให้ เรามากมาย  ช้างเผือกก็เป็นสัตว์ท่ีได้รับความเคารพนับถือ เพราะถือวา่ เป็นสัตวท์ ีเ่ ป็นมงคล อาตมาเคยอ่านบันทึกของชาวตะวันตกท่ีมาค้าขาย ในเมอื งไทยสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาว่า เม่ือช้างหลวงตาย พระ มหากษัตริยใ์ นสมัยนั้นซึ่งอาตมาจำ�ไมไ่ ด้วา่ องคไ์ หน จัดงาน พธิ ียงิ่ ใหญ่ เจ้าหน้าที่ผา่ ศพของช้างหลวง เปิดทอ้ งซึง่ ใหญ่ มากออก แลว้ นมิ นต์พระ ๔ รปู เขา้ ไปน่ังสวดอภธิ รรมทุกวนั ในตัวช้าง ฝรั่งเห็นว่าแปลก สมัยก่อนช้างได้รับเกียรติมาก เพราะถือเปน็ ส่ิงท่แี สดงถงึ บารมขี องพระมหากษัตริย์ ในพระสูตรมีการเปรียบเทียบพระท่ีมีความอดทนกับ ช้าง ท่านวา่ ชา้ งหลวง ช้างศกึ หรือชา้ งทร่ี บเกง่ ๆ ในสงคราม 70 อกั ษรส่อสาร

มีความอดทนต่อรูป  คือในสมรภูมิรบ  ช้างเห็นข้าศึกศัตรู มากมาย กไ็ ม่พร่นั ไม่ตกใจกลวั ไม่ทอ้ แท้ หากยังคงรักษา ความเปน็ ปกติไวไ้ ด้ แลว้ ยังมคี วามอดทนตอ่ เสียง ไม่วา่ จะ เสียงกลองเสียงสังข์เสียงแตรหรือเสียงเครื่องดนตรีของศัตรู ชา้ งกไ็ มต่ กใจกลัว ไมย่ น่ ระย่อ จติ ใจยังเป็นปกติอยูไ่ ด้ เรื่องของช้างในพระไตรปิฎกก็มีมากมาย  เรื่องที่ ญาติโยมคงจำ�ได้  คือ  เรื่องช้างช่ือนาฬาคิรีซึ่งมีประวัติว่า พระเทวทตั กบั พระเจ้าอชาตศิ ัตรูวางแผนจะฆ่าหรือท�ำ ลาย พระพุทธเจ้า  เพราะพระเทวทัตอยากจะต้ังตนเป็นพระ ศาสดา  อยากจะเป็นใหญ่  คิดว่าทำ�อย่างไรจึงจะทำ�ร้าย พระพทุ ธเจา้ ได้ ในเมืองราชคฤห์ มีช้างท่ตี ัวใหญม่ ากและ มีชือ่ เสียงมากชื่อ นาฬาคิรี และในสมยั น้นั เขาจะใหช้ า้ งกิน เหล้าซ่งึ ไมแ่ นว่ ่าปัจจุบันยังท�ำ กันอยหู่ รอื เปลา่ เหลา้ นเี้ รียก วา่ ท้อดดี้ (Toddy) ไม่ทราบคนไทยเรียกวา่ อะไร ทุกวันน้ใี น อินเดียกย็ งั มขี ายอยู่ เปน็ เหลา้ ท่ีทำ�จากมะพร้าว พระเทวทัต ให้คนดูแลช้างมอมเหล้านาฬาคิรี  ให้กินเหล้ามากกว่าปกติ ชยสาโร ภิกขุ 71

หลายเทา่ แล้วปลอ่ ยให้นาฬาคริ ีว่ิงไปตามถนน ชาวบา้ นพา กนั วิง่ หนีดว้ ยความตกใจกลัว ขณะน้ันพระพุทธองค์กับพระอานนท์กำ�ลังเดินเข้าไป บิณฑบาตในเมืองราชคฤห์  มีคนว่ิงมากราบทูล  นิมนต์ ว่าวันนี้ไม่ต้องเข้าเมืองเพราะอันตรายมาก  ช้างนาฬาคิรี กำ�ลังอาละวาดอยู่  แต่พระพุทธองค์และพระอานนท์ก็ยัง คงบิณฑบาตตามปกติ  เม่ือเข้าไปถึงตลาด  ช้างนาฬาคิรีท่ี กำ�ลงั ตกมันก็ว่ิงตรงร่ีเขา้ มาหาสองพระองค์ ทง้ั ตวั ใหญ่ หนา้ แดง เมาเหลา้ ดนู า่ กลวั มาก พระอานนทซ์ ง่ึ รกั พระพทุ ธเจา้ มากเห็นท่าไม่ดี  รีบก้าวออกมายืนบังหน้าพระพุทธเจ้า ไว้ ถา้ อันตรายมาถงึ ตวั ทา่ นก็จะยอมตาย แตไ่ มย่ อมให้ พระพุทธเจ้าเป็นอันตราย  แต่พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงยอม ทรงใช้อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์  ย้ายองค์พระอานนท์ออกจาก ทาง  ขณะน้ันมีผู้หญิงคนหน่ึงอุ้มลูกวิ่งหนีจนลูกพลัดตก นาฬาคิรกี ำ�ลังจะเข้าไปกระทืบเด็กคนนี้ พระพุทธเจ้าจึงทรง ใช้พระเมตตาของพระองค์ แผใ่ ห้ชา้ ง เปน็ ที่อัศจรรย์วา่ ช้าง 72 อกั ษรสอ่ สาร

ตัวใหญ่นี้หยุดชะงักทันทีแล้วนั่งลงอย่างไม่น่าเช่ือว่าจะเป็น ไปได้ ชาวบ้านประทบั ใจมาก วงิ่ ออกมาจากบ้าน เอาเคร่ือง ประดับต่างๆ  มาใส่ให้นาฬาคิรีจนท่วมตัว  แล้วตั้งช่ือใหม่ วา่ ทะนะปาละ หรือผรู้ กั ษาทรัพยส์ ินของชาวบา้ น เรียกว่า เมตตมั พุเสกะวธิ นิ า ชิตะวา มุนินโท ตนั เตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมงั คะลัง เป็นชัยมงคลของพระพุทธองค์ขอ้ หนึ่ง ที่พระ เราสวดในบทพาหุงฯ มีพุทธพจน์บทหนึ่งกล่าวถึงกุศลธรรมหรือคุณธรรม ทงั้ หลาย ทา่ นเปรียบเทียบกับรอยเท้าสตั ว์ ท่านวา่ ในบรรดา สตั ว์ทัง้ หลายท้ังปวงท่อี ย่ใู นป่า สัตวท์ ีใ่ หญท่ ส่ี ุดคอื ช้าง และ รอยเท้าสัตว์ท่ีใหญ่ท่ีสุดในป่าก็คือรอยเท้าของช้าง  ท่าน เปรียบรอยเท้าชา้ งนน้ั กบั ความไม่ประมาท และคณุ ธรรมทั้ง หลายท้ังปวงล้วนแต่เข้าไปอยู่ในกรอบของความไม่ประมาท เหมอื นกับทร่ี อยเท้าของสัตวอ์ ่นื ๆ ท้งั หลายทงั้ ปวงสามารถ ทาบอยู่ในรอยเท้าช้างได้  พระพุทธองค์ทรงให้ความสำ�คัญ กบั ความไมป่ ระมาทมาก คำ�วา่ ไมป่ ระมาทนั้น ทจี่ ริงตาม ชยสาโร ภิกขุ 73

รากศัพท์ มาทเหมือนคำ�วา่ มาทะแปลว่าเมา ไมป่ ระมาทคือ ไม่เมา ไมเ่ มากค็ อื มีสติ ความไมป่ ระมาทจึงหมายถงึ การ อยดู่ ้วยสติ อยู่ดว้ ยความรูต้ ัวท่ัวพรอ้ ม รู้วา่ ตัวเองก�ำ ลงั ท�ำ อะไร เพื่ออะไร ทา่ นวา่ ถ้าคนเราอยดู่ ้วยความไม่ประมาท แลว้ กเิ ลสจะตอ้ งลดนอ้ ยลงไปเป็นธรรมดา กเิ ลสจะเพิม่ ขึ้น ไม่ได้ เพราะไมม่ ชี ่องท่ีมนั จะเขา้ ไปครอบงำ�จติ ใจ ผทู้ ่อี ยู่ดว้ ย ความไมป่ ระมาท เหมอื นอยูใ่ กลช้ ดิ พระนิพพาน ยอ่ มมีแต่ จะเจรญิ กา้ วหน้าในธรรมยิง่ ๆ ขึ้นไป พวกเราทั้งหลายพร้อมท่ีจะประมาทอยู่ตลอดเวลา เพราะเรามักจะตื่นตัวเฉพาะเวลาท่ีเจอส่ิงที่แปลกใหม่ ตราบใดท่เี รายงั มีความรสู้ กึ ว่า สิง่ นย้ี ังใหมอ่ ยู่ เราก็จะระวงั จะชา่ งสังเกต และจะเรียนรู้ แตเ่ มอ่ื เวลาผา่ นไป เราก็จะ เกิดความเคยชิน ถ้าเคยชนิ นเ่ี รียกว่าประมาท เหมือนคนที่ ไปต่างประเทศ  ทุกสิ่งทุกอย่างแปลกหูแปลกตาไปหมด  ก็ จะตัง้ ใจสังเกตสิง่ รอบตัวมาก เพราะไม่เคยเห็นมาก่อน จะ สงั เกตเหน็ อะไรหลายๆอยา่ ง แต่เมื่อเราอยใู่ นบา้ นเราเอง ก็ 74 อกั ษรสอ่ สาร

มักจะไม่ค่อยรู้สึกรู้สาอะไรกับส่ิงแวดล้อมท่ีเห็นอยู่ทุกวันๆ นี่เรียกว่าประมาท  หรือความสัมพันธ์ในครอบครัวเราก็เช่น เดียวกนั อยดู่ ้วยกันนานๆ เราก็จะประมาทตอ่ กัน เม่ือเจอ กันใหม่ๆ รักกนั ใหม่ๆ เรากร็ ูส้ กึ ชน่ื ชมในความดีความน่ารัก ของเขา รสู้ ึกว่าเขาดมี ากๆ แต่พออยดู่ ้วยกนั นานๆ กร็ ู้สึกชนิ เพราะเห็นกันทุกวัน ไม่มีอะไรแปลก นี่เรียกว่าประมาท ต่อกัน  แล้วคนเรามักจะประมาทในข้อดีของคนอื่นได้ง่าย กวา่ ขอ้ เสียของเขาใชไ่ หม ลองสงั เกตดวู า่ อยูก่ ันนานๆ ไป สิ่งดีๆ  ของเขาเรารู้สึกชิน  แต่นิสัยของเขาที่ระคายเคือง ความรู้สกึ เรากลบั ไม่ยอมชนิ   ยังไงๆ  ก็ยงั ร�ำ คาญเหมอื น เดิม  หรือบ่อยครั้งท่ีความไม่พอใจอาจจะเพิ่มข้ึนด้วยซ้ำ�ไป เพราะว่าตอนแรกๆ เราก็พอใจท่ีจะมองขา้ มสง่ิ นั้น แตเ่ ม่ือ อยู่ด้วยกันไปนานๆ  ก็จะเร่ิมรู้สึกไม่พอใจมากข้ึนๆ  นี่คือ ความประมาทในการอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัว นอกจากน ้ี บางครง้ั ความรสู้ กึ เคยชนิ กบั สภาพแวดลอ้ ม ในหมู่บ้านท่ีเราอาศัยอยู่  อาจจะทำ�ให้คนบางคนรู้สึกเบ่ือ ชยสาโร ภิกขุ 75

อยากจะใหม้ กี ารเปล่ยี นแปลงใหม่ โดยทเ่ี ราอาจจะประมาท ในส่ิงดีๆที่มีอยู่ก็ได้  ลูกสมัยใหม่มักจะประมาทพ่อแม่มาก เพราะถือว่าสิ่งดีๆ  ที่พ่อแม่ทำ�ให้  เป็นหน้าที่ที่พ่อแม่มี ตอ่ ลูก เขาเปน็ พอ่ เป็นแม่ เขาก็ต้องทำ�อยา่ งน้ี คนรุ่นใหมจ่ ะ คดิ อย่างนก้ี นั มาก อาตมาวา่ นค่ี ือความประมาท เมอ่ื บางสง่ิ บางอยา่ งเกดิ ข้นึ ใหมๆ่ บางครั้งเรามองว่า เป็นปญั หาเล็กปัญหานอ้ ย เราจึงมองข้าม ไม่คดิ แก้ไขเพราะ คิดว่า เดี๋ยวมันก็จะหายไปเอง เดี๋ยวมันก็จะหมดไปเอง ไม่ ตอ้ งไปยงุ่ กบั มันจะดีกว่า แต่แทนท่ปี ญั หาจะหายไปเอง มัน กลับกำ�เริบเสิบสาน  เรื่องเล็กเรื่องน้อยกลายเป็นเร่ืองใหญ่ เร่ืองท่ีน่าจะแก้ได้ง่ายกลับกลายเป็นเร่ืองที่แก้ยาก  เราได้ เห็นตัวอย่างบ่อยๆ  ไม่ว่าจะปัญหาสังคมหรือปัญหาในวัด นัน่ เป็นเพราะเราประมาท ปัจฉิมโอวาทของพระพุทธเจา้ คืออะไร “จงเร่งทำ�ความเพียรให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ ประมาทเถดิ ” เหน็ หรอื ไมว่ า่ พระพทุ ธองคท์ รงใหค้ วามส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ กบั คำ�ๆ นี้ 76 อักษรส่อสาร

ความไม่ประมาท  คือ  มีความลืมหูลืมตาอยู่ตลอด เวลา  ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นของใหม่หรือของแปลกประหลาด มนั จงึ จะตืน่ ตัว แตฝ่ กึ ใหเ้ ป็นผูร้ ู้ ผูต้ ่ืน ผเู้ บกิ บานกบั ทกุ สงิ่ ทกุ อย่าง แม้จะอยกู่ ับคนปกติธรรมดาก็ยังต่นื อยู่ ไม่ใชว่ ่าอยูก่ บั ส่งิ ใดนานๆ ก็เหมือนหลบั หรือหลบั ใน  เมื่อคนมีความทกุ ข์ แล้วต้องการท่ีพ่ึง  ก็จะว่ิงไปหาพระ  แต่พอความทุกข์นั้น บรรเทาลงไปบา้ ง ก็ลมื พระไปเลย นี่เรียกวา่ ประมาท ความ ประมาทมีมากมายหลายรูปแบบ  คนสมัยนี้กำ�ลังทำ�ลาย ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมาก  แล้วยังประมาทด้วยการคิดว่า ไมเ่ ป็นไร เพราะเดยี๋ วนักวิทยาศาสตรเ์ กง่ ๆ ก็จะสามารถ ผลิตเทคโนโลยใี หมๆ่ ข้ึนมาแก้ปัญหาได้ทัน คือมีความเชื่อ งมงายว่า  นักวิทยาศาสตร์สามารถแก้ปัญหาของมนุษย์ได้ ทกุ อย่าง เพราะฉะน้นั ถงึ เราจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ฟุ่มเฟือยไปเร่อื ยๆ กไ็ มเ่ ปน็ ไร เดี๋ยวนกั วทิ ยาศาสตรเ์ ขาจะ คดิ วธิ ีแก้ได้ นค่ี ือความประมาท ชยสาโร ภกิ ขุ 77

ความไม่ประมาท  คือ  การรับผิดชอบส่ิงที่ตัวเองทำ� โดยไมเ่ ข้าขา้ งตัวเอง มีความรับผิดชอบ มกี ารคำ�นึงถงึ ผลท่ี จะเกิดข้ึนจากการกระทำ�  ทั้งผลต่อคุณภาพชีวิตของตัวเอง ผลต่อคนรอบข้าง ผลต่อสังคม แม้แต่ผลต่อคนที่ยังไมเ่ กิด ด้วย พระอรหนั ต์เป็นผทู้ ี่มคี ณุ ธรรมในเร่อื งที่ว่า ไม่วา่ จะทำ� อะไร ท่านจะคำ�นึงถงึ อนุชนร่นุ หลัง พระมหากสั สปะ แม้จะ อายุมากแล้วกต็ าม  ท่านยงั ถอื ธดุ งควตั รอยา่ งเคร่งครัด ไม่ ยอมเลิกทั้งๆ  ที่ท่านบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้ว  จิตใจของ ท่านเป็นจิตใจท่ีไม่แปดเปื้อนและไม่เส่ือม  ท่านไม่จำ�เป็น ตอ้ งทรมานกิเลส เพราะกเิ ลสมนั ตายไปนานแลว้ ทา่ นจบ การศึกษาแลว้ จะอยูอ่ ย่างสบายๆ กไ็ ด้ แตท่ �ำ ไมทา่ นจงึ ยัง รกั ษาธดุ งควตั รอยา่ งเคร่งครดั ทกุ ข้อ ทา่ นว่าทา่ นต้องการให้ เป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนพระรุ่นหลัง  เพราะถ้าพระผู้ใหญ่ พากนั เลกิ ขอ้ วตั รปฏิบัติท้งั หลาย หลังจากการปฏบิ ัติประสบ ความส�ำ เร็จแลว้ มาอยู่แบบสะดวกสบาย ทา่ นเกรงวา่ จะ ทำ�ให้คนเข้าใจวา่ การอยู่แบบสขุ สบายเป็นผลพลอยได้หรอื เปน็ เปา้ หมายของการปฏิบตั ิ 78 อกั ษรส่อสาร

ถ้าปฏิบตั ิไปถึงข้นั น้นั ขัน้ น้แี ลว้ สามารถอย่สู บายๆ ได้ จะกลายเปน็ ว่า อยากบรรลเุ พื่อจะได้สบาย หรอื บางท่าน อาจหลงตัวเองว่าบรรลุแล้ว  ก็เลยละข้อวัตรปฏิบัติทุกอย่าง อ้างว่าไม่จำ�เป็นแล้ว  ตัวเองหมดกิเลสแล้ว  ไม่ต้องทรมาน ฝึกตัวเองอกี ตอ่ ไป ฉะนัน้ เพื่อเป็นการป้องกันเร่ืองเหล่านี้ หลงั บรรลุธรรมแลว้ พระอรหนั ต์ก็ยังคงรกั ษาขอ้ วตั รปฏิบตั ิ ไว้อย่างเข้มงวดกวดขันเหมือนแต่ก่อน  ทั้งๆ  ที่ท่านไม่ จำ�เปน็ ตอ้ งทำ�เช่นน้ัน แต่ท่านท�ำ เพอ่ื เป็นตวั อย่างท่ดี ี น่คี ือ ความเมตตาและความไม่ประมาทของพระอรหันต์  ท่าน สงสารและหวังดีต่อเพื่อนมนุษย์  โดยเฉพาะเพื่อนมนุษย์ที่ ยงั ไม่เกิด ฉะนัน้ เราควรจะเอาพระอรหันต์เป็นแบบอย่าง ไม่ วา่ เราท�ำ อะไร เราตอ้ งคดิ ถงึ ผลทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคตดว้ ย วัฒนธรรมของเราไม่ใช่ของตายตัว  มันเปลี่ยนแปลง อยตู่ ลอดเวลา ถา้ เราไมร่ กั ษาหลกั การเอาไว้ มนั กจ็ ะเสอ่ื มได ้ อาตมาสังเกตว่า  ทุกวันนี้วัฒนธรรมของหมู่บ้านเราหลาย อย่างเส่ือมไป เด็กวยั รุน่ เหน็ พระ แค่จะไหวก้ ็ยงั ไมไ่ หว้เลย ซ่ึงสมยั ก่อนไมไ่ ด้เปน็ อยา่ งนี้ ตอนอาตมามาใหม่ๆ ชาวบ้าน ชยสาโร ภิกขุ 79

แม้จะเปน็ เด็กวยั รนุ่ ก็ตาม ถ้าถีบจักรยานอยู่ เม่อื เหน็ พระ กจ็ ะลงจากจักรยานมานัง่ ลงแล้วไหว้ ทุกคนเห็นพระเดิน ผ่านกน็ ง่ั ลงไหว้ ทุกวนั นไี้ ม่สนใจเลย จึงไมแ่ ตกต่างอะไร จากกรุงเทพหรอื ตา่ งประเทศ แล้วมนั เป็นความผดิ ของใคร พวกเราผู้ที่มีศรัทธาแล้ว  เข้าใจในเร่ืองบุญ  ท่ีเกิดจากการ แสดงความเคารพตอ่ ผู้ทคี่ วรเคารพ แตถ่ า้ เราไมเ่ น้นสอนลูก สอนหลาน ไม่อธิบายเหตผุ ลให้ลูกใหห้ ลานฟัง เขากจ็ ะไมม่ ี ความรู้สึกรสู้ ม บางคนตอ้ งเริ่มตน้ จากการปลกู ฝงั ด้านใน ให้ เกิดศรัทธา มีความเคารพแลว้ จึงน�ำ ไปส่กู ารแสดงออกทาง ด้านนอก ซึ่งจะดีทีส่ ดุ แต่สำ�หรับหลายๆ คนที่ยังเข้าไม่ถึง ด้านใน  ก็ต้องเร่ิมจากด้านนอกก่อน  ก็สอนให้แสดงความ เคารพทางกายทางวาจากอ่ น เพ่ือเปน็ ฐานให้คอ่ ยๆ ซมึ ซบั เข้ามาถึงจิตใจ เราก็จะสามารถรักษาความงดงามของสงั คม เราไวไ้ ด้ พระพุทธองค์ทรงสอนว่า  ผู้ท่ีเคารพและแสดงความ เคารพตอ่ ผู้ใหญ่ ผนู้ ัน้ ยอ่ มไดบ้ ุญ ฉะนนั้ ถา้ เราต้องการใหต้ ัว เราเองได้บุญ  ต้องการให้ลูกให้หลานได้บุญ  ก็ต้องมีสัมมา 80 อักษรส่อสาร

คารวะ  อันเป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทย  โดยเฉพาะสังคม อสี านของเรามานมนานแล้ว แตท่ กุ วันน้ชี ักจะเลอะเลอื นจน เกือบจะหมดไปเสียแล้ว  ท่านจึงต้องการให้เราไม่ประมาท ในเร่อื งน้ี อย่าไดป้ ล่อยปละละเลย เพราะวฒั นธรรมท่ีดีงาม มันเปล่ียนไปได้ ความรูส้ กึ นึกคิดของคนย่อมเปล่ียนได้ ถ้า เราไม่สนใจรักษาไว้ใหด้ ี ความไม่ประมาทเป็นคุณธรรมท่ีพระพุทธองค์ทรง ยกยอ่ งมาก อยากใหเ้ ราทกุ คนพิจารณาในเรอ่ื งน้ี ความไม่ ประมาทเปน็ อมตะธรรม คอื เปน็ ธรรมส่คู วามไมต่ าย สว่ น ความประมาทเป็นทางไปสู่ความตาย  คนท่ีไม่ประมาท เหมือนคนไมต่ าย คนทีป่ ระมาทเหมือนคนทีต่ ายแลว้ เมอ่ื ประมาทแล้ว กจ็ ะไม่คิดไม่ทำ�อะไรๆ ทีส่ รา้ งสรรค์ ไมไ่ ดท้ �ำ อะไรที่เปน็ ประโยชน์แก่ใครเลย ชีวิตไมม่ คี ณุ คา่ อะไร ไม่ตา่ ง จากคนท่ตี ายแล้ว เน่ืองจากคนไทยมีความสัมพันธ์กับช้างมาก  จึงมี ศัพท์มีสำ�นวนเกยี่ วกบั ช้างมากมาย เชน่ ฆ่าชา้ งเอางา คือ ชยสาโร ภิกขุ 81

ทำ�ลายสิ่งท่ีมีคุณค่าด้วยความโลภ  เพื่อจะได้กำ�ไรเพียงนิด เดียว เรอ่ื งทำ�นองนีม้ ใี หเ้ ห็นมากมายในสงั คมปจั จบุ นั หรือ อยา่ งทกี่ ล่าวถึงทรพั ยากรธรรมชาติ การพัฒนาประเทศชาติ แบบทุนนิยม  หรือแบบอุตสาหกรรม  นำ�มาสู่การทำ�ลาย ธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและทำ�ลายประเทศ  เพื่อสร้างกำ�ไร ให้แก่คนกลุ่มน้อยไม่กี่คนหรืออาจจะคนกลุ่มเดียวก็เป็นได้ โดยที่คนส่วนใหญ่ไม่ได้ประโยชน์หรืออาจจะสูญเสียด้วย เรียกวา่ ฆ่าชา้ งเอางาโดยแท้ นอกจากน้ียังมคี �ำ พังเพยทว่ี ่า ชา้ งสาร งเู หา่ ข้าเก่า เมียรัก ไว้ใจไมไ่ ด้ อาตมาว่าควรจะรวมถงึ ผัวรกั ด้วย ไม่ใช่ เมยี รักอย่างเดยี ว ช้างสารตัวใหญก่ บั งูเหา่ น่ี ทกุ คนคงกลัว อยู่แล้ว  แต่ข้าเก่ากับเมียรักหรือผัวรัก  คนคงคิดว่าจะ ประมาทได้ ขา้ เกา่ คอื ทาสเกา่ คนรับใช้เกา่ ซง่ึ จะแปรพักตร์ หรอื ทรยศเม่อื ไหร่กไ็ ด้ เมยี รักผัวรักก็เชน่ เดียวกัน ถ้าลงว่า ไม่มีศีลธรรมไม่มีความจงรักภักดี ก็ย่อมแปรเปลี่ยนเป็น อนื่ ได้ จงึ ตอ้ งระมัดระวงั ไวใ้ หด้ ี 82 อกั ษรสอ่ สาร

โบราณว่า  เห็นช้างข้ี  อย่าไปข้ีตามช้าง  คือให้รู้จัก ความพอดี รู้จกั ความสามารถของตวั เอง อย่าไปดูคนอน่ื ท่ี เกง่ กวา่ เราหรือมีฐานะดกี ว่าเรา แลว้ คดิ ว่าเราจะท�ำ แบบเขา ทุกอย่าง เรากร็ ู้ของเราอยู่ ไม่ต้องไปเปรยี บเทียบกับคนอ่นื รู้ ความพอดีของตวั เราเอง ถ้าเรามคี วามสันโดษ มคี วามพอใจ กับส่ิงที่มีอยู่  จิตใจของเราจะมีเวลาที่จะคิดในทางท่ีเป็น ประโยชน์  แต่ถ้าเราเอาแต่มองคนอ่ืนท่ีมีมากกว่าเรา  หรือ สูงส่งกว่าเรา  แลัวมัวแต่คิดหมกมุ่นว่า  ทำ�อย่างไรจึงจะได้ เหมือนเขาหรือจะได้มากกว่าเขา  แล้วเกิดความไม่พอใจกับ ส่ิงทีต่ นมีอยู่ จติ ใจวา้ วนุ่ เต็มไปดว้ ยความคิดทเี่ ป็นอกุศล ถา้ เรารู้จักทำ�ใจให้พอใจกับส่ิงท่ีตัวเองได้มาด้วยความซ่ือสัตย์ สุจรติ แลว้ จงึ จะนับว่าใช้ได้ พออยพู่ อกิน คอ่ ยเป็นค่อยไป จิตใจเราก็จะสว่างขึ้นมา  มีเวลาท่ีจะไปคิดในทางที่เป็นบุญ เป็นกุศล  ประหยัดเวลา  ประหยัดแรงความคิด  ประหยัด แรงกาย แรงวาจา แรงใจ เมื่อประหยัดแล้ว เรากจ็ ะมีแรง มีกำ�ลังท่จี ะสร้างคุณงามความดี ฉะน้ันเหน็ เขาท�ำ อะไร เขา ชยสาโร ภกิ ขุ 83

มอี ะไร ก็ไม่ต้องไปสนใจเขามาก ให้สนใจแต่คุณภาพชีวิต ของเรา คุณภาพชีวิตทไ่ี ม่ได้อยทู่ ี่วตั ถุ หากอยทู่ ่ีจติ ใจ ใจท่ี เตม็ ไปดว้ ยกเิ ลส พอใจท่ีจะสง่ั สมวัตถุ ยอ่ มเป็นพษิ เปน็ ภยั แก่เราได้ หากมีกเิ ลสน้อยและอยู่อยา่ งเรยี บง่าย จิตใจจะมี โอกาสก้าวหนา้ ในธรรม ญ.หญิง ในสมยั พทุ ธกาลมผี หู้ ญงิ ทเ่ี กง่ เปน็ จ�ำ นวน มาก อาตมาจะเลา่ เรอื่ งหญงิ เกง่ ๒ คน คือ นางสามาวดี และ นางขุชชุตตรา ในพระไตรปฎิ ก มพี ระสูตรเพยี งเล่ม เดียวที่ไม่ได้เริ่มต้นด้วยคำ�ว่า  “เอวัมเมสุตัง”  ซึ่งเป็นคำ� กล่าวของพระอานนท์  พระไตรปิฎกเล่มนี้ไม่ได้มาจาก ความทรงจำ�อนั ยอดเยีย่ มของพระอานนท์ หากเป็นบันทกึ จากความทรงจำ�ของหญิงชาวบ้านธรรมดาคนหน่ึง  ชื่อ ขุชชุตตรา ซงึ่ ท�ำ งานรบั ใชเ้ จ้านายผมู้ ีนามวา่ สามาวดี 84 อักษรส่อสาร

สามาวดีอยู่กับพ่อแม่ในชนบท  เมื่อเกิดโรคระบาด จึงได้อพยพเข้าเมืองใหญ่  คือเมืองโกสัมพี  ต้องอุปัฏฐาก คณุ พ่อคณุ แม่ เงินทองก็ไม่มี จึงตอ้ งไปขออาหารที่โรงทาน ซ่ึงมี มติ ตะ เปน็ ผู้บรหิ าร โรงทานนี้แจกอาหารใหก้ บั คนท่ี ไมม่ ีอาหารกนิ แต่การบรหิ ารงานไม่คอ่ ยมีระเบยี บสักเท่า ไหร่ วนั แรกสามาวดเี ขา้ ไปขออาหาร ๓ สว่ น มติ ตะกไ็ มว่ ่า อะไร วันท่ี ๒ ไปขอ ๒ ส่วน วันที่ ๓ ไปขอเพียงส่วนเดียว มิตตะถามนางว่า  รู้จักประมาณแล้วหรือ  เพราะเขามอง คนในแง่ร้าย  คิดว่าวันแรกสามาวดีขออาหารปริมาณมาก แลว้ กท็ านไมห่ มด วนั ท่ี ๒ ยงั คงตะกละอยู่ กเ็ ลยยงั ขอ มากกว่าท่ีควร จนวนั ท่ี ๓ ถึงรู้จักขอเทา่ ท่พี อดี สามาวดจี ึง บอกวา่ วนั แรกเรามกี ัน ๓ คนพ่อแมล่ กู แต่คณุ พอ่ ตายใน วันแรกนัน้ เหลืออยูส่ องคนแม่ลกู เม่อื วานจงึ มาขออาหาร เพยี ง ๒ ส่วน แล้วคุณแม่เสยี เมื่อคืนนี้ วันน้ีจึงเหลือแตต่ น คนเดียว มติ ตะฟงั แลว้ เสียใจมากที่ปากไมด่ ี มองคนอนื่ ใน แง่รา้ ย เลยขอรบั เล้ยี งสามาวดีเป็นลูกสาวแล้วให้เข้ามาอยู่ ในบา้ น ชยสาโร ภกิ ขุ 85

สามาวดเี ปน็ คนมคี วามสามารถหลายอยา่ ง นอกจาก เป็นคนหน้าตาดีแล้ว  ยังเป็นคนน่ารักและเรียบร้อย  เป็น ผู้บริหารท่ีเก่งด้วย  จึงได้ช่วยมิตตะดูแลโรงทาน  ในไม่ช้า การบริหารโรงทานก็มีระเบียบเรียบร้อยราบรื่น  การแจก อาหารกเ็ ปน็ ระเบยี บ เงยี บสงบ ไมม่ ใี ครพูดใครจา กลาย เป็นทร่ี ่�ำ ลือกลา่ วขานกันทว่ั อ�ำ มาตยท์ อ่ี ยูใ่ นวังช่อื โฆสกะ ได้ยินคำ�ร่ำ�ลือน้ีจึงแวะไปดูโรงทาน  เขาเกิดประทับใจเม่ือ เห็นสามาวดี  รู้สึกรักและอยากจะรับเป็นลูกสาว  จึงขอ สามาวดีจากมิตตะ  มิตตะเองก็ทุกข์ใจ  ไม่อยากจะให้ โฆสกะเอาสามาวดีไป  เพราะรักสามาวดีเสมือนเป็นลูก สาวจริงๆ  แต่มิตตะเป็นผู้มีเมตตา  ชื่อมิตตะก็หมายถึง ผู้มีเมตตา  แม้จะเสียดายลูกสาวมาก  แต่เขาก็ต้องการให้ ลูกมีความสุข  เขาคิดว่าถ้าไปอยู่กับโฆสกะ  ซ่ึงอยู่ใน ตระกูลสูง สามาวดีจะมอี นาคตทีด่ กี วา่ นอกจากน้ี สามาวดี มเี อกลกั ษณท์ เ่ี ปน็ ผมู้ เี มตตามาก  ไมว่ า่ จะไปทไ่ี หน  กจ็ ะเปน็ ที่รักของผู้พบเห็น  มิตตะจึงตกลงยกสามาวดีให้โฆสกะ 86 อักษรสอ่ สาร

เมอ่ื โฆสกะไดเ้ ลย้ี งดสู ามาวดี เขาไดเ้ หน็ นสิ ยั ดๆี ของลกู สาว เขาจงึ ยง่ิ รกั และเมตตาสามาวดี วันหน่งึ พระราชาชื่ออุเทนไดเ้ หน็ สามาวดี ทอดแรก ของพระเนตร นรี่ าชาศพั ทแ์ บบอาตมา พระองคเ์ กิดความ รักแบบวา่ love at first sight คราวน้ีไม่ตอ้ งการขอเป็น ลูกสาว  แต่พระองค์ต้องการได้สามาวดีเป็นภรรยา  เป็น ความรักคนละแบบ  โฆสกะก็ไม่ยอมยกให้เพราะเสียดาย ลูกสาว  พระเจ้าอุเทนเป็นพระราชาที่ใจร้อนและข้ีโกรธ เม่ือไม่ได้ส่ิงที่อยากได้ก็โกรธ  จึงส่ังเนรเทศโฆสกะ  โดย ไม่ให้ลูกสาวติดตามไปด้วย  จะยึดทรัพย์และทำ�ทุกสิ่งทุก อย่างด้วยความโกรธเพ่ือให้โฆสกะเจ็บใจ  สามาวดีสงสาร พ่อโฆสกะ  จึงบอกว่าสมัครใจจะเป็นภรรยาของพระเจ้า อเุ ทน เมือ่ พระเจ้าอเุ ทนได้สามาวดีเป็นภรรยา ก็ยกโทษให้ โฆสกะและให้กลบั มารับตำ�แหน่งเดมิ สามาวดเี ปน็ ภรรยาท่ี๓ของพระเจา้ อเุ ทนภรรยาเดมิ ๒ องค์ พระเจา้ อุเทนไม่ค่อยรกั สักเท่าไหร่ โดยเฉพาะองค์ที่ ชยสาโร ภกิ ขุ 87

๒ ทีช่ อ่ื มาคันทิยา ซึง่ เปน็ คนไม่ดี เกลียดชังพระพทุ ธศาสนา มาก  โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เกลยี ดชงั พระพทุ ธเจา้ เพราะเดมิ น้ันคุณพ่อคุณแม่ของมาคันทิยาต้องการจะยกลูกสาวท่ีตน เหน็ ว่าสวยทส่ี ดุ ในประเทศใหพ้ ระพทุ ธเจา้ โดยที่ไมเ่ ขา้ ใจ เร่ืองวินัยสงฆ์  เขาเห็นว่าพระพุทธเจ้าเป็นผู้ใหญ่ที่ผู้คน เคารพนับถือกันมาก ใครๆ ลว้ นกล่าวถึง จึงตอ้ งการยก ลูกสาวให้ท่าน  พระพุทธองค์ไม่ทรงยอมรับ  แล้วทรง กล่าวถึงความน่าเกลียดความสกปรกของร่างกาย  ทรง ส่ังสอนเรื่องอสุภะอสุภัง  ส่งผลให้พ่อแม่ของมาคันทิยา บรรลุธรรมเป็นอนาคามี  ส่วนลูกสาวกลับบรรลุความ น้อยใจเป็นอย่างยิ่ง  ไม่ได้บรรลุธรรม  หากบรรลุอธรรม เธอโกรธเกลียดและอคติผูกพยาบาทต่อพระพุทธเจ้าและ พระพุทธศาสนามาก ดว้ ยความท่เี ธอหน้าตาดี ตอ่ มาจึงได้ เป็นภรรยาองคท์ ี่ ๒ ของพระเจ้าอุเทน เม่อื แรกท่พี ระเจ้าอุเทนมีภรรยาคนใหม่น้นั   นางมา คนั ทยิ ากย็ งั ไมไ่ ดค้ ดิ อะไร ถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งธรรมดา สามาวดี มีคนรับใช้อยู่คนหน่ึงคือนางขุชชุตตรา  ซ่ึงมีหน้าท่ีไป 88 อักษรสอ่ สาร

ซ้ือดอกไม้ท่ีตลาดทุกวันโดยสามาวดีให้เงินไปวันละ  ๘ กหาปณะ  ขชุ ชตุ ตราเหน็ วา่ สามาวดไี มร่ รู้ าคาดอกไม ้ จงึ ซอ้ื ดอกไมแ้ ค่ ๔ กหาปณะ เกบ็ อกี ๔ กหาปณะไวใ้ ชส้ ว่ นตวั แลว้ หลอกเจา้ นายวา่ จา่ ยคา่ ดอกไมท้ ง้ั ๘ กหาปณะ ซง่ึ เปน็ การ โกหก ผดิ ทง้ั ศลี ขอ้ ๒ และขอ้ ๔ วนั หนง่ึ เจา้ ของรา้ นดอก ไม้บอกขุชชุตตราว่า  วันน้ที ่บี ้านมีงานทำ�บุญเล้ยี งพระ  ได้ นมิ นตพ์ ระพทุ ธเจา้ มารบั อาหารในรา้ น ขอเชญิ ขชุ ชตุ ตรามา ฟงั เทศนด์ ว้ ย ขชุ ชตุ ตรากร็ บั ค�ำ เชญิ เมอ่ื ไดเ้ หน็ พระพทุ ธเจา้ และพระสาวก  ขชุ ชตุ ตรากเ็ กดิ ความเลอ่ื มใส และเมอ่ื ไดฟ้ งั พระพุทธโอวาท  ก็บรรลุเปน็ พระโสดาบนั   พวกเราสังเกต อะไรไหม ผถู้ อื ศลี ไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ ขาดทง้ั ขอ้ ๒ และขอ้   ๔  ยงั มี บญุ บารมเี พยี งพอทจ่ี ะบรรลโุ สดาบนั ได้ เพราะฉะนน้ั พวก เราทง้ั หลายซง่ึ เคยผดิ พลาดบา้ ง  เคยผดิ ศลี บา้ ง  ถอื วา่ ยงั มี หวังทีจ่ ะบรรลธุ รรม เพียงแต่อยา่ ไดท้ �ำ ผดิ อีกตอ่ ไป พระโสดาบันมีคุณธรรมข้อหน่ึงคือมีศีลเป็นท่ีพอใจ ของพระอริยเจ้า  ท่านอาจจะยังผิดศีลข้อปลีกย่อยได้  แต่ พระโสดาบันจะไม่ปิดบังอำ�พรางความผิดของตน นเ่ี ปน็ ชยสาโร ภกิ ขุ 89

ความแตกตา่ งทช่ี ดั เจนมาก เมอ่ื ขชุ ชตุ ตราบรรลเุ ปน็ โสดาบนั แล้ว  เม่ือกลับเข้าวังทุกคนสังเกตเห็นความผ่องใสของเธอ เธอเข้าไปกราบสามาวดี แล้วสารภาพว่า ดอกไม้ที่ซื้อทุก วันท่ีจรงิ ราคาแค่ ๔ กหาปณะ สว่ นอกี ๔ กหาปณะนั้นนาง เก็บไวใ้ ชเ้ อง เปน็ เชน่ นีท้ กุ วัน อาตมาเชอื่ ว่าเงินท่ีเก็บไวน้ น้ั นางคงจะสง่ ไปชว่ ยคณุ พอ่ คณุ แมท่ บ่ี า้ น ในคมั ภรี ไ์ มไ่ ดบ้ อก ไว้นะ  แต่อาตมาสันนิษฐานเองจากประสบการณ์ที่มีใน เมอื งไทยปจั จุบนั เม่ือขชุ ชตุ ตราไดเ้ ลา่ เรอื่ งราวให้สามาวดฟี ัง สามาวดี ก็เกิดความเล่ือมใสศรัทธาและสนใจมาก  แต่สามาวดี ไม่สามารถออกนอกวังเพราะผิดระเบียบประเพณี  จึง ตกลงให้ขุชชุตตราไปวัด  เพื่อฟังพระธรรมเทศนาจาก พระพุทธเจ้าทุกวัน  แล้วให้จำ�ทุกคำ�ท่ีท่านเทศน์เพ่ือนำ� กลับมาถ่ายทอด  จึงกลายเป็นธรรมเนียมท่ีขุชชุตตราจะ เข้าวัดทุกวัน  ซึ่งในปีน้ันพระพุทธเจ้าทรงจำ�พรรษาอยู่ โกสมั พี เม่ือกลับมาที่วัง ทงั้ ๆ ทีเ่ ปน็ เพยี งคนรับใช้ แต่ ขุชชุตตราก็ได้รับเกียรติให้นั่งในที่สูงเพ่ือเป็นการให้เกียรติ 90 อักษรส่อสาร

พระธรรม  ต่อมาได้มีการนิมนต์พระอานนท์เข้ามาเทศน์ ในวัง เมื่อนางสามาวดีไดฟ้ งั ธรรมจากพระอานนท์ นางก็ บรรลุโสดาบัน  ตลอดจนคนอื่นๆ  ในวังก็ได้ทะยอยบรรลุ ธรรมกันถว้ นหนา้ มีเพียงผู้เดียวที่ได้ฟังธรรมแต่ไม่สามารถบรรลุธรรม ได้ คือ มาคันทยิ า ซ่งึ แต่แรกยงั ไมไ่ ดค้ ิดรา้ ยต่อสามาวดี หากบัดน้ีเริ่มจะมีอคติเสียแล้ว  นอกจากสามาวดีจะเป็น ภรรยาท่ีพระเจ้าอุเทนทำ�ท่าว่าจะรักมากกว่าคนอ่ืนแล้ว นางยังเป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้าด้วย  แล้วยังพาให้คนอื่น ไปหลงพระพทุ ธเจา้ ดว้ ย มาคนั ทยิ าไมไ่ ดม้ องวา่ เป็นความ เล่ือมใส  หากเห็นว่าเป็นความหลง  จึงเริ่มคิดวางแผนจะ ท�ำ ลายสามาวดี โดยพดู คยุ กบั พระเจ้าอเุ ทนท�ำ เป็นหว่ งว่า คนทห่ี นา้ ตาดีและทา่ ทางมีเมตตา แตล่ กึ ๆ แล้วอาจจะไม่ เป็นอย่างที่เห็น  สามาวดีอาจจะคิดร้ายกับพระองค์ก็ได้ นางพยายามพูดให้พระเจ้าอุเทนเกิดระแวงหรือรังเกียจ สามาวดี แตว่ ธิ นี ไ้ี มไ่ ดผ้ ล เพราะพระเจา้ อเุ ทนรวู้ า่ เมยี คนน้ี เป็นคนใจดแี ละมีเมตตามาก เมอ่ื ไม่ไดผ้ ล มาคนั ทยิ ากใ็ ช้ ชยสาโร ภกิ ขุ 91

วิธีการอืน่ ๆ เช่น จา้ งคนในตลาดไปใสร่ า้ ยพระพทุ ธเจา้ และพระสาวก  ไม่นานชาวโกสัมพีก็เร่ิมรังเกียจพระสงฆ์ กลายเป็นเร่ืองอ้ือฉาวในตลาด  กระทั่งพระอานนท์ยัง หว่นั ไหว ไปกราบทูลพระพทุ ธเจ้าว่า เรายา้ ยไปอยู่ทอี่ ่นื ดีไหมพระพุทธเจ้าข้า  ทุกวันน้ีรู้สึกว่าชาวโกสัมพีไม่ค่อย จะศรัทธา เขาเช่อื ว่าเราเปน็ ผ้ทู ุศลี พระพทุ ธองค์รับส่ังให้ สงบใจไว้ เรอื่ งจะคลค่ี ลายไปในทางท่ีดี ซ่งึ ต่อมาไม่นานก็ เป็นไปตามทีพ่ ระพทุ ธองค์ทรงพยากรณ์ ประชาชนไดเ้ หน็ เองว่า พระเหล่านีไ้ ม่ได้เป็นอยา่ งที่มีคนใสร่ ้าย จงึ กลบั มา ศรทั ธาเหมือนเดมิ มาคันทิยาคิดวางแผนว่าจะทำ�อย่างไรต่อไปดี  ปกติ แลว้ พระเจา้ อเุ ทนจะแบง่ เวลาให ้ ภรรยาคนละหนง่ึ สปั ดาห์ อาทติ ยห์ นง่ึ ทา่ นจะอยกู่ บั ภรรยาคนท่ี ๑ อาทติ ยถ์ ดั ไปจะอยู่ กบั ภรรยาคนท่ี ๒ ผลดั เวรกนั ไป เมอ่ื ถงึ สปั ดาหท์ จ่ี ะไปอยกู่ บั สามาวดี มาคนั ทยิ ากเ็ อางพู ษิ ไปซอ่ นไวใ้ นหอ้ งของสามาวดี  พระเจา้ อเุ ทนพบงใู นหอ้ ง  จึงเช่ือว่าภรรยาคนนี้มีเจตนาจะ 92 อักษรสอ่ สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook