Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore afood

Description: afood

Search

Read the Text Version

อาหารเพ่ือชีวติ และความงาม บทที่ 1 อาหารและคุณค่าทางโภชนาการ รองศาสตราจารย์ ดร. สรรพสิทธ์ิ กล่อมเกล้า สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี าหาร คณะเทคโนโลยแี ละการพฒั นาชุมชน มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ วทิ ยาเขตพทั ลุง E-mail: [email protected]

1. บทนา 1.1 ความหมายและความสาคญั ของอาหารและโภชนาการ • อาหาร: สิ่งที่มนุษยเ์ รากินโดยไม่เป็ นพษิ ต่อร่างกายแต่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซ่อมแซมสิ่งท่ีสึกหรอ และทาใหก้ ระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายดาเนินไปอยา่ ง ปกติ ซ่ึงรวมถึงน้าดว้ ย • โภชนาการ: เป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท่ีเกี่ยวข้องกับระบบการ เปล่ียนแปลงทางฟิ สิกส์ และเคมีของอาหารและสารอาหารในร่างกายของ ส่ิงมีชีวิต รวมท้งั การพฒั นาการของร่างกายอนั เกิดจากการใชส้ ารอาหารเพื่อไป หล่อเล้ียงเซลล์ เน้ือเยอื่ และควบคุมการทางานของอวยั วะต่าง ๆ ในร่างกายและ การขบั ถ่ายของเสียออกจากร่างกาย 2

1. บทนา 1.1 ความหมายและความสาคญั ของอาหารและโภชนาการ • ส่วนประกอบทางเคมีของอาหาร เรียกวา่ สารอาหาร (nutrient) • มีความสาคญั ต่อมนุษย์ เพราะ - มีส่วนทาใหเ้ กิดพลงั งาน - สร้างความเจริญเติบโต - ช่วยใหอ้ วยั วะต่าง ๆ ทางานไดต้ ามปรกติ - เช่น เม่ือคนกินข้าว น้าตาล เผือก มัน ได้สารอาหารคาร์โบไฮเดรต ช่วยให้ร่างกายมี พลงั งาน กินผลไมแ้ ละผกั สดไดว้ ติ ามินและเกลือแร่ ซ่ึงสาคญั ต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย - ความตอ้ งการสารอาหารในร่างกายมนุษยแ์ ตกต่างกันไป ข้ึนกบั เหตุผลหลายประการ เช่น เพศ วยั ต่าง ๆ นอกจากน้ียงั เก่ียวขอ้ งกบั ภาวะต่าง ๆ ของบุคคล เช่น หญิงต้งั ครรภแ์ ละหญิงใหน้ ม บตุ ร 3

1. บทนา 1.1.2 การจาแนกสารอาหารต่าง ๆ ตามหน้าทใี่ นร่างกาย • ประเภทสร้างและซ่อมแซมร่างกาย - โปรตีน เกลือแร่ และน้า • ประเภทใหพ้ ลงั งานและความอบอุ่น - คาร์โบไฮเดรต ไขมนั และ โปรตีน • ประเภทควบคุมการทางานต่าง ๆ ของร่างกายใหเ้ ป็นปกติ - คาร์โบไฮเดรต ไขมนั โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน และน้า 4

1. บทนา 1.3 สารอาหารทจ่ี าเป็ นต่อร่างกาย • คือ สารอาหารที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ไดต้ อ้ งไดร้ ับจากอาหารเท่าน้นั • เม่ือร่างกายไดร้ ับคาร์โบไฮเดรต ไขมนั และโปรตีน จะถูกออกซิไดซ์ทาให้เกิด พลงั งานและความร้อน • แต่ร่างกายไม่สามารถใชส้ ารอาหารท้งั 3 ชนิดพร้อมกนั • ร่างกายจะใช้คาร์โบไฮเดรตเป็ นอันแรก เม่ือไม่เพียงพอจะใช้ไขมัน ซ่ึงไขมัน นอกจากจะเป็ นสารอาหารทใี่ ห้พลงั งานแล้ว ยงั ให้กรดไขมนั จาเป็ นแก่ร่างกายด้วย • ถ้าร่างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตและไขมนั ไม่เพยี งพอ จึงจะออกซิไดซ์โปรตนี ให้เป็ น พลงั งานต่อไป 5

หมู่ที่ 1 ไดแ้ ก่ เน้ือสตั วต์ ่าง ๆ ไข่ 2. อาหารหลกั 5 หมู่ของประเทศไทย นม ถวั่ เมลด็ แหง้ ฯลฯ หมู่ท่ี 2 ไดแ้ ก่ ขา้ ว แป้ง น้าตาล หวั เผอื ก หวั มนั ฯลฯ หมู่ท่ี 5 ไดแ้ ก่ น้ามนั หมู่ที่ 3 ไดแ้ ก่ ผกั ใบเขียว และไขมนั จากพืชและสตั ว์ และพืชผกั ต่าง ๆ หมู่ท่ี 4 ไดแ้ ก่ ผลไมต้ ่าง ๆ 6

- Water 3. องค์ประกอบทางเคมอี าหาร - Protein - Carbohydrate - Lipid - Mineral -Vitamin 7

3. องค์ประกอบทางเคมอี าหาร ตารางที่ 1 ปริมาณองคป์ ระกอบหลกั ของอาหาร อาหาร องคป์ ระกอบเคมี (กรัม/100 กรัมอาหาร) น้า คาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน เถา้ นม 88 4.7 3.6 3.3 0.1 ไข่ 74 0.9 11.5 12.5 0.1 ปลาแฮริง 66 0 15.0 16.0 1.0 แอปเปิ ล 85.8 12.2 0 0.3 0.1 กะหล่าปลี 92 5.0 0 1.5 0.1 8

3. องค์ประกอบทางเคมีอาหาร หน้าท่ีพืน้ ฐานขององค์ประกอบทางเคมีของอาหาร - ช่วยการเจริญเติบโตและซ่อมแซมเน้ือเย่ือ ซ่ึงเป็ นการรักษาสภาพของ โครงสร้างร่างกายได้ - ใหพ้ ลงั งานแก่ร่างกาย เพอ่ื ดาเนินกิจกรรมท้งั ภายนอกและภายในร่างกาย - ควบคุมกระบวนการทางานต่าง ๆ ในร่างกายใหด้ าเนินไปดว้ ยดี 9

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร - Water - Protein - Lipid - Carbohydrate - Mineral -Vitamin 10

3. องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร 3.1 น้าในอาหาร • หน้าทข่ี องนา้ ในส่ิงมชี ีวติ • พชื ใชน้ ้าและคาร์บอนไดออกไซดใ์ นการสงั เคราะห์แสง • คนและสัตวใ์ ชน้ ้าช่วยลาเลียงอาหารและของเสียในร่างกาย • เป็นตวั กลางของปฏิกิริยาต่าง ๆ เช่น ปฏิกิริยา hydration, dehydration, hydrolysis • น้าเป็น reactant • เป็นตวั ทาละลาย 11

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร ตารางท่ี 2 ปริมาณน้าในอาหารชนิดต่าง ๆ อาหาร ปริมาณน้าในอาหาร (ร้อยละ) เน้ือหมู (ดิบ) 53-60 เน้ือววั (ดิบ) 50-70 เน้ือไก่ (ดิบ) 74 เน้ือปลา 65-81 เชอร่ี แพร์ 80-85 แอปเปิ ล พชี สม้ 90 สตอเบอรี่ มะเขือเทศ 90-95 อโวกาโด กลว้ ย 74-80 บรอกโคลี แครอท มนั ฝรั่ง 85-90 หน่อไมฝ้ ร่ัง กะหล่าปลี กะหล่าดอก 90-95 ขนมปัง 35 แยม 28 น้าผ้งึ 20 12

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร 3.2 โปรตีนในอาหาร • โปรตีนเป็นสารประกอบอินทรียท์ ่ีสาคญั ที่มีอยใู่ นสิ่งมีชีวติ ทุกชนิด • เป็นแหล่งของกรดอะมิโนซ่ึงใชใ้ นการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอ • ทาหนา้ ที่เป็นส่วนประกอบโครงสร้างของร่างกาย • โปรตีนบางชนิดทาหน้าที่ควบคุมปฏิกิริ ยาทางเคมีภายในร่างกาย เช่น เอนไซม์ และฮอร์โมน • กรดอะมิโนยงั ใหก้ ลิ่นรสของอาหาร และเป็นสารเริ่มตน้ ของสารประกอบให้ กลิ่นและสีซ่ึงเกิดข้ึนในระหวา่ งกระบวนการแปรรูป และเกบ็ รักษาดว้ ย 13

3. องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร 3.2 โปรตนี ในอาหาร • โปรตีนเป็นสารประกอบเคมี ซ่ึงประกอบดว้ ย N, C, H, O และ S • บางชนิดพบ P • หน่วยที่เลก็ ที่สุดในโมเลกลุ โปรตีนเรียกวา่ amino acid • โปรตีนจึงเป็นพอลิเมอร์ของกรดอะมิโนที่เชื่อมต่อกนั ดว้ ยพนั ธะเปปไทด์ (peptide bond) เป็นสายยาว เรียกวา่ พอลิเปปไทด์ (polypeptide chain) 14

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร 3.3 คาร์โบไฮเดรต • จาแนกตามโครงสร้างของโมเลกุลไดเ้ ป็น 3 กลุม่ 1. monosaccharide (โมโนแซคคาไรด)์ 2. oligosaccharide (โอลิโกแซคคาไรด)์ - disaccharide (ไดแซคคาไรด)์ 3. polysaccharide (พอลิแซคคาไรด)์ 15

3.4 ไขมนั ในอาหาร 3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร ลิพดิ • ไขมนั และน้ามนั เป็ นเอสเทอร์ชนิดหน่ึงซ่ึงมีอยู่ในธรรมชาติ จดั เป็ นสารอินทรีย์ ประเภทเดียวกบั ไข (wax) รวมเรียกวา่ ลิพิด (lipid) มีอยใู่ นพชื และสตั วท์ วั่ ไป • ไขมนั เป็ นของแขง็ ทอ่ี ุณหภูมิห้อง ส่วนนา้ มนั เป็ นของเหลว • องคป์ ระกอบของไขมนั และน้ามนั คือ กรดไขมนั และไตรไฮดรอกซีแอลกอฮอลท์ ี่ เรียกวา่ กลีเซอรอล (glycerol) 16

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร 3.4 ไขมนั ในอาหาร ลิพิด • ดังน้ันจึงเรียกไขมันและน้ามันว่า ไตรเอซิลกลีเซอรอล (triacylglycerol) หรือ ไตรกลีเซอไรด์ (triglycerides) • เนื่องจากลิพิดที่บริโภคส่วนมากอยู่ในรูปไขมนั โดยทว่ั ไปเรียก ลิพิดว่าไขมนั ซ่ึงไม่ถูกตอ้ ง เพราะไขมนั เป็นเพียงประเภทหน่ึงของลิพดิ เท่าน้นั 17

3. องค์ประกอบทางเคมขี องอาหาร 3.5 วติ ามนิ ในอาหาร • วิตามินเป็นสารอินทรียท์ ี่สาคญั ต่อสุขภาพและการเจริญเติบโต • เป็นสารที่จาเป็นสาหรับปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย • วติ ามินส่วนใหญ่ร่างกายสงั เคราะห์ข้ึนเองไม่ได้ ตอ้ งไดร้ ับจากอาหาร • อาหารแต่ละชนิดจะมีวิตามินชนิดต่าง ๆ เป็ นองคป์ ระกอบอยู่ในปริมาณมาก นอ้ ยแตกต่างกนั 18

3. องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร 3.5 วติ ามินในอาหาร ประเภทของวิตามิน • 1 Fat-soluble vitamin - วิตามินกลุ่มน้ีจะเขา้ สู่ร่างกายไดต้ อ้ งอาศยั ไขมนั เป็ นตวั ทาละลาย และร่างกาย สามารถสะสมส่วนท่ีไดร้ ับมากเกินพอไวไ้ ด้ ดงั น้นั การไดร้ ับวิตามินกลุ่มน้ีมาก เกินไปจะทาใหเ้ กิดพษิ ต่อร่างกายได้ • 2 Water-soluble vitamin - ละลายในน้า จึงดูดซึมเขา้ สู่ร่างกายไดง้ ่าย ร่างกายไม่สามารถสะสมไวไ้ ด้ ดงั น้นั ร่างกายตอ้ งไดร้ ับจากอาหารทุกวนั - หนา้ ที่สาคญั ของวิตามินกลุ่มน้ีคือ การเป็น Coenzyme ของเอนไซมท์ ี่จาเป็นใน กระบวนการสร้างและสลายของเซลล์ 19

3. องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร 3.6 แร่ธาตุในอาหาร • อาหารทุกชนิดมีแร่ธาตุเป็ นองคป์ ระกอบอยูใ่ นปริมาณที่แตกต่างกนั ผนั แปรไปตามชนิด ของอาหาร • มีท้งั ในรูปแบบสารประกอบอินทรีย์ สารประกอบอนินทรีย์ หรือรวมตวั กบั สารประกอบ อินทรียอ์ ื่น ๆ เช่น ฟอสฟอรัสรวมตวั อยู่กบั โมเลกุลของโปรตีน เรียกว่าฟอสโฟโปรตีน หรือ เหลก็ รวมตวั อยใู่ นโมเลกลุ ของฮีโมโกลบิน เป็นตน้ 20

อาหาร ปริมาณเกลือแร่โดยเฉลี่ย (มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมของส่วนท่ีบริโภค ได)้ น้านมววั เนย โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม เหลก็ ฟอสฟอรัส ไข่แดง ไข่ขาว 48 157 120 0.046 92 เน้ือววั เน้ือหมู 5 16 13 - 21 ตบั หมู ตารางที่ 3 ปริมาณแร่ธาตุในอาหาร ปลาแฮริง 51 138 140 7.2 590 แป้งสาลี มะเขือเทศ 170 154 11 0.2 21 มนั ฝรั่ง ผกั ขม 58 342 11 2.6 170 แครอท แอปเปิ ล 58 260 9 2.3 176 สตรอเบอรี 77 350 20 22.1 362 177 360 34 1.1 250 3 126 16 1.1 95 6 297 14 0.5 26 3.2 443 9.5 0.8 50 65 633 126 4.1 55 60 290 41 0.66 35 3 144 7 0.48 12 2.5 147 26 0.96 29 21

Water Protein Lipid 22

Vitamin Mineral 23

4. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารและค่าพลงั งานของอาหาร • อาหารแต่ละชนิดเขา้ สู่ร่างกายใหพ้ ลงั งานแก่ร่างกายมากนอ้ ยข้ึนกบั ปริมาณของ สารอาหาร ไขมนั โปรตีน คาร์โบไฮเดรตท่ีเป็นส่วนประกอบในอาหารน้นั • อาหารท่ีใหไ้ ขมนั สูงจะใหพ้ ลงั งานสูงสุด เช่น น้ามนั พืช ไขมนั สตั ว์ น้ามนั สลดั เนย มาการีน • อาหารที่มีน้าสูง จะมีไขมนั ต่า เช่น ผกั และผลไม้ ซ่ึงใหพ้ ลงั งานต่า 24

4. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารและค่าพลงั งานของอาหาร ตารางที่ 4 คา่ พลงั งานท่ีไดร้ ับจากสารอาหาร สารอาหาร พลงั งานที่ร่างกายไดร้ ับจริง (Kcal) คาร์โบไฮเดรต 4.0 ไขมนั 9.0 โปรตีน 4.0 25

4. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารและค่าพลงั งานของอาหาร 4.1 วธิ ีคานวณพลงั งานจากสารอาหาร • ตวั อยา่ ง เช่น ขา้ วสารหนัก 100 กรัม ประกอบดว้ ย น้า 11.8 กรัม โปรตีน 7 กรัม ไขมนั 0.7 กรัม และคาร์โบไฮเดรต 80.2 กรัม สามารถคานวณไดว้ ่า ขา้ วสาร 100 กรัม ใหพ้ ลงั งานเท่าใด พลงั งานที่ไดจ้ ากโปรตีน 4*7 = 28 Kcal พลงั งานที่เกิดจากไขมนั 9*0.7 = 6.3 Kcal พลงั งานที่เกิดจากคาร์โบไฮเดรต 4*80.2 = 320.8 Kcal ดงั น้นั ขา้ วสาร 100 กรัม ใหพ้ ลงั งาน 28+6.3+320.8 = 355.1 Kcal 26

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารท่คี วรรับใน 1 วนั 5.1 ปริมาณความต้องการพลงั งาน วยั เดก็ ก่อนเรียน (1-5 ปี ) • เด็กวยั น้ีตอ้ งการอาหารท่ีใหพ้ ลงั งานเพื่อการเจริญเติบโตและกิจกรรมต่างๆวนั ละ ประมาณ 90-100 กิโลแคลอรี/น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม • หรือประมาณวนั ละ 1,200-1,500 กิโลแคลอรี • การคานวณความตอ้ งการพลงั งานของเด็กวยั ก่อนเรียน อาจคานวณโดยใชส้ ูตร ดงั น้ี ความตอ้ งการพลังงาน = 1,000 + (อายุเปนป  100) ถ้าเด็กอายุ 3 ป = 1,000 + (3  100) = 1,300 กโิ ลแคลอรี/วนั 27

5.2 ปริมาณความต้องการพลงั งาน วยั รุ่น • ความตอ้ งการพลงั งานในเดก็ วยั รุ่นโดยเฉล่ียประมาณ 2,250-2,700 กิโลกรัม/วนั • ข้ึนอยกู่ บั อตั ราการเจริญเติบโตของร่างกาย และเผาผลาญสารอาหารและแรงงานท่ีใช้ ในการทากิจกรรมต่าง ๆ • ***** Thai RDI-----------2000 Kcal/วนั *****

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารท่คี วรรับใน 1 วนั 5.3 ปริมาณความต้องการพลงั งาน วยั ผ้ใู หญ่ 1. ความตอ้ งการพลงั งานของวยั ผใู้ หญ่ในเพศชายมากกว่าเพศหญงิ – ผชู้ าย ตอ้ งการพลงั งานประมาณ 2,300-2,900 kcal/วนั – ผหู้ ญิง ตอ้ งการพลงั งานประมาณ 1,900-2,200 kcal/วนั 29

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารทคี่ วรรับใน 1 วนั 5.4 ความต้องการสารอาหารในวัยผ้สู ูงอายุ • ความตอ้ งการพลงั งานของผูส้ ูงอายุลดลง เนื่องจากการทางานของอวยั วะ ต่างๆลดลง และความตอ้ งการพลงั งานในระยะพกั ลดลง เมื่ออายุ 60-69 ปี ควรลดพลงั งานลง 10% และเม่ืออายุ 70 ปี ข้ึนไปควรลดลง 20% จึงควรลด รับประทานอาหารท่ีใหพ้ ลงั งาน • ความตอ้ งการโปรตีนของผสู้ ูงอายคุ ือประมาณ 0.88 g/น้าหนกั ตวั 1 kg/วนั คิดเป็น 12-15%ของพลงั งานท้งั หมด และควรเป็นโปรตีนคุณภาพดีและยอ่ ย ง่าย 30

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารทค่ี วรรับใน 1 วนั 5.5 ปริมาณความต้องการพลงั งาน หญงิ มคี รรภ์ •ในขณะต้งั ครรภจ์ าเป็นตอ้ งไดร้ ับพลงั งานเพิ่มข้ึนเพื่อ - ใชส้ าหรับเมทาบอลิซึมท่ีเพิ่มข้ึน - เพ่อื การเจริญเติบโตของอวยั วะแม่ - การเพ่มิ ขนาดของตวั เดก็ และรก - ใชใ้ นการเพมิ่ ปริมาตรของเลือด - การขยายของมดลูกและการขยายขนาดของเตา้ นม - การสะสมไขมนั ในร่างกายแม่  หญิงมีครรภค์ วรไดร้ ับพลงั งานวนั ละไม่นอ้ ยกวา่ 2,300 กิโลแคลอรี ควรไดร้ ับ จากโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมนั หรือไดร้ ับเพ่ิมจากเดิม 300 Kcal 31

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารทคี่ วรรับใน 1 วนั 5.6 ปริมาณความต้องการพลงั งานหญิงให้นมบุตร • หลงั คลอดปกติ อาหารม้ือแรกควรเป็นอาหารอ่อนหรือเครื่องด่ืมที่มีรสหวาน • หลงั คลอดมารดามีความตอ้ งการอาหารมากกวา่ ธรรมดาโดยเฉพาะมารดาท่ีตอ้ ง เล้ียงลูกดว้ ยน้านมตนเอง • หญิงให้นมบุตรควรไดร้ ับอาหารเพิ่มข้ึนจากปกติ (ขณะไม่ต้งั ครรภ)์ อีกวนั ละ 500 กิโลแคลอรี ประกอบดว้ ย - โปรตีนร้อยละ 10-15 - คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55-60 - ไขมนั ร้อยละ 30 - น้าสะอาดอยา่ งเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย 32

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารท่คี วรรับใน 1 วนั 5.7 ปัจจยั ท่เี กยี่ วข้องต่อปริมาณพลงั งานท่ีควรได้รับในแต่ละวนั 33 • 1. การทางานหรืออาชีพ 1.1 งานเบา 1.2 งานหนกั ปานกลาง 1.3 งานหนกั มาก 1.4 งานหนกั มากเป็นพเิ ศษ • 2. ขนาดและส่วนประกอบของร่างกาย • 3. อายุ • 4. อิทธิพลของอากาศ • 5. การเจริญเติบโต

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารที่ควรรับใน 1 วนั 5.7 ความสมดุลของพลงั งาน • ในคนท่ีน้าหนกั ตวั คงที่ และมีสุขภาพปกติดี แสดงวา่ ร่างกายมีความสมดุลของพลงั งาน คือ ร่างกายได้รับพลงั งานจากอาหารเท่า ๆ กนั กบั พลงั งานทใี่ ช้ • ถา้ ร่างกายไดร้ ับอาหารที่มีพลงั งานน้อยกว่าพลงั งานท่ีร่างกายใช้ ทาใหเ้ พ่มิ ความอยาก อาหาร ลดการเผาผลาญพลงั งาน ลดการออกกาลงั กาย ในขณะเดียวกนั ร่างกายกจ็ ะใช้ พลงั งานท่ีเกบ็ สะสมไว้ เช่น ไกลโคเจน ไขมนั และโปรตีนในกลา้ มเน้ือมาใชเ้ ป็นพลงั งาน มีผลใหน้ ้าหนกั ลด เรียกวา่ negative energy balance • ถา้ ไดร้ ับพลงั งานมากกวา่ พลงั งานที่ใช้ พลงั งานท่ีเหลือกเ็ กบ็ ในรูปของไกลโคเจนและ ไขมนั เรียกวา่ positive energy balance ทาใหเ้ กิดภาวะน้าหนกั เกิน 34

3. ค่าพลงั งานของอาหาร (Energy Value of Foods) 5.8 ความสมดุลของพลงั งาน • ภาวะน้าหนกั เกินนาน ๆ ทาใหเ้ กิดปัญหาสุขภาพ • ทาใหไ้ ขมนั ในเลือดสูง • โรคหวั ใจ อมั พฤกษ์ อมั พาต ไตเส่ือม • โรคอว้ น • เบาหวาน 35

5. ความต้องการอาหารของร่างกายและปริมาณอาหารทคี่ วรรับใน 1 วนั 5.8 สัดส่วนของพลงั งานจากสารอาหารทร่ี ่างกายควรได้รับทเ่ี หมาะสม พลงั งานจาก คาร์โบไฮเดรต ควรประมาณร้อยละ 50 ของพลงั งานท่ีตอ้ งการ พลงั งานจาก โปรตีน ควรประมาณร้อยละ 20 ของพลงั งานท่ีตอ้ งการ พลงั งานจาก ไขมนั ควรประมาณร้อยละ 30 ของพลงั งานท่ีตอ้ งการ 36

37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook