Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลับตาทำไม

หลับตาทำไม

Description: หลับตาทำไม

Search

Read the Text Version

หลทับตำาไม ชยสาโร ภิกขุ พมิ พ์แจกเป็นธรรมบรรณาการดว้ ยศรัทธาของญาตโิ ยม หากท่านไม่ได้ใช้ประโยชน์จากหนังสือนแ้ี ล้ว โปรดมอบให้กับผูอ้ ่ืนทจ่ี ะได้ใช้ จะเปน็ บุญเป็นกศุ ลอยา่ งยง่ิ

หลับตา​ ชยสาโร ภกิ ขุ ทำไม พมิ พ​์แจก​เปน็ ​ธรรม​ทาน ส​​งวนลขิ สิทธ์ิ ห้ามคัดลอก ตัดตอน หรือนำไปพมิ พ์จำหน่าย หากท่านใดประสงค์จะพมิ พ์แจกเปน็ ธรรมทาน โปรดติดตอ่ กองทุนสื่อธรรมะทอสี และมูลนิธปิ ญั ญาประทีป ​๑๐๒๓/๔๖ ซอยปรดี ีพนมยงค์ ๔๑ สุขุมวทิ ๗๑ เขตวฒั นา กทม. ๑๐๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๗๑๓-๓๖๗๔ www.thawsischool.com, www.panyaprateep.org ​​​ พิมพ์​ครัง้ ท​ ่ี​​๑​ ธันวาคม ๒๕๕๒ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม ออกแบบปก วิชชุ เสริมสวสั ดศ์ิ รี ศิลปกรรม ปริญญา ปฐวนิ ทรานนท์ จัดท​ ำ​โดย​ กองทุนสอ่ื ธรรมะทอสี และมลู นธิ ปิ ัญญาประทปี ด​ำเนนิ การพมิ พโ์ ดย บริษทั คิว พริ้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด โทรศพั ท์ ๐-๒๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙

คำนำ หนังสือ​เร่ือง ทำไม ของ​พระ​อาจารย์​ชย​สา​โร​ เปน็ การร​วม​ธรรม​เทศนา ๕ เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ เกิด​มาท​ ำไม เขา้ ว​ัด​ทำไม หลบั ตาท​ ำไม ทุกข์​ทำไม และต​ ายก​่อน​ ตายท​ ำไม ซง่ึ เ​คยจ​ดั พ​ มิ พท​์ งั้ ใ​นล​กั ษณะร​วมเ​ลม่ และพ​ มิ พ​์ แยกเ​ล่ม ตัง้ แต่ มกราคม ๒๕๔๘ ฉบับแ​ยก​เลม่ ​หมด​ไป​ นานแ​ลว้ ในค​รง้ั น​จ​ี้ งึ จ​ดั พ​ มิ พข​์ น้ึ ใ​หมเ​่ พอื่ ส​ะดวกใ​นก​ารอ​า่ น การ​พก​พา​และ​การ​เผยแผ่ ขอ​ให้​ทุก​ท่าน​ที่​มี​ส่วน​ช่วย​ใน​ การ​ผลติ แ​ละเ​ผยแผห่​ นงั สอื ไ​ดร้​บั ​อานสิ งสจ​์ ากก​ารบ​ ำเพ็ญ​ บญุ ท​ เี่​กดิ จ​ากก​ารใ​หธ​้ รรม​เปน็ ท​ าน ขอ​ให​้มี​ความส​ขุ ​ความ เ​จ​ริญ​ยง่ิ ๆ​ขน้ึ ไ​ป ท้าย​นี้ คณะ​ศิษย์​ขอก​ราบ​นมัสการ​ขอบพระคุณ​ พระ​อาจารย์​ชย​สา​โร​ท่ี​ได้​เมตตา​อนุญาต​ให้​พิมพ์​หนังสือ​ เพอ่ื แ​จกเ​ปน็ ธ​รรมท​ าน และท​ ไ​่ี ดอ​้ บรมส​งั่ ส​อนล​กู ศ​ษิ ยแ​์ ละ​ ญาตโิ ยม​อย่างส​ม่ำเสมอ​ตลอด​มา คณะศ​ษิ ยานศุ ิษย์ ธันวาคม ๒๕๕๒

ตผอู้​้ทงม​ี่ ม​เี​ศชุ่งื่อร​มัท​วกน่ั ่าธด​็ด​พ​ชา้าว้ีวฒํใ​นยิตน​นพ​ก​​จ​พาะฤาร​ชด​ระตวี ​ศง​ีพิติกากึ ทุใ​รมษนรธ​มาม​ทศ​ี​คกุา่าสๆนาดา้ น ดา้ นจ​ิตใจ ท่านจ​ึงใ​ใหหแ​้นล้​เเร่งัพะาห​ด​อื่ แ​ลใ​า้บับหน่งต​ปล​้เ​วัญามื ล​นตญาอาใ​ก​ใานนบ​แ​า้ตง่ละว​นั ไปส​​ู่ควาคมือเ​ต​ปา็น​ท​อเ​่ีิสหร็นะ​ทอ​ายงา่ ง​แทจ้ รงิ

หลับตา ทำไม โยม​ยายอ​าตมา​ไมย่​อม​นัง่ ส​มาธิเ​ลย กอ่ นอ​อกบวช​ อาตมา​เคยพ​ ยายาม​ชวน​ให้​ท่าน​ลอง​ดู แต​่ไม่ส​ำเร็จ ยาย​ บอกว​า่ เ​สยี ดายเ​วลา นงั่ ห​ลบั ตาเ​ฉยๆ ไมเ​่ หน็ เ​กดิ ป​ระโยชน์ อะไร สน​ู้ งั่ ถ​กั เ​สอื้ ใ​หห​้ ลานไ​มไ​่ ด้ โยมย​ายเ​ปน็ ค​นอ​งั กฤษร​นุ่ ​ เก่า ใน​สายตาท​ า่ น การ​นง่ั ​สมาธิ​เปน็ ​เร่อื งพ​ เิ รนทร์ หลาน​ อธิบาย​อย่างไร​ท่าน​ก็​ไม่​ประทับ​ใจ ยาย​เป็น​ชาว​คริสต์ อคตขิ​องท​ ่าน​จึง​น่าใ​ห​้อภัย ทน่ี​ า่ เ​ศร้าก​วา่ ก​​ค็ อื ​ในเ​มอื ง​ไทย​ ซ่ึง​เป็น​เมือง​พุทธ​มา​หลาย​ร้อย​ปี​แล้ว ยัง​มี​คน​จำนวน​มาก​ ท่ี​คิด​อย่าง​โยม​ยาย​อาตมา อาตมา​อาจ​จะ​คาด​หวัง​อะไร​ มากเ​กนิ ​ไปก​ไ็ ด้ แตอ่​ด​คิด​ไม่ไ​ด​้ว่าช​าว​พุทธ​ในป​ ระเทศไทย​ น่า​จะ​เข้าใจ​เร่ือง​การ​ฝึก​จิต​ดี​กว่า​หญิง​ชรา​ใน​บ้าน​นอก​ของ​ องั กฤษ คนไ​ทยบ​ างค​นย​งั ถ​อื วา่ ก​ารท​ ำส​มาธเ​ิ ปน็ เ​รอื่ งง​มงาย อาตมา​ฟัง​ความ​เห็น​อย่าง​นี้​คร้ัง​แรก​ก็​งง ไม่​คิด​ว่า​ผู้​มี​การ​ 1ชยสาโร ภกิ ขุ

ศึกษา (มัก​ไม่ใช่​ทัศนะ​ชาว​บ้าน) จะ​ขาด​ความ​รู้​เร่ือง​ ศาสนา​ประจำ​ชาติ​ของ​ตน​ถึง​ขนาด​น้ัน ที่​จริง​การ​ฝึก​จิต​ มี​เหตุผล​หลาย​ประการ ซึ่ง​เปิด​เผยอ​ยู่​เสมอ​สำหรับ​ผู้​ใฝ่​ รู้ ฉะน้ัน​การ​ปัด​ว่าการ​ฝึก​จิต​เป็น​เรื่อง​ไม่​สำคัญ​ควร​ถือว่า​ เปน็ การ​พดู ​แบบ กุ​กกฏุ จ​ฉาป วิสสเช​ติ* ความง​มงายม​​ี หลายอ​ยา่ ง บางค​นเ​ชอ่ื ว​า่ ค​วามพ​ น้ ท​ กุ ขอ​์ ยท​ู่ บ​่ี ญั ชธ​ี นาคาร บางค​นถ​อื วา่ อ​ยท​ู่ ค​่ี วามร​กั แลว้ พ​ สิ จู นไ​์ ดไ​้ หม บางค​นถ​อื วา่ ​ ไมต​่ อ้ งเ​ปน็ ห​ว่ งเ​รอ่ื งอ​นาคตข​องโ​ลก เพราะป​ญั หาท​ง้ั ห​ลาย​ ทมี​่ นษุ ยก​์ ำลังส​ร้างด​ว้ ยก​เิ ลส นกั ว​ิทยาศาสตรจ์​ะ​แกใ​้ หเ้​รา​ ได้ น่​ีแหละง​มงาย ผ​ู้ที่​ฝึกจ​ิตด​ีแล้ว​เทา่ นั้น ท​ี่สามารถพ​ น้ ​ ความง​มงายไ​ด้ เพราะก​ารฝ​กึ จ​ติ ท​ำใหเ​้ ราร​เ​ู้ ทา่ ท​นั ค​วามค​ดิ ​ และไ​ม่​เชื่อ​มัน​จน​เกนิ ​ไป เราก​ลา้ ​พูด​ได​้เลยว​า่ ผู้​ทีไ​่ มฝ่​กึ จ​ติ ​ ไม่​สามารถ​รู้​ความ​หมาย​ของ​คำ​ว่า​งมงาย​ได้ และ​เมื่อ​ไม่รู้​ อาการ​ของ​ความ​งมงายต​าม​ความเ​ป็น​จริง จะ​พ้นจ​ากก​าร​ เปน็ เ​หยื่อ​ของม​ัน​ได​้อย่างไร ความ​งมงาย​เกิด​จาก​การ​เช่ือ​บาง​ส่ิง​บาง​อย่าง​โดย​ ไมม่ เ​ี หตผุ ล รบั รอง เชน่ เชอื่ อ​ะไรเ​พยี งเ​พราะค​นส​ว่ นม​าก​ เชือ่ อ​ย่าง​นั้น ซอื้ ส​นิ ค้า​เพราะด​ารา​ท่ตี​น​ชอบ รับ​เงนิ จ​าก​ ผ​ู้ผลิตใ​ห้​ชมว​่าม​ันดี ปญั หา​ก็​คือ คน​เราช​อบเ​ขา้ ​ข้างต​ัว​เอง * แปลว่า ปล่อยไก่ 2 หลับตา ทำไม

ใคร​เคย​ยอมรับ​ว่า​ตัว​เอง​งมงาย​มี​ไหม ทุก​คน​มัก​ถือว่า​ตัว​ เองม​เ​ี หตผุ ล แมค​้ นโ​รคจติ ก​ย​็ งั ถ​อื วา่ เ​ขาค​ดิ ถ​กู ท​ ส่ี ดุ แ​ลว้ ค​น​ อื่น​ตา่ งห​ าก​ท​ี่บ้า ถา้ ด​ภ​ู ายในไ​มเ​่ ปน็ เราจ​ะแ​ยกแยะร​ะหวา่ งเ​หตผุ ลจ​รงิ ​ และ เหตุผลป​ ลอม (ขอ้ ​อ้าง) ไม่​ได้ เราจ​ะ​ยึดม​ั่นถ​ือ​มนั่ ​ใน ส่ิง​ที่​เรา​เรียก​ว่า เหตุผล หวงแหน​ทฤษฎี​ของ​ตน ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง ตัณหา เจตนา และ​ความ​คิด​เห็น​เป็น​ เร่ือง​ละเอียด ไม่มี​มหาวิทยาลัย​ท่ีไหน​ที่​สอน​ให้​เรา​รู้​เรื่อง​ นไี้​ด้ ต้อง​ดเ​ู อง คือต​้อง​ภาวนา ทุก​ส่ิง​ทุก​อย่าง​เกิด​จาก​จิต เรา​จะ​แก้​ปัญหา​ต่างๆ เราต​อ้ งเ​รม่ิ ต​น้ ท​จ​่ี ติ ดใ​ู นร​ะดบั ส​งั คมก​อ่ น ใครฟ​ งั ข​า่ ว ดข​ู า่ ว ก็​ต้อง​เห็น​ชัด​เลย​ว่า โลก​นี้​เต็ม​ไป​ด้วย​การ​รบ​รา​ฆ่า​ฟัน​กัน การ​เอา​รัด​เอา​เปรียบ​กัน การ​ใช้​อำนาจ​กดข่ี​ผู้​ไม่มี​อำนาจ เฉพาะ​ใน​สงั คม​ไทยม​​ีปัญหา​มากมาย เชน่ เรอื่ ง​ยาเ​สพต​ิด คอรัปช่ัน เป็นต้น แล้ว​อะไร​คือ​ราก​เหง้า​ของ​ปัญหา​ท้ัง​ หลาย ถ้า​ไมใ่ ช่ก​ิเลสใ​นใ​จ​คน หยุด​พิจารณา​ดู​สัก​นิด​หน่ึง​ก็​ต้อง​เห็น​ความ​ร้ายกาจ​ ของก​เิ ลส ความเ​ห็นแ​ก่​ตวั ความไ​ม่​ละอายต​อ่ บ​ าป การ​ บังคับ​ตัว​ไม่​เป็น ความ​อิจฉา​พยาบาท ความ​หลงใหล​ มัวเมา ความ​ยึด​ม่ัน​ถือ​มั่น​ใน​เผ่า​พันธ์ุ สี​ผิว สัญชาติ ศาสนา ฯลฯ ส่ิงเ​หล่า​นีแ้​หละ​ที่​อยเ​ู่ บื้อง​หลงั ​ปญั หา​ต่างๆ 3ชยสาโร ภกิ ขุ

อยเ​ู่ สมอ และถ​า้ เ​ราไ​มห​่ าท​างย​กร​ะดบั จ​ติ ข​องค​น การแ​กไ้ ข​ รัฐธรรมนูญ การ​ปฏิรูป​ระบบ​ตา่ งๆ ในส​งั คมจ​ะ​ไดผ​้ ล​จรงิ ​ หรือ​ประวัติศาสตร์ สอน​ว่า​กิเลส​คน​สามารถ​ดึง​ระบบ​ทุก​ ระบบ​ให้​เข้า​มา​รับ​ใช้​ตน​ได้ มี​ไหม​ใน​ประวัติศาสตร์​โลก​ที่​ ไม่​เคย​เปน็ อ​ย่างน​ ัน้ ทำไมป​ระเทศท​เ​่ี จรญิ ท​างว​ตั ถแ​ุ ลว้ ย​งั แ​กป​้ ญั หาส​งั คม​ ไม่​ได้ คำ​ตอบ​น่า​จะ​อยู่​ที่​ว่า​วัฒนธรรม​โลก​ส่วน​ใหญ่​ขาด​ เครื่อง​พัฒนา​จิตใจ​คน​ท่ี​มี​ประสิทธิภาพ ลัทธิ​ศาสนา​ที่​มี​ แต่​ความ​เช่ือ​คัมภีร์​เป็น​แรง​ดล​บันดาล​ใจ​ให้​คนละ​ช่ัว​ทำ​ดี​ ได้ มกั ไดผ​้ ล​ใน​ระดบั พ​ ้ืนฐ​านเ​ทา่ นัน้ และม​ักม​ผี​ลข​า้ งเ​คยี ง​ เชน่ ก​ารแ​บง่ เ​ราแ​บง่ เ​ขาอ​ยา่ งร​นุ แรง ซง่ึ ม​โ​ี ทษม​ากต​อ่ ส​งั คม​ โลก ปญั หาอ​ยท​ู่ ี​่การไ​ม่เ​ขา้ ใจ​ธรรมชาติข​อง​จิต​อยา่ งล​กึ ซ​ง้ึ อาตมา​เหน็ ​ว่า​เมือง​ไทย​น่า​จะ​ได้​เปรียบ​ประเทศ​อื่น​ใน​เรื่อง​ นี้ เพราะ​มี​ศาสนา​พุทธ​เป็น​ที่​พึ่ง ศาสนา​พุทธ​มี​แนวทาง​ พัฒนา​ชีวิต​ใน​ทุก​ด้าน​ที่​สมบูรณ์​ท่ีสุด ท่ี​เคย​ปรากฏ​ใน​ ประวตั ศิ าสตรข​์ องม​นษุ ยชาติ ปัญหาข​องไ​ทยจ​ึง​ไมไ​่ ดอ​้ ยท่​ู ่ี​ การข​าดแคลน​ทรพั ยากร แต​่อย​ทู่ ่​ใี ช้​ไมถ​่ นัด​หรอื ​ไมย่​อมใ​ช้ ใน​ระดับ​ตวั บ​ ุคคล สงิ่ ท​ สี​่ ร้าง​ความท​ ุกข​์ความเ​ดอื ด​ รอ้ นใ​ห้​กับช​วี ติ ​เราม​าก​ทีส่ ุด นา่ ​จะเ​ป็น​ความเ​จบ็ ไ​ขไ​้ ดป​้ ่วย แตค​่ วามท​กุ ขก​์ ายไ​มใ่ ชเ​่ รอ่ื งข​องก​ายอ​ยา่ งเ​ดยี ว จติ ใจม​ส​ี ว่ น​ เกย่ี วขอ้ งอ​ยเ​ู่ สมอไ​มม​่ ากก​น​็ อ้ ย เชน่ ความเครยี ด ความซ​มึ ​ 4 หลบั ตา ทำไม

เศรา้ ความก​งั วล อารมณเ​์ ศรา้ ห​ มองท​ ง้ั ห​ ลายเ​หลา่ น​ ี้ ยอ่ ม มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ภูมิ​ต้านทาน​โรค​ทำให้​ป่วย​ง่าย​และ​หาย​ช้า เป็น​ท่ี​ยอมรับ​กัน​แล้ว​ใน​วงการ​แพทย์​ว่า​ความ​โกรธ​เป็น​ ปัจจัย​สำคัญ​ของโ​รค​หัวใจ ส่วน​ความโ​ลภ​อาจท​ ำให​้ติด​ยา​ เสพ​ติด หรือ​เป็น​กามโรค​ได้ อีก​เรื่อง​หนึ่ง​ที่​กำลัง​เป็น​ที่​ วิตก​กัน​มากคือ​นิสัย​การ​กิน คน​จำนวน​มาก​ที​เดียว​ยอม​ กนิ อ​าหารท​เ​่ี ปน็ พ​ ษิ ต​อ่ ร​า่ งกายเ​พยี งเ​พราะช​อบร​สชาติ คน​ สมัยน​ ีเ้​ปน็ ​โรค​เพราะว​ถิ ี​ชีวติ ​กนั ​มาก โรค​อว้ นเ​ปน็ ต​วั อยา่ ง​ ทีเ​่ ดน่ สาเหตุ​สำคัญค​ือก​าร​กนิ ​มาก​เกนิ ค​วามต​อ้ งการข​อง​ รา่ งกาย ในป​ จั จบุ นั น​น​ี้ กั ว​จิ ยั บ​อกว​า่ ค​นอ​เมรกิ นั ต​ายเ​พราะ​ อ้วน​ปี​ละ ๓๐๐,๐๐๐ คน การ​รักษาค​นอ​ว้ นใ​ชง​้ บ​ประมาณ​ ปล​ี ะ ๑,๐๐๐ ล้าน​ดอลลาร์ ยคุ ​นค้ี​ือ​ยุค​ไข​มันเ​จรญิ การ​ ไม​ค่ วบคมุ อ​าหาร การ​ไม่​ยอม​ออก​กำลงั ​กาย เป็นป​ ญั หา​ ของ​พฤตกิ รรม​ก็​จริง แต่​เกดิ ​จาก​มโนกรรม​คือ​จิต ตอ้ ง​แก้​ ที​จ่ ิตใจค​น​ก่อน เพราะถ​้า​บรหิ ารอ​ารมณ​์ได้ เรอ่ื ง​ปากม​ัน​ จะ​เป็นเ​อง ไม​่ต้อง​กินแ​กก​้ ลุ้ม กนิ ​แก​้เบือ่ กินแ​ก้​เหงาอ​ีก​ ตอ่ ​ไป การฝ​กึ จ​ติ ท​ำใหร​้ จู้ กั ป​ลอ่ ยว​างค​วามย​ดึ ม​น่ั ใ​นอ​ารมณ์ คน​เรา​รู้จัก​บริหาร​อารมณ์​ได้​ดี​ก็​ช่วย​ทาง​ด้าน​สุขภาพ​กาย​ ได​้ดด​ี ว้ ย โรค​ท่ีเ​กดิ ​เพราะก​รรม​ก็​ยัง​คงม​ีอ​ย​่กู จ​็ ริง แต​โ่ รค​ท่ี​ มี​สาเหตุ​สำคัญ​มา​จาก​จิต​จะ​ลด​น้อย​ลง​มาก ยา​รักษา​โรค​ 5ชยสาโร ภกิ ขุ

ที่​กระทรวง​สาธารณสุข​ต้อง​ซื้อ​มา​จาก​เมือง​นอก​ใน​รา​คา​ แพงๆ จะล​ดล​ง สรปุ ว​า่ การน​ ง่ั ห​ ลบั ตาช​ว่ ยฟ​ นื้ ฟเ​ู ศรษฐกจิ ​ ของ​ประเทศ ประหยัด​แค่​ราคา​ยา​นอน​หลับ ยา​กล่อม​ ประสาท​กไ็ ดเ​้ งินม​หาศาล​แล้ว การ​ทำความ​เพียร​ทาง​จิตใจ ถือว่า​เป็น​กิจ​สำคัญ​ สำหรับ​ชาว​พุทธ​ทุก​คน ไม่​ว่า​เรา​เป็น​นักบวช​หรือ​คฤหัสถ์ เรา​ควร​จะ​เอาใจ​ใส่ ควร​จะ​ต้ังใจ​ใน​เร่ือง​จิตตภาวนา​ทำไม เพราะ​คำ​วา่ “ภ​าว​นา”​ นั้น ตรงก​ับ​คำ​สมยั ​ใหมว​่ ่า พัฒนา ไม่​ภาวนา​ก็​คือ​ไม่​พัฒนา ไม่​พัฒนา​จิตใจ อาจ​เกิด​ผล​ต่อ​ สุขภาพ​ร่างกาย​ได้ แต่​ผล​ร้าย​ที่​เห็น​ง่าย​คือ​ภายใน​จิต​จะ​ ขาด​กำลัง ความ​อ่อนแอ​ทาง​จิต​น้ี​ปรากฏ​ด้วย​การ​ไหล​ไป​ ตามอ​ารมณ์ เชน่ การห​ มกมนุ่ ใ​นเ​รอื่ งก​ามร​าคะ หรอื ส​งิ่ ท​ ง้ั ​ หลายท​ อ​ี่ ยากไ​ดอ​้ ยากม​อ​ี ยากเ​ปน็ โดยไ​มส​่ นใจผ​ลเ​สยี ท​ จ​ี่ ะ​ ตามม​าน​สิ ยั ห​งดุ หงดิ ขร​ี้ ำคาญ ขเ​ี้ บอื่ กลดั กลมุ้ วา้ วนุ่ ฯลฯ เม่ือ​จิตใจ​คน​เรา​ไม่​ได้​รับ​การ​พัฒนา การ​พัฒนา​ภายนอก ไม​่ว่า​ดา้ น​สังคม​หรอื ​เศรษฐกจิ มัก​มี​ผล​เสยี ​มากกวา่ ผ​ล​ดี โทษข​องก​ารไ​มพ​่ ฒั นาจ​ติ จ​งึ อ​ยท​ู่ ก​ี่ ารต​กอ​ยใ​ู่ ตอ​้ ำนาจ​ ของ​นิวรณ์ นิวรณ์​เป็น​ช่ือ​ของ​กิเลส​ท่ี​ขัด​ขวาง​ความ​เจริญ จิต​มี​นิวรณ์​ไม่​สงบ และ​ไม่​สามารถ​เห็น​ส่ิง​ท้ัง​หลาย​ตาม​ ความ​เป็นจ​รงิ นิวรณ์ ๕ ข้อ คอื ความ​ใครใ่​นก​าม ความ​ พยาบาท ความง​ว่ งเหงาห​าวนอน ความฟ​ งุ้ ซา่ นเ​ดอื ดร​อ้ นใ​จ 6 หลบั ตา ทำไม

ความล​งั เลส​งสยั สง่ิ เ​หลา่ น​้ี พรอ้ มท​จ​ี่ ะเ​กดิ ข​นึ้ แ​ละก​อ่ ป​ญั หา​ แกช่​วี ิตข​อง​คนเ​รา​ตลอด​เวลา การจ​ดั การ​กบั น​ วิ รณส์​ำคญั แค่ไ​หน เห็นไ​ดจ้​าก​พุทธพ​ จน​์วา่ อวิชชาม​น​ี วิ รณ์ ๕ เปน็ ​ อาหาร คอื ​อวชิ ชา ความ​ไม่รู้​ไม่เ​ข้าใจ​ชีวติ ข​อง​ตน ซ่ึงเ​ป็น เหตข​ุ องท​ ุกข​ท์ ัง้ ​ปวง หอ่ ​หุ้มจ​ติ ไ​ด​้เพราะ​นิวรณห์​ า้ ​ประการ ยัง​หล่อ​เล้ยี งม​ัน​อยู่ เพราะฉ​ะน้นั คนเ​รา​จะ​ฉลาดป​ านใด​ กต็ าม ปราดเ​ปรอ่ื งใ​นว​ชิ าการท​เ​่ี คยเ​รยี นม​าข​นาดไ​หนกต็ าม เรา​ทกุ ค​น​ยงั อ​ยู่​ในเ​ขต​อนั ตราย เพราะต​ราบ​ใด​ทเี่​รา​ระงบั ​ นิวรณ​์ไมไ​่ ด้ เรา​ไมม่ ​ที าง​ทำลายอ​วิชชา ทำลาย​อวชิ ชา​ไม​่ ไดก​้ ​็หน​ีทุกขไ​์ ม​พ่ ้น สรุป​แล้ว​ว่าการ​นั่ง​หลับตา เป็น​ส่วน​หน่ึง​ของ​การ​ ฝึก​จิต​ให้​เป็น​อิสระ​จาก​กิเลส จุด​เด่น​ใน​เบื้อง​ต้น คือ​การ​ ใช้​สมาธิ​นำ​ไป​สู่​ความ​เป็น​อิสระ​จาก​กิเลส​ประเภท​ท่ี​เรียก​ วา่ น​ วิ รณ์ ความเ​ปน็ อ​สิ ระจ​ากก​เิ ลส เป็นส​่ิงท​ ​ี่นา่ ป​ รารถนา​ อย่าง​ยิ่ง เพราะ​นำ​ประโยชน์​และ​ความ​สุข​อัน​สูงสุด​มา​ให้ ท้ังแ​กต่​วั ​เรา ครอบครัว ชมุ ชน และส​งั คม หากก​เิ ลสย​งั ​ ครอบงำใ​จ ความส​ุข​กย​็ อ่ มบ​ กพร่องอ​ยู่ ไดอ​้ ะไร​เทา่ ไร​กไ็​ม​่ พอ ด​ีเท่าไร​ไม​่นานก​​็ชิน ชิน​แลว้ ​ก็เ​บอ่ื เบอื่ แ​ลว้ ​กท​็ ุกข์ จิต​ เหมอื นถ​งั น​ ำ้ ร​ว่ั เมอื่ ร​วั่ แ​ลว้ น​ ำ้ ท​ กุ อ​ยา่ งก​ม​็ ค​ี า่ เ​ทา่ ก​นั จติ ใจ​ ทเี​่ ปน็ อ​ิสระ​จาก​นวิ รณม​์ ี​ลักษณะ​พเิ ศษห​ ลายอ​ยา่ ง คือ หน่ึง มคี​ณุ ภาพ สิง่ ด​ี​งามต​า่ งๆ อยา่ งค​วามล​ะอาย​ 7ชยสาโร ภกิ ขุ

ตอ่ บ​ าป ความก​ตญั ญก​ู ตเวที ความเ​มตตาก​รณุ า เบกิ บ​ าน​ ในจ​ติ ท​ห​ี่ า่ งจ​ากค​วามค​ดิ ผ​ดิ เหมอื นพ​ ชื ผ​กั ต​า่ งๆ ซงึ่ ข​นึ้ ง​าม​ ใน​ดินด​ี สอง กำลงั คือค​วามอ​ดทน ความข​ยัน ความห​ นกั ​ แนน่ ​ความ​รูส้ กึ ​ผิด​ชอบ ความ​กลา้ ​ในส​ง่ิ ท​ ี่​ถกู ต​้อง นอ้ มจติ ไปใ​นท​ างไ​หนม​นั ย​อม แลว้ เ​ราส​ามารถพ​ นิ จิ พ​ จิ ารณาอ​ยา่ ง​ ลึก​ซึง้ ​เพราะ​ไมม่ ี​ความต​อ้ งการ​อย่าง​อนื่ เ​ขา้ ไป​รบกวน สาม จิตส​งบ ไม​่เครยี ด ไมว​่ ติ ก​กงั วล ผอ่ น​คลาย​ สบาย ส่ี มีค​วาม​สุข​ท่​ีบรสิ ทุ ธก​ิ์ วา่ แ​ละ​ยิ่งก​ว่าท​ ​เ่ี ราเ​คยร​้จู ัก มา​กอ่ น จิต​ผ่องใสเ​บกิ ​บาน ใน​เม่ือ​การ​ฝึก​จิต​มี​ผล​ที่​น่า​ปรารถนาอย่างน้ี ทำไม ชาว​พุทธ​ท่ัวไป​ไม่​ค่อย​กระตือรือล้น​ขวนขวายเท่าไร สันนิษฐาน​ว่า​เป็น​เพราะ​ไม่​เห็น​ชีวิต​มี​ปัญหาท่ีการพัฒนา​ ตน​จะ​แก้​ได้ หรือ​เพราะ​ยัง​ไม่​เห็น​การพัฒนาตน​เป็น​งาน​ เร่งด​่วน ถา้ ใ​ชส​้ ำนวนพ​ ระต​อ้ ง​บอกว่า ศรทั ธานอ้ ย ยงั ไ​ม​่ เห็น​ทุกข์ ด้วยเหตุ​น้ี สำหรับ​คนส่วน​ใหญ่ จุด​เริ่ม​ต้น ​ของ​การ​หัน​มา​ปฏิบัติ​ธรรมอย่างจริงจัง คือ​เร่ือง​วิกฤติ​ ส่วน​ตัว ซึ่ง​กระแทก​ความน่ิง​นอนใจ​ใน​ชีวิต​อย่าง​แรง ทำให้​ต้อง​หยุดท​ บทวน​ชวี ิต​ใหม่ อาจ​จะ​ด้วย​การ​ปว่ ยหนัก การ​เสีย​ชีวิต​ของ​ผู้​ใกล้​ชิด หรือ​ความ​ผิด​หวังก็ได้ แต่​ท่ี​ 8 หลบั ตา ทำไม

ควร​ย้ำ​ก็​คือ​เร่ือง​วิกฤติ​ท่ี​เกิด​ข้ึน​น้ัน น่ัน​ไม่ใช่​เหตุท่ี​ต้อง​ ปฏิบตั ิ เป็น​เพยี ง​แค​่เครื่อง​เขย่า​ตัว​ให้​ต่นื ​จากหลับ ทำให​้ ถามต​วั เ​องว​า่ ชวี ติ ม​แ​ี คน​่ ห​้ี รอื โลกน​ ท​ี้ ำไมไรแ​้ กน่ ส​ารส​าระ​ อย่าง​น้ี มัน​น่า​จะ​มี​อะไร​ท่ี​สูง​กว่า​น้ี ทำ​อย่างไร​เรา​จึง​จะ​ มี​โอกาส​เข้า​ถึง​สิ่ง​ที่​สูง​กว่า​น้ัน ความ​สงสัย​อย่าง​น้ี​คือ​การ​ บังเกิด​ของ​ปัญญา ความ​มั่นใจ​ว่า​ธรรมะ​เท่านั้น​ท่ี​จะ​ช่วย​ เรา​ได้ คือ​การบ​ งั เกิด​ขน้ึ ข​อง​ศรทั ธา​ท​ี่นำไ​ปส​ู่​การป​ ระพฤติ​ ปฏิบัติ​ธรรม บาง​คน​อายุ​ยัง​ไม่​ถึง​ย่ีสิบ​ก็​คิด​อย่าง​น้ี​แล้ว เรียก​ว่า​มี​บารมี บาง​คน​อายุ​ตั้ง​แปด​สิบ​ก็​ไม่​เคย​คิด​ผู้​ที่​เร่ิม​ สงสยั เ​รอ่ื ง กิน กาม เกยี รติ จะ​กลับ​เหมอื นเ​ดิม​ได้​ยาก เหมอื นเ​ด็กท​ ​ีเ่ ลกิ ​เชอ่ื ​เรือ่ งซ​านตาคลอส สำหรับ​ผู้​ท่ี​ไม่​เคย​เฉลียว​ใจ​เลย​ว่า​กำลัง​ถูก​ความ​ ประมาท​หลอก ยากท​ ี​่จะเ​ข้าใจผ​ท​ู้ ่ี​ต้ังใจ​ปฏบิ ตั ิ มกั ร​ู้สึก​ว่า​ พวกเ​ขา้ ​วัดท​ รมานต​วั เ​องใ​ห้ล​ำบากโ​ดยไ​ม่​จำเป็น คลา้ ยๆ เอา​รถ​เข้าอ​บ​ู่ อ่ ยๆ ท้งั ๆ ยัง​วง่ิ ไ​ด​้ปกติ แต่​ในส​ายตาข​อง นัก​ปฏิบัติ​ไม่ใช่​เรื่อง​การ​ซ่อม​รถ​ที่​ว่ิง​ได้​แล้ว หาก​เป็นการ​ ปรับปรงุ ​รถท​ ค่ี​วร​จะด​​กี ว่า​น้ี และด​​ีกวา่ ​น​ไ้ี ด้ ในท​ างโ​ลก​ถือ กนั ว​า่ นกั กฬี าท​ เ่ี​สยี ส​ละท​ ุกส​ง่ิ ท​ กุ อ​ยา่ งเ​พอ่ื เ​ปน็ แ​ชมปโ​์ ลก น่า​ยกยอ่ ง​กวา่ ผ​ู้​ท​ี่พอใจ​เป็น​คนเ​กง่ ร​ะดบั ต​ำบล น่าค​ิด​ไหม​ ว่า​ทำไม​สังคม​ไม่​สรรเสริญ​ผู้​ท่ี​กล้า​สู้​เพ่ือ​สิ่ง​ที่​มี​แก่น​สาร​ มากกวา่ ​กฬี า​เป็น​ไหนๆ คือก​าร​เปน็ แ​ชมปเ​์ หนอื ​โลก 9ชยสาโร ภกิ ขุ

เคย​คิดเ​ลน่ ๆ ว่า ในย​คุ ด​กึ ดำบรรพ์ มนษุ ย์​รุ่นแ​รกท​ ่​ี ตดั สนิ ใ​จล​กุ ข​น้ึ ห​ ดั เ​ดนิ ส​องข​า นา่ จ​ะถ​กู เ​พง่ โ​ทษว​า่ อ​ตุ ริ ทำ ตัว​ให้​ลำ​บาก​เปล่าๆ ไม่​อย่าง​น้ัน​ก็​อาจ​ถูก​มอง​ว่า​ดัดจริต หรือ​ถูก​ตำหนิ​ว่า​ยุ่ง​อย่าง​น้ี​ทำไม “ฉัน​คลาน​ไป​คลาน​มา​ อยา่ งน​ ตี​้ ลอด​ชีวิต​กส็​บายด​ี ไม่​เหน็ ​เสยี ห​ าย​อะไร พวกเ​ดนิ ​ สองข​าเ​ขาม​ป​ี ญั หาค​รอบครวั ห​ รอื เ​ปลา่ ”​ โชคด​ว​ี า่ ม​นษุ ยร​์ นุ่ ​ บุกเบิก​น้ัน ไม่​หวั่น​ไหว​ตอ่ ​ลมปาก​ของม​นุษย​์สเี่​ทา้ ความ​เบ่ือ​หน่าย​ต่อ​ชีวิต​ผิว​เผิน ความ​ต้องการ​ส่ิง​ท่ี​ เปน็ แ​กน่ เ​ปน็ ส​าร นค​ี้ อื ก​ารส​กุ งอมข​องบ​ ารมท​ี เ​่ี คยส​งั่ สมม​า​ หลายภ​พห​ลายช​าตแ​ิ ลว้ เปน็ จ​ดุ เ​รมิ่ ต​น้ ข​องว​วิ ฒั นาการข​อง​ ชวี ติ ท​ย​ี่ อ่ มน​ำไ​ปส​ม​ู่ รรคผลน​พิ พานใ​นท​ส่ี ดุ ผท​ู้ ม​่ี อ​ี ดุ มการณ​์ ใน​การ​พัฒนา​ตน​ให้​ดี​ข้ึน มี​คุณภาพ​ชีวิต​มาก​ข้ึน​เรื่อยๆ จะ​สนใจ​ใน​เร่ือง​การ​ฝึก​จิต​มาก​เพราะ​เป็น​กลไก​ท่ี​ขาด​ไม่​ ได้​ใน​การ​สร้าง​ชวี ิต​ใหม่ ถึง​จะ​ยาก​ลำบาก​หรือ​ล้มลุก​คลุก​ คลาน​อย​ู่บ้าง​กย​็ อม เพราะ​เช่อื ว​่า​งาน​น้ีไ​มม่ ท​ี าง​เลอื ก การท​ ำ​สมาธ​ิมี​ประโยชนจ​์ ริง​หรือ แล้วแ​ต​่การจ​ำกัด​ ความ​หมายข​องค​ำว​่าป​ ระโยชน์ ผ​ู้ที​่มอง​วา่ ไ​รป้​ ระโยชนก์​​็มี เพราะ​อะไร เพราะ​ประโยชนข​์ อง​เขา คอื ​ส่ิง​ท่​ีอำนวย​ให​้ได้ สง่ิ ท​อ​่ี ยากไ​ด้ คอื ค​วามส​นกุ สนานบ​า้ ง เงนิ ท​องบ​า้ ง อำนาจ ชอื่ เ​สยี ง ฯลฯ บา้ ง สว่ นผ​ป​ู้ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมม​องว​า่ การท​ ำส​มาธ​ิ มป​ี ระโยชนม​์ าก เพราะถ​อื วา่ ป​ระโยชนห​์ มายถ​งึ ส​งิ่ ท​เี่ พม่ิ พนู ​ 10 หลับตา ทำไม

คณุ ภาพ​ชวี ิต ทง้ั ​ของต​นเอง​และค​นอ​นื่ อยา่ งไรก​ต็ าม​การ​กำหนดค​วามห​ มายข​องป​ ระโยชน์ ต้อง​เริ่ม​ด้วย​ความ​ชัดเจน​ใน​เป้า​หมาย เรา​จะ​ใช้​คำ​ว่า​ถูก วา่ ผ​ดิ วา่ ด​ี วา่ ช​ว่ั วา่ เ​ปน็ ป​ระโยชน์ วา่ ไ​มเ​่ ปน็ ป​ระโยชน์ หรอื ​ ไรป​้ ระโยชนไ​์ ด้ กต​็ อ่ เ​มอื่ เ​ราม​เ​ี ปา้ ห​มาย เพราะป​ระโยชนค​์ อื ​ ส่ิง​ท่ี​ตรง​ต่อ​เป้า​หมาย หรือ​นำ​ไป​สู่​การ​บรรลุ​ถึง​เป้า​หมาย สำหรับ​ผู้​ที่​ถือว่า การ​เลี้ยง​ครอบครัว​ความ​เจริญ​ใน​อาชีพ หรือ​การไ​ด​้ลาภ ไดย้​ศ ไดส​้ รรเสรญิ ได​้สุข พอท่ี​จะเ​ปน็ เป้า​หมาย​ชีวิต​ได้ การ​น่ัง​สมาธิ​อาจ​จะ​ไม่​จำเป็น​ที​เดียว​ ตรง​กัน​ข้าม​อาจ​จะ​เป็น​อุปสรรค โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​ กรณผ​ี ท​ู้ อ​ี่ ยากไ​ดเ​้ รว็ แ​ละไ​มร​่ งั เกยี จแ​นวทางท​จุ รติ พวกข​โ​้ี กง คนเ​หน็ แ​กต​่ วั คนช​อบเ​อาร​ดั เ​อาเ​ปรยี บเ​พอื่ นม​นษุ ยท​์ เ​ี่ คยไ​ด​้ เปน็ เ​ศรษฐี มหาเ​ศรษฐม​ี ม​ี ากมาย แตค​่ นแ​บบน​เ​้ี หมาะไ​หม ท่ี​จะ​ให​้เปน็ ​ตัวอยา่ ง​แก​่ตวั เ​อง หรอื ​แก่​ลูก​หลาน โชค​ด​ีวา่ ​ คนส​ว่ นม​ากย​งั ก​ลวั บ​ าปแ​ละเ​คารพต​วั เ​องม​ากเ​กนิ ก​วา่ ท​จ​่ี ะ​ แลกค​วามด​ี​ของต​นก​บั ​โลกธรรม สว่ น​ผ้ท​ู ่ี​ตอ้ งการห​ าความ​ สขุ ค​วามเ​จรญิ ท​ างโ​ลกโ​ดยไ​มต​่ อ้ งท​ งิ้ ศ​ลี ธ​รรม การอ​บรมจ​ติ น่า​สนใจ อย่าง​น้อย​ก็​ช่วย​บรรเทา​ความเครียด อย่าง​ดี​ ก็​เก้ือกูล​ต่อ​ชีวิต​ท่ี​ดี​งาม เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ส่วน​รวม​อย่าง​ แทจ้ รงิ ใน​ชีวิต​การ​ทำงาน การ​ฝึก​จิต​ให้​เข้ม​แข็ง​ไม่​ท้อแท้​ 11ชยสาโร ภกิ ขุ

ต่อ​อุปสรรค​และ​ไม่​ประมาท​ใน​ยาม​รุ่งเรือง ย่อม​ป้องกัน​ อันตราย​ได้​ดี นัก​ปราชญ์​เรียก​ว่า​อยู่​อย่าง​การ​กิน​ปลา​โดย​ กา้ งไ​มต​่ ดิ ค​อ คอื ถ​งึ แ​มว้ า่ จ​ำเปน็ ต​อ้ งด​ำเนนิ ช​วี ติ ท​ า่ มกลาง​ สิง่ แ​วดล้อมท​ ว​่ี ุน่ วาย การท​ ำ​สมาธ​กิ ​็ช่วย​ใหไ้​ม่ต​อ้ งว​ุ่นวาย​ ตาม ผล​ที่​เห็น​ได้​ชัด​อยู่​ตรง​ที่​ว่าการ​ทำ​หน้าท่ี หรือ​การ​ ทำงาน​ทุก​อย่าง​ต้อง​มี​อุปสรรค​อยู่​เสมอ เกิด​จาก​คน​อ่ืน​ก็​ มี เกิดจ​ากส​งิ่ ​แวดลอ้ ม​ก​็มี เกิดจ​าก​เศรษฐกิจ​ของ​โลก​กม็​ี บางค​รั้งป​ ญั หาท​ เี​่ กดิ จ​ากภ​ายนอก​เราแ​กไ้​ด้ บางป​ ญั หาม​นั ​ เหลือว​สิ ยั ท​ จี​่ ะ​แก้ไข​ไมม่ ​ีทางส​ู้ ตอ้ ง​ทำใจ​ยอมรบั แ​ล้วเ​รียน​ รูจ้​าก​ประสบการณ์ การไ​มซ​่ มึ เ​ศรา้ ไมเ​่ ปน็ ท​กุ ขก​์ บั เ​รอ่ื งพ​ รรคน​์ ี้ บางค​นไ​ด​้ โดยน​ สิ ยั เ​ดิม​ชว่ ย เรยี ก​ว่าม​​ีพรสวรรค์ แตค่​น​ส่วนม​ากต​้อง​ สรา้ งน​สิ ยั ใ​หมด​่ ว้ ยก​ารฝ​กึ อ​บรม นอกจากน​นั้ แ​ลว้ ในช​วี ติ ค​น​ เรา​อุปสรรค​สำคัญ​หลาย​อย่าง​เกิด​จาก​จิต​ของ​เรา​โดยตรง เช่น ตัดสิน​ผิด​เพราะ​ถือตัว ไม่​ยอมรับ​ฟัง​เหตุผล​คน​อ่ืน ทำอ​ะไรแ​บบช​งิ ส​กุ ก​อ่ นห​า่ มเ​พราะใ​จรอ้ น พลาดพ​ ลงั้ เ​พราะ​ อยาก​ได้​กำ​ไร​เยอะๆ อย่าง​นี้​เป็นต้น ฉะนั้น​การ​รู้จัก​ตัว​ เอง บรหิ ารอ​ารมณ์​ตวั ​เอง จดั ​ความร​ูส้ ึก​ของต​ัวเ​องใ​นท​ าง​ สร้างสรรค์ สิ่ง​เหล่า​น​้ีนา่ จ​ะ​เปน็ ป​ ระโยชนแ์​ก​่คน​ทกุ ค​น เราม​กั ​จะ​ไดย้ นิ บ​ ่อยว​า่ ผ​ู​ป้ ฏบิ ตั ิ​ธรรม​ไม่ทันค​น ที่แท​้ มนั ม​กั จ​ะต​รงก​นั ข​า้ ม คอื ร​ทู้ นั ก​วา่ ค​นท​ ไ​ี่ มป​่ ฏบิ ตั ิ รก​ู้ ล รว​ู้ ธิ ​ี 12 หลับตา ทำไม

อยา่ งด​ี ทำไมเ​ปน็ ​อยา่ งน​ ้ัน เพราะก​ารฝ​กึ จ​ติ ​ทำให้​เราค​ุ้น​ เคยก​บั เ​ลห่ เ์ หลยี่ มข​องก​เิ ลส เหน็ ใ​นใ​จต​วั เ​องแ​ลว้ ก​ารส​งั เกต​ ลกั ษณะอ​าการข​องก​เิ ลสใ​นข​ณะท​ป​่ี รากฏใ​นก​ารกร​ะท​ำข​อง​ คน​อน่ื ก​​็ง่าย อากปั กริ ยิ า คำพ​ ูด น้ำเ​สียง ปฏกิ ิริยา​ตา่ งๆ ลว้ น​แต่​เปน็ ​สิ่ง​บ่งบ​ อก​ความจ​รงิ ​ของค​น นัก​ปฏิบัติ​ที่​ดี​ต้อง​รู้จัก​ระวัง​ไม่​ด่วน​สรุป​ใคร แต่​ไม่​ ละเลยข​อ้ มูลต​่างๆ ทสี​่ มั ผัส​รับ​รู้ เพ่อื ​อย​ูอ่ ยา่ งร​อบคอบไ​ม่​ หลง ใคร​ท​ี่มองค​นอ​่ืน​ด้วยค​วาม​ระแวง​ตลอด​เวลาอ​าจจ​ะ​ คดิ ว​า่ เ​ขาฉ​ลาดก​วา่ แตก​่ ารม​องค​นอ​นื่ อ​ยา่ งน​นั้ ม​ผ​ี ลเ​สยี ต​อ่ ​ คณุ ภาพจ​ติ ม​าก นกั ป​ ฏบิ ตั จ​ิ งึ ใ​หโ​้ อกาสค​นอ​น่ื ก​อ่ น โดยถ​อื ​ หลักว​่าบ​ รสิ ุทธิจ​์ นกว่า​มี​ขอ้ ​พสิ ูจน์​ชดั เจน​ว่าม​ค​ี วาม​ผดิ อกี ป​ระการห​นง่ึ ค​อื น​กั ป​ฏบิ ตั ส​ิ ามารถค​วบคมุ ต​ณั หา​ ไม่​ให้​ครอบงำ​จิต​ชวน​คิด​ผิด​และ​พลั้ง​พลาด ลอง​สังเกต​ดู​ สิ คน​ทถี่​ูกห​ ล​อก​บอ่ ยๆ คอื ค​นท​ ี​่หมั่น​ฝกึ ​สตจิ​ริง​หรอื ​เปลา่ เปน็ ค​น​ทโี่​ลภอ​ยาก​ไดม้​ากโ​ดย​ลงทนุ น​ ้อยต​า่ ง​หาก อยา่ ง​น​ี้ ต้มง​่าย​ที่สดุ และค​นท​ ่ี​ทำลายผ​ลป​ ระโยชนข​์ องต​วั ​เอง​บอ่ ย​ ทส่ี ดุ ค​ือ​คน​ข้โี​มโห ไมใ่ ช​่คนส​งบ คน​เข้า​วัด​อาจ​ดู​เหมือน​ไม่ทัน​คน เพราะ​บางที​เขา ข​ี้เกยี จ​พูดใ​น​สิง่ ​ท​ี่เขาเ​หน็ อย่างไร​กต็ าม​คงจะ​ตอ้ ง​ยอมรบั ว่า นกั ​ปฏิบตั ิอ​าจ​จะ​เสยี ​เปรยี บ​ในบ​ างเ​รอื่ ง เพราะ​ไมก่​ล้า​ ทำบาป เสยี ​เปรยี บพ​ วกเ​ล่นส​กปรก หรือ​นอก​กติกาบ​ า้ ง 13ชยสาโร ภกิ ขุ



จะเ​อาด​ว้ ยก​เ​็ สยี ดายค​วามด​ข​ี องต​น เขาไ​มเ​่ คารพก​ฎหมาย​ ไมใ่ ชว​่ า่ ​เรา​จะต​อ้ ง​ผิดก​ฎหมายต​าม​จึงจ​ะฉ​ลาด บางที​ตอ้ ง​ ปลอ่ ย ในร​ะยะย​าวต​อ้ งช​ว่ ยส​รา้ งส​งั คมท​ค​่ี นท​ำช​วั่ ถ​กู ล​งโทษ ไมว​่ า่ เ​ขาเ​ปน็ ใ​คร หรอื ร​จู้ กั ใ​คร และเ​สน้ ส​ายท​งั้ ห​ลายท​ม​ี่ ต​ี อ้ ง​ ไมเ​่ หนอื ก​ฎหมาย อยา่ งไรก​ต็ ามค​นส​จุ รติ ก​ย​็ งั ไ​ดอ​้ ยเ​ู่ หมอื น​ กนั คอื ไ​มใ่ ชว​่ า่ เ​สยี เ​ปรยี บใ​นท​กุ ด​า้ น ในป​ระการแ​รกไ​ดร​้ กั ษา​ ความ​เคารพ​นับถือ​ตัว​เอง​ไว้​ได้ ซ่ึง​เป็น​อริย​ทรัพย์​โดย​แท้ และ​ใน​ประการ​ที​่สอง ได​้ช่ือเ​สยี ง (ในห​ ม่​ูคนด​)ี วา่ ​สะอาด นา่ ไ​วใ้ จ ซงึ่ เ​ปน็ ท​นุ อ​ยา่ งห​นง่ึ ใ​นก​ารท​ำม​าห​ากนิ โดยเ​ฉพาะ​ ในก​าร​คา้ ขาย เพราะค​นอ​ยาก​ทำธ​ุรกิจ​กับ​ผู้​ท่​ีเขา​ไว้ใจไ​ด ้ ภายนอก​ภายใน​สัมพันธ์​กัน เม่ือ​วิเคราะห์​ปัญหา ตา่ งๆ ทเี่​กิดข​้ึน​ใน​ชีวิต​ประจำ​วนั ปรากฏ​วา่ ต​รง​กันก​ับส​่ิง​ ทเี่​ราพ​ ยายามป​ ลอ่ ยว​างเ​วลาน​ งั่ ส​มาธิ สำคญั ท​ ี่สดุ ค​อื เ​ร่อื ง​ กาม เช่น ที่​ทำงาน ผู้ชายไ​ป​ชอบ​ผู้​หญิง ผห้​ู ญิงไ​ปช​อบ​ ผ้ชู าย ต่าง​คนต​า่ ง​ม​ีจติ ​ใจห​ มก​ห​มุ่นท​ ั้ง​วนั มัวแ​ต​่หา​โอกาส​ ไดพ​้ ดู ไ​ดค​้ ยุ คอยค​ดิ ป​รงุ แ​ตง่ ต​า่ งๆ นานา หวานบ​า้ ง ลามก​ บ้าง ความ​ฉลาด​ใน​วิชาชีพ ช่วย​ป้องกัน​ความ​รู้สึก​อย่าง​ นไี้​ม​่ได้ จิตใจ​วุ่นวาย​แลว้ ง​านก​​เ็ สีย จิต​อยูก่​บั ​พ่ีค​น​น้นั น​ ้อง คน​นี​้ตลอด​เวลา คงไ​ม​่ไดอ​้ ย​กู่ บั ​งาน​ท​ี่ต้องท​ ำ เรียก​ว่าก​าม​ ครอบงำเ​สยี แ​ลว้ คนท​ช​ี่ อบเ​พอ้ ฝ​นั ก​เ​็ หมอื นก​นั มวั แ​ตค​่ ดิ ว​า่ ​ 15ชยสาโร ภกิ ขุ

คนื น​ เ​ี้ ลกิ ง​านแ​ลว้ เราจ​ะไ​ปเ​ทย่ี วท​ โ​ี่ นน่ ท​ น​ี่ ่ี จะแ​ตง่ ต​วั อยา่ ง​ ไรด​ี จะใ​ส​่ชุดน​ นั้ ด​​ีไหม ชุดน​ ด​้ี ี​ไหม จะไ​ป​กินข​า้ วท​ ่ไี หนด​ี หรอื ป​ ลอ่ ยใ​หค​้ วามค​ดิ ว​กว​นอ​ยใ​ู่ นเ​รอ่ื งเ​กา่ แชอ​่ ยใ​ู่ นส​ญั ญา​ ท​อี่ บอนุ่ นก​่ี เ​็ ปน็ อ​ปุ สรรคต​อ่ ก​ารท​ำงาน เพราะจ​ติ ใจไ​ปค​ดิ แ​ต​่ เรอ่ื งน​น้ั กไ​็ มไ​่ ดอ​้ ยก​ู่ บั ส​ง่ิ ท​ก​ี่ ำลงั ท​ำอ​ยู่ กามท​ำใหเ​้ ราไ​มอ​่ ยาก​ อยใ​ู่ นป​จั จบุ นั ก​บั ส​ง่ิ ท​ไ​่ี มน​่ า่ ต​น่ื เ​ตน้ พอร​สู้ กึ ว​า่ ง​านต​รากตรำ นา่ เ​บื่อ จิต​ก​็หน​ีเตลิด​ไปเ​ลย งานก​็​ฉาบฉวย “กาม”​ น้มี​ี ตง้ั แตห​่ ยาบเ​ชน่ เ​รอื่ งท​างเ​พศ จนล​ะเอยี ดไ​มใ่ ชแ​่ ตเ​่ รอื่ งร​าคะ​ อยา่ ง​เดียว เรอ่ื ง​ทกุ เ​ร่อื งท​ ่​ีเก่ยี ว​กบั ​โลก​ที​เ่ รา​อยอ​ู่ าศยั ทไ​่ี ม​่ ได​้เกย่ี วข้องก​ับ​หน้าท่​ีใน​ปจั จบุ ันน​ ีเ่​รยี กว​่าก​ามท​ ั้งน​ น้ั บาง​คน​ชอบ​การเมือง ชอบ​อา่ น​ขา่ ว ชอบด​หู​ นงั สอื พิมพ์ ผิด​ไหม ก็​ไม่​ผิด ประชาชน​ศึกษา​ทำความ​รู้​เก่ียว​ กับ​สังคม​ของ​ตน​เป็น​สิ่ง​ที่​ดี แต่​ถ้า​ทำงาน​แป๊บ​เดียว​แล้ว​ ก็​หยุด ชวน​เพ่ือน​คุย​เรื่อง​นายก เร่ือง​รัฐบาล เรื่อง​นั้น​ เรื่อง​น้ี ไม่รู้​จัก​กาลเทศะ ถือ​เพียง​แค่​ว่า​คุย​มันส์​กว่า​ ทำงาน สนุก​กว่า​หน้าท่ี ใน​กรณี​น้ี​การเมือง​กลาย​เป็น​ กาม​กีดขวาง​ความ​เจริญ คน​เรา​แต่ละ​คน​ไม่​เหมือน​กัน บาง​คน​อาจ​จะ​ชอบ​คิด​ชอบ​พูด​ใน​เรื่อง​กีฬา ผู้​หญิง​อาจ​ จะ​คุย​เรื่อง​การ​ซ้ือ​ของ​สนุก​กว่า ผู้ชาย​มัก​จะ​ชอบ​เร่ือง​ รถยนต์ ส่ิง​ท่ี​ดึงดูด​จิตใจ​มี​มาก​และ​หลาก​หลาย แต่​โดย​ 16 หลับตา ทำไม

สรุป การ​ท่ี​จิตใจ​เรา​ชอบ​ออก​นอก​เรื่อง​ที่​เรา​ได้​กำหนด​ ไว้​ว่า​เป็น​หน้าที่ แล้ว​ก็​ปล่อย​ให้​หมก​ห​มุ่น​ใน​สิ่ง​นั้น นค​่ี ืออ​ุปสรรคต​อ่ ​การ​ทำงานใ​ห้ไ​ดผ​้ ล หลายค​รง้ั ​งาน​ไมเ​่ ดิน เพราะ​ผู้​ทำงาน​บริหาร​ความ​รู้สึก​ของ​ตน​ไม่​เป็น บริหาร​ เวลาไ​ม่​เป็น ไม่ร​จู้ กั ​กาลเทศะ ถา้ ​เรา​เกง่ เวลา​ทำงานก​็​ทำเ​ต็ม​ที่ พอเ​ลกิ ง​านแ​ล้ว​ มีเ​วลา​ว่าง เราจ​ะไ​ปเ​ทย่ี ว​ทไ่ี หน หรือเ​ราจ​ะ​ไป​นงั่ ​คุย​เรอ่ื ง​ อะไรก​เ​็ ปน็ ส​ทิ ธข​ิ องเ​รา แตถ​่ า้ เ​ราแ​บง่ เ​วลาไ​มเ​่ ปน็ เวลาค​วร​ ทำงานก​ม​็ วั แ​ตค​่ ดิ เ​รอ่ื งท​ก​่ี ำลงั ต​นื่ เ​ตน้ หรอื ค​นท​ก​ี่ ำลงั ค​ดิ ถงึ แอบโ​ทรศัพท์​บ้าง สง่ ​อีเมล​์บา้ ง อดไ​ม่ไ​ด้​ไม​เ่ ปน็ ต​ัวข​อง​ตัว​ เอง มันก​เ็​ปน็ ป​ ัญหา และป​ ญั หา​นจ​ี้ ะแ​ก​อ้ ย่างไร สมาธนิ​ ัน้ ​ แหละ​ชว่ ย​ได้ นิวรณ์​ข้อ​ท่ี​สอง​ครอบคลุม​ความ​รู้สึก​ต่างๆ ใน​ทาง​ ลบ ความโ​กรธ ความ​พยาบาท ความข​ดั เคือง ความ​แคน้ ​ เคือง สง่ิ ​เหล่า​นีเ​้ ป็นป​ ญั หา ไม่​วา่ ​เราท​ ำ​อะไรก​แ​็ ล้วแ​ต่ ถา้ ​ จติ ใจฉ​นุ เฉยี ว เดอื ดดาล ขนุ่ ข​อ้ งห​ มองใจ มนั เ​ปน็ อ​ปุ สรรค​ อยต​ู่ ลอดเ​วลา อะไรเ​ลก็ อ​ะไรน​อ้ ยจ​ติ ใจก​เ​็ สยี ศ​นู ย์ เลอื ดข​น้ึ ​ หนา้ ลองส​งั เกตด​ว​ู า่ ในข​ณะท​ จ​่ี ติ ใจเ​ราร​อ้ นเ​ปน็ ไ​ฟ โกรธ​ คน​น้นั ​ด่า​คน​นี้ ความ​สามารถ​ใน​การ​ใช้​เหตผุ ล​หาย​ไป​เลย ใชไ่​หม ทำงาน​ก็​ไมเ​่ ปน็ ​อนั จ​ะ​ทำ เพราะ​ขณะ​ท่ี​กำลงั โ​กรธ 17ชยสาโร ภกิ ขุ

สาร​อเ​ดรนา​ล​นิ ห​ลงั่ ไ​หลไ​ปใ​นท​กุ ส​ว่ นข​องร​า่ งกาย พยายาม​ บังคบั ​ตวั เ​อง​ทำงานแ​ป๊บ​เดียวม​ัน​กผ็​ดุ ​ข้ึน​มา “ทำ​อย่างน​ ั้น​ มนั น​า่ เ​กลยี ด ฉนั ร​บั ไ​มไ​่ ด้ ฯลฯ”​ โกรธแ​ลว้ เราพ​ รอ้ มท​จ​่ี ะท​ำ​ อะไรห​ลายอ​ยา่ ง ซง่ึ ป​กตเ​ิ ราจ​ะไ​มก​่ ลา้ ท​ำม​นั กเิ ลสฝ​า่ ยโ​ทสะ​ จงึ น​า่ ก​ลวั ท​สี่ ดุ ในข​ณะท​ค​่ี วามโ​กรธก​ำลงั อ​อกฤ​ทธอ​ิ์ อกเ​ดช คน​ใจด​กี ลายเ​ปน็ ​ยักษห์​ รือ​ยักขนิ ​ไี ด้ ตก​นรกก​ไ็​ม่ว​า่ ขอใ​ห้ ได้​แกแ้​ค้น​กพ็​ อใจ ใน​ขณะท​ ่ี​จิตใจเ​รา​รอ้ น การ​คิด​การอ​า่ น​ การพ​ จิ ารณา ความล​ะเอยี ดร​อบคอบใ​นก​ารท​ ำห​ นา้ ทไ่ี​มม่ ​ี เลย โอกาส​ทจี่​ะพ​ ลง้ั ​พลาด​ก็​มมี​าก บางที​กิเลสอ​าจ​จะไ​ม​่ ถงึ ข​ัน้ ​รนุ แรง​มาก อาจจ​ะ​เปน็ ​แคห่​ งุดหงดิ ร​ำคาญ หรือ​เพง่ ​ โทษ​คน​อื่น แต่​ความ​เศร้า​หมอง​นิด​เดียว​มี​ผล​ต่อ​สุขภาพ​ จติ ​เรา พระองค์​ตรัส​อุปมา​ว่า อุจจาระ​นิด​เดียว​ก็​เหม็น ขอ้ บ​ กพรอ่ ง​น้ี​เรา​จะ​แก​้อยา่ งไร ถ้า​ไมใ​่ ช​้สมาธช​ิ ว่ ย จริง​อย​ู่ บางค​นน​งั่ ส​มาธน​ิ านห​ลายป​ก​ี ย​็ งั ไ​มเ​่ ลกิ น​สิ ยั ข​โ​ี้ กรธก​ม​็ ี และ​ คน​ท่ี​ไม่​ปฏิบัติ​ธรรม​ชอบ ยก​คน​อย่าง​นี้​เป็น​ตัวอย่าง​เพ่ือ​ พสิ จู นว​์ า่ การน​งั่ ส​มาธไ​ิ มม่ ผ​ี ลจ​รงิ ทำท​ำไม เขาค​า้ น ไมเ​่ กดิ ​ประโยชน​์อะไร​หรอก เมยี ผ​ม​นง่ั ท​ กุ ​วนั ก​็ย​งั เ​หมอื นเดิม ยงั ​ โมโหผ​ม​อย​เู่ รอ่ื ย สาม​เี มาก​รำ่ (ข​เ้ี มา) ชอบพ​ ดู อยา่ งนม้ี าก ทุก​คน​ต้อง​มี​จุด​อ่อน และ​จุด​นั้น​ต้อง​เป็น​จุด​ที่​แก้​ ยากท​ ส่ี ดุ ก​ารเ​อาจ​ดุ อ​อ่ นเ​ปน็ เ​ครอ่ื งว​ดั ค​น ไมค​่ อ่ ยย​ตุ ธิ รรม 18 หลบั ตา ทำไม

อยา่ งไรก​ต็ ามเ​ราย​งั ย​นื ยนั ไ​ดว​้ า่ ในก​รณข​ี องค​วามโ​กรธ ใคร​ ฝกึ ​จิต​ถกู ​ทาง​จะ​ดี​ข้ึน ไม​่มาก​ก​น็ ้อย เพราะน​ ักภ​าวนาเ​ห็น​ ความ​หยาบ​ของ​อารมณ์​โกรธ​อย่าง​ชัดเจน จะ​สลด​สังเวช​ และพ​ ยายาม​ชนะ ลองส​ังเกตด​ว​ู า่ ​ใน​หม​ญู่ าติมติ ร​เพ่อื นฝ​งู ข​อง​เรา ผทู้​ ่​ี เคยม​ี​นิสยั ​ขโ้ี​กรธ ขโ้ี​มโห กา้ วร้าว ชอบจ​บั ผิด​คนอ​่ืน แลว้ ​ หาย​จาก​อาการ​น้ัน​โดย​ไม่​ปฏิบัติ​ธรรม​มี​บ้าง​ไหม... ไม่มี​ หรอก หรือ​แทบ​จะ​ไม่มี บาง​คน​อาจ​จะ​มี​อาการ​อ่อน​ลง​ ดว้ ย​อาย​ุกไ็ ด้ คอื ก​ำลงั วงั ชาน​ อ้ ยล​ง การ​แสดงออก​อาจจ​ะ​ ออ่ นล​ง ไมม่ แ​ี รงอ​าละวาดก​เ​็ อาแ​คท​่ ำป​ งึ ปงั พ​ อเ​ปน็ พ​ ธิ ี แต​่ นิสยั ​กย็​งั ​มี​เหมอื นเ​ดิม อายุ ๓๐ เปน็ อ​ยา่ งไร อายุ ๔๐ ก็​ เป็น​อยา่ ง​นนั้ ๕๐ กเ​็ ป็น​อยา่ งน​ ้นั มตี​ลอดช​ีวิต เพราะ​ไม​่ ปฏบิ ัติ ไม่​ปฏิบตั ธ​ิ รรม​ไม่ม​ีเคร่ืองม​ือ​พฒั นาจ​ติ ไม่​พฒั นา​ จิต ชวี ติ ​กอ​็ ุด​ตัน ตายแ​ลว้ ​กิเลส​กต​็ ดิ ตามไ​ป​ด้วย คนส​ว่ นใ​หญป่​ ฏบิ ัต​ิธรรม​แล้ว ความ​โกรธ​ถา้ ไ​มห่​ าย ที​เดียว​ก็​เห็น​ได้​ชัด​เลย​ว่า​ลด​น้อย​ลง​ไป​มาก เพราะ​ฉะน้ัน​ เปรียบ​ได​้ว่า​เหมอื น​คน​เขา้ โ​รง​พยาบาล ก​็ไมใ่ ช่​วา่ ​ทุก​คน​ท่ี เข้า​โรง​พยาบาล​จะ​หาย​หมด​ใช่​ไหม แต่​การ​ท่ี​บาง​คน​เข้า โรง​พยาบาล​แลว้ ​ไม่​หาย โรค​กำเริบห​ รอื เ​ขาเ​สีย​ชวี ิต​ไปเ​ลย น่ัน​ก็​ไมใ่ ชข่​้อ​พสิ ูจน์​ว่า​โรงพ​ ยาบาล​ไมด่​ี หมอ​ไมด​่ ี ยาไ​มด่​ี เพราะ​ว่า​คน​ท่ี​เข้า​โรง​พยาบาล​แล้ว​หาย มี​มากกว่า​หลาย​ 19ชยสาโร ภิกขุ

เท่า ป่วย​แล้ว​ไมย​่ อมเ​ขา้ ​โรงพ​ ยาบาล​เพราะเ​คยร​จู้ กั ค​น​เข้า​ แล้วไ​ม่​หาย เหตผุ ลน​ ีใ​้ ช้ได้​ไหม ฉะนน้ั น​สิ ยั เ​สยี ต​า่ งๆ กเิ ลสท​งั้ ห​ลายท​อ​่ี ยใ​ู่ นใ​จ เราจ​ะ​ รอใ​หม​้ นั ห​ายเ​อง มนั ไ​มห​่ ายห​รอก กภ​ี่ พ กช​่ี าติ กไ​็ มม่ อ​ี ะไรด​​ี ขนึ้ ซำ้ ร​า้ ยอ​าจจ​ะก​ำเรบิ ก​ไ็ ด้ และท​น​่ี า่ ก​ลวั ท​ สี่ ดุ ก​ค​็ อื กเิ ลส มี​กำลัง​มาก​อาจ​จะ​ปิด​โอกาส​ให้​เรา​ได้​กลับ​มา​เกิด​เป็น​ มนษุ ย​์ต่อ​ไป​ก็ได้ ชาตนิ​ ้เี​ราท​ กุ ค​น​มี​สทิ ธ​มิ นุษยช​น แตต​่ าย​ แล้วเ​รา​แน่ใจไ​หม​ว่าย​ัง​จะม​​ีสิทธิเ​ปน็ ​มนุษยช​นอ​ยู่ นัก​ปฏิบัติ​ใหม่​ถึง​แม้ว่า​ยัง​อยู่​ใน​ขั้น​ล้มลุก​คลุก​คลาน​ กต็ ามไ​มพ​่ งึ ท​อ้ ใจ ถา้ ส​ามารถป​อ้ งกนั ค​วามค​ดิ ผ​ดิ ห​รอื ค​วาม​ อยาก​ผิดๆ ใน​การป​ ฏิบัติ (ปลอด​มจิ ฉา​ทิฏฐิแ​ละ​ตัณหา) การ​เคลือ่ นไหว​ใน​ทางท​ ​ด่ี ี​ย่อมม​​ีอยู่ การ​ขดั เกลาย​่อมม​​ีอยู่ ยงั ม​บ​ี างส​งิ่ บ​างอ​ยา่ งด​ข​ี นึ้ อ​ยท​ู่ กุ ว​นั เพราะอ​ะไร เพราะห​ลกั ​ ทำ​ดี​ได้​ดี เป็น​กฎ​ตายตัว​ของ​ธรรมชาติ ผล​ยัง​ไม่​สุกงอม จงเ​ชอ่ื ​ไว​้ก่อน อย่าใ​จรอ้ น ไมใ่ ชว่​่าค​นเ​รา​จะเ​ปลย่ี นแปลง ไดร​้ วดเร็ว การ​เปล่ยี นแปลง​เป็น​คนละค​น ภายในว​นั เ​ดียว เดือนเ​ดยี ว ปี​เดียว ถา้ เ​ปน็ อ​ยา่ งน​ ้นั ไ​ด้​กด​็ ี แต่ส​่วน​มากจ​ะ​ ไมเ​่ ป็น​อย่างน​ น้ั ​สิ นานๆ อาจจ​ะ​หลาย​ปี หรอื เ​ปน็ ส​บิ ปี จึง​ค่อย​เห็น​ชัด​ก็ได้ ไม่​แปลก​อะไร อย่า​แข่ง​กับ​คน​อ่ืน​ก็​ แลว้ ก​ัน ไม​่ตอ้ ง​สงสยั วัน​หนง่ึ จ​ะท​ ึง่ ต​วั เ​อง ทา่ น​อาจารย์​ พทุ ธท​ าสบ​ อก​ว่าจ​ะ​อยากไ​หวต้​วั ​เอง 20 หลบั ตา ทำไม

เรา​มัก​จะ​สำนึก​เม่ือ​มี​อะไร​ไม่​น่า​ปรารถนา​เกิด​ข้ึน เชน่ ม​ใ​ี ครใ​สร​่ า้ ย หรอื ด​า่ ว​า่ สงั เกตต​วั เ​องว​า่ ไ​มม่ อ​ี ะไร ทงั้ ๆ ท่ี​รู้​ว่า​ถ้า​หากว่า​ใคร​มา​ด่า​เรา​อย่าง​น้ี​สมัย​ก่อน​นะ เรา​ก็​จะ​ โกรธ​น่า​ดู แตท่​ ำไมต​อนน​ เ้ี​รา​ร้สู ึก​เฉยๆ อยู่ พอเ​หน็ อ​ย่าง​ น​้ีเรา​ก็ภ​ูมใิ จเ​จา้ ของ​นะ ไมเ่​คยค​ดิ ​วา่ ​เรา​จะ​ปล่อย​วางไ​ด้​ถึง​ ขนาด​นี้ แต่ร​ู้​วา่ ถ​า้ ไ​ม​่ปฏบิ ัติ ไม่​ทำ​สมาธิภ​าวนา เปน็ ไ​ปไ​ม​่ ได​แ้ น่นอน คนบ​างค​นเ​หน็ ผ​ลเ​รว็ เหมอื นค​นเ​ดนิ ก​ลางฝ​น ไมน​่ าน​ กเ​็ ปยี กโ​ชกท​ ง้ั ต​วั สว่ นค​นเ​ดนิ ก​ลางห​ มอก จะค​อ่ ยๆ เปยี ก ไปเ​รือ่ ยๆ กลบั ​บา้ นถ​อด​เส้ือจ​งึ ​สังเกตว​า่ เ​ปียก​และ​ไมร่ ​ู้วา่ ​ เปียก​มา​ตง้ั แตเ่​มอ่ื ไ​หร่ ท่าน​เปรียบ​เทียบ​มนุษย์​เรา​เหมือน​นกเขา​อยู่​ใน​กรง แตไ​่ มร่ จ​ู้ กั ก​รง นกั ป​ ฏบิ ตั ค​ิ อื น​ กท​ เ​ี่ หน็ ก​รงแ​ลว้ อ​ยากอ​อกไ​ป ฉะนั้น​เป็น​เรื่อง​ธรรมดา​ว่า​พวก​ไม่​เห็น​กรง​ต้อง​งง​ไม่​เข้าใจ​ การกร​ะท​ำข​องผ​ท​ู้ ก​่ี ำลงั ห​าท​างแ​หกค​กุ แตค​่ นเ​ราท​ต​ี่ อ้ งการ​ แสวงหา​ชีวิตพ​ ้น​จากก​รง อยาก​อยูใ​่ นท​ ี่ๆ กระพือ​ปีกไ​ด้ ม​ี ชีวิต​ที่​ดี​งาม มี​คุณภาพ เรา​ต้อง​ทำ​ตาม​คำ​สอน​ของ​ผู้​มี ปัญญา ผ้ท​ู เี​่ ป็น​อสิ ระ​จาก​การก​ักขัง​ทกุ ป​ ระเภท ท่านส​อน ใหเ​้ ราฝ​กึ จ​ติ การน​ ง่ั ห​ ลบั ตาจ​งึ น​ า่ ส​นใจม​าก เพราะจ​ติ ใจท​ ​่ี ปลอ่ ยว​างค​วามก​ลดั กลมุ้ ซมึ เ​ศรา้ ฟงุ้ ซา่ นว​นุ่ วาย วติ กก​งั วล ลังเลส​งสยั ​ได้​เทา่ นัน้ ​ท​ี่สามารถบ​ ิน​หน​จี ากว​ฏั สงสาร​ไปไ​ด้ 21ชยสาโร ภิกขุ

การป​ ฏิบตั น​ิ ​้ตี อ้ งท​ ำเ​อง และไ​ม​่ควร​หวังท​ าง​ลดั ทกุ ​ วัน​น​้ีกม​็ ​ยี า​เปลี่ยนอ​ารมณ์​ออก​มา​เยอะ แก้​ทุกข์ไ​ดช้​วั่ คราว แต่​ผล​ข้าง​เคียง​มี​มาก และ​โทษ​ท่ี​สำคัญ​คือ​การ​ทาน​ยา​ ประเภท​น​ี้ทำใหอ้​อ่ นแอ ขเี้​กยี จ​หา​ทาง​ปลอ่ ย​วางท​ ถี​่ กู ​ตอ้ ง​ และย​่ังยนื มนั ​กลบั ​บนั่ ทอน​การ​เป็น​ท​ี่พึ่งข​อง​ตน อยไ​ู่ ปอ​ยู่​ มาท​ กุ ขน​์ ดิ ​เดยี ว​ก​ท็ นไ​มไ​่ ดต้​อ้ ง​กินย​า มนั ง​า่ ยจ​ริงแ​ต่​ความ​ งา่ ยน​ นั้ แ​หละท​ ท​่ี ำลายค​วามเ​จรญิ ข​องเ​รา คนป​ ว่ ยม​ากบ​ าง​ คนไ​ม​่กนิ ​ไม่​ได้ แต​่คนเ​รา​ทว่ั ไป ใช้​ธรรม​โอสถ​บำบดั ด​ีก​วา่ พระพทุ ธศ​าสนาส​อนใ​หเ​้ ราร​บั ผ​ดิ ช​อบช​วี ติ ต​วั เ​อง ไม​่ หวงั ​พึง่ ส่ิงภ​ายนอก​ตวั ​เรา อยากใ​ห้ม​นั ส​งบ มป​ี ญั ญา ต้อง​ สรา้ ง​เหตุ​ปัจจยั ​ท่ีเ​หมาะส​ม การ​เพยี รพ​ ยายามใ​นท​ าง​ท​ี่ ถูกต​้อง​นน่ั แ​หละ คอื ​ส่ิงศ​ักดส์ิ ทิ ธ์ิ การ​ตั้ง​ตน​ไว้​ชอบ​คือ​การ​ต้ังใจ​ศึกษา​ความ​จริง​ของ​ ชวี ติ ความส​ขุ และค​วามท​กุ ข์ มนั เ​กดิ อ​ยา่ งไร มนั ด​บั อ​ยา่ งไร มัน​เป็น​อย่างไร เพ่ง​พิจารณา​ตรง​จุด​นี้​เรา​จะ​เห็น​ว่า​ทุกข์​ เพราะ​กิเลสค​รอบงำ สขุ ​เพราะก​เิ ลสไ​ม​่ครอบงำ เม่ือเ​หน็ ​ ความ​ร้ายกาจ​ของก​เิ ลสใ​นใ​จ​ตน​แล้ว​กลัว ต้องการ​พ้นจ​าก​ อำนาจข​องม​นั เราจ​งึ เ​หน็ ป​ระโยชนข​์ องก​ารน​ง่ั ส​มาธิ เพราะ​ การน​งั่ ส​มาธเ​ิ ปน็ เ​ครอ่ื งม​อื ก​ำจดั ก​เิ ลสท​ส​่ี ำคญั การท​ำส​มาธ​ิ ทำให​้เรา​มก​ี ำลงั ทำให​จ้ ติ ใจ​เขม้ แ​ขง็ สงบ มค​ี วามส​ุข ไม่ ทำ​สมาธิ​จิตใจ​อ่อนแอ ไม่มี​กำลัง วอกแวก​ไม่​สงบ ไม่​ 22 หลับตา ทำไม

ผอ่ งใส ไมร่​าบ​รน่ื แข็งก​ระดา้ ง เอกลักษณ์​ของ​ศาสนา​พุทธ คือ​การ​ยก​ปัญญา​เป็น​ คุณธรรม​สูงสุด ชาว​พุทธ​เรา​หาก​มี​ความ​จริงใจ​ต่อ​พระ​ ศาสนา​จึง​ต้อง​มุ่ง​มั่น​ให​้เป็น​ผู้​มี​ปัญญา พระพุทธ​องค์​ตรัส ไว้​ว่า​สมาธิ​เป็น​บาท​ฐาน​ของ​ปัญญา ประเภท​ท่ี​รู้​เห็น​ตาม​ ความเ​ปน็ จ​รงิ จนส​ามารถท​ำลายก​เิ ลสไ​ด้ สว่ นป​ญั ญาท​เ​ี่ กดิ ​ จากค​วามจ​ดจำห​รอื ค​ดิ ไ​ตรต่ รอง เปน็ ป​ระโยชนม​์ ากใ​นช​วี ติ ​ ประจำว​นั แตไ​่ ดผ​้ ลด​เ​ี ฉพาะเ​วลาท​ท​ี่ กุ ส​งิ่ ท​ กุ อ​ยา่ งป​ กติ พอ​ กเิ ลสเ​กดิ ข​น้ึ พอม​เ​ี รอ่ื งก​ระทบก​ระเทอื นจ​ติ ใจอ​ยา่ งร​นุ แรง เรา​มัก​จะ​ลืม​ปัญญา​ระดับ​นี้​เลย พอ​อารมณ์​ดับ​แล้ว เรา จงึ ​นกึ ไ​ด้​ว่าอ​ะไร​เป็นอ​ะไร ฉะน้นั ป​ ัญญา​แบบจ​ำ​ไดค​้ ดิ ไ​ด้​ม​ี บทบาทจ​ำกดั ใ​นก​ารส​รา้ งท​ พ​่ี ง่ึ ภ​ายใน เราจ​ำเปน็ ต​อ้ งเ​สรมิ ​ ดว้ ยป​ ญั ญาท​ ส​่ี ามารถย​นื ห​ ยดั ต​ลอดเ​วลา แมใ​้ นย​ามว​กิ ฤติ บัณฑิต​ผู้​มี​ปัญญา เห็น​เร่ือง​ที่​ควร​คิด​ควร​พิจารณา​ก็​คิด​ พิจารณา​ใน​เรื่อง​นั้น แต่​บัณฑิต​รู้จัก​กาลเทศะ เวลา​ไหน ไมต​่ อ้ งค​ดิ ก​ส​็ ามารถป​ ลอ่ ยว​างค​วามค​ดิ ไ​ด้ ทา่ นว​า่ ส​ามารถ​ อย​กู่ บั ​ส่ิง​ใดส​งิ่ ห​ นงึ่ ท​ ่​ีตอ้ งการ ตามค​วาม​ตอ้ งการ​คือส​มาธิ​ ภาวนา จติ ส​งบแ​ลว้ ถงึ เ​วลาท​ส​ี่ มควรก​น​็ อ้ มใ​จเ​พอ่ื เ​กดิ ค​วาม​ ร้​คู วามเ​ข้าใจใ​น​หลกั ​ธรรม เหมอื นแ​มงมมุ ไมม่ แี​มลงก​​็อย​ู่ เฉยๆ อยา่ งม​ส​ี ติ พอแ​มลงต​ดิ ห​ ยากไยก​่ อ​็ อกไ​ปจ​ดั การ ใน​ สมยั ป​ จั จบุ นั น​ค​้ี นจ​ำนวนม​ากเ​ปน็ ท​ กุ ขเ​์ พราะค​วามค​ดิ มาก​ 23ชยสาโร ภิกขุ

กว่า​ปัญหา​ใน​การ​เอา​ตัว​รอด​ทาง​ด้าน​วัตถุ แต่​สังคม​ยัง ไม​ค่ ่อย​ปรับต​วั ​กบั ส​ถานการณ​์ใหม่ ยงั ​ไม่ม​คี ่าน​ ยิ มใ​นก​าร​ บริหาร​ความ​คิด ระบบ​การ​ศึกษา​สอน​แต่​ให้​คน​รู้จัก​คิด เราจ​ึง​คิด คดิ คดิ อยต​ู่ ลอด​เวลา แต​่หยดุ ​คดิ ​ไม่​คอ่ ยเ​ป็น นอกจากเ​วลาน​อนห​ ลบั เ​ทา่ นน้ั และท​ กุ ว​นั น​ค​้ี นเ​ครยี ดม​าก​ เสยี จ​น​นอน​ไมค่​อ่ ยห​ ลับก​​็ม​ีเยอะ หรอื ​ถึงจ​ะ​นอนห​ ลบั ​กย​็ ัง​ ตอ้ งฝ​นั อ​กี หลบั แ​ลว้ ต​อ้ งฝ​นั เ​พราะอ​ะไร เพราะค​วามค​ดิ ย​งั ​ คัง่ ค​า้ ง​อยู่ ไม​่ยอม​ปล่อย​วาง ตน่ื ​ข้นึ ม​า​ตอนเ​ช้าก​็​ไมส่​ดชืน่ ​ เพราะ​สมอง​แช่​อยใ​ู่ น​ความ​อยาก ความก​ลวั ความก​งั วล​ อยท​ู่ ัง้ ​คืน จะจ​ัดการ​กบั ​ความ​คดิ ไม​่ใหม้​ันเ​ป็นพ​ ษิ เ​ป็น​ภยั ​ ต่อ​ชีวิตเ​รา อาตมา​เชื่อ​วา่ การ​ฝกึ ​จติ ​คอื ท​ างเ​ดียวท​ ่​ไี ด​้ผล การ​ฝึก​สมาธิ​ภาวนา​จะ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​อย่าง​ เตม็ ​ที่ ตอ้ งป​ ระกอบ​ดว้ ย สมั มา​ทฏิ ฐิ ความเ​ห็นช​อบ ส่งิ ​ ที่​ผู้​ภาวนา​จะ​ขาด​ไม่​ได้ คือ​ความ​เข้าใจ​ใน​หลัก​สำคัญ​ทาง​ พระพทุ ธศ​าสนา เชน่ กฎแ​หง่ ก​รรม อรยิ สจั ๔ ไตรลกั ษณ์ เป็นต้น จำเป็น​ต้อง​รู้​ความ​สัมพันธ์​เนื่อง​อาศัย​กัน​ของ​ศีล สมาธิ และ​ปญั ญา ต้อง​ไม​่เชอื่ ​อะไรท​ ีข่​ัด​กบั ​ความจ​รงิ ​ของ​ ธรรมชาติ เช่น ไมเ​่ ชื่อ​วา่ ม​​ีพระผ​เ​ู้ ป็นเ​จา้ ​สร้าง​โลก คอยด​ล​ บนั ดาลช​วี ติ ข​องม​นษุ ย์ ไมเ​่ ชอื่ ว​า่ น​พิ พานเ​ปน็ อ​ตั ตา เปน็ ตน้ ถ้า​อย่าง​นั้น​ผู้​ท่ี​นับถือ​ศาสนา​หรือ​ลัทธิ​อ่ืน​ทำ​สมาธิ​ได้​ไหม ไดส​้ ิ และ​ได้ผ​ล​คือ​ความส​งบ​สุข​ใน​ระดับห​ นึ่ง​ด้วย ท่ี​ไมไ่​ด้​ 24 หลับตา ทำไม

คือ​ความ​ต้ังใจ​ม่ัน​ซึ่ง​เป็น​บาท​ฐาน​ของ​วิปัสสนา อัน​เป็น​ อาวุธ​เดียว​ที่​สามารถ​นำ​เรา​ไป​สู่​ความ​เป็น​อิสระ​จาก​กิเลส​ อย่าง​แท้จรงิ ความ​เหน็ ผ​ดิ ไม่ใช​่อปุ สรรค​เดยี วท​ ค​ี่ วร​ระวัง ความ​ อยากผ​ดิ ก​อ​็ นั ตรายเ​หมอื นก​นั หลวงพ​ อ่ ช​าท​า่ นส​อนล​กู ศ​ษิ ย​์ ของท​า่ นอ​ยเ​ู่ สมอว​า่ อยา่ ป​ฏบิ ตั เ​ิ พอ่ื จ​ะเ​อาอ​ะไร อยา่ ป​ฏบิ ตั ​ิ เพือ่ ​จะไ​ด้​อะไร จง​ปฏิบัติ​เพือ่ ล​ะ ปฏิบตั ​ิเพอ่ื ป​ ลอ่ ย ถ้า​นั่ง​ สมาธค​ิ ดิ อ​ยากไ​ดน​้ น่ั อยากเ​หน็ น​ี่ อยากม​ี อยากเ​ปน็ การท​ำ​ สมาธจ​ิ ะเ​ศรา้ ห​มอง แลว้ จ​ะไ​มเ​่ ปน็ ส​มาธพ​ิ ทุ ธ เพราะก​ารท​ำ​ สมาธดิ​ว้ ย​ตณั หา ไม่ใชแ​่ นวทาง​เพื่อ​พ้นท​ กุ ข์ ท้ังน​ีก้ ็เ​พราะ มนั เ​ปน็ การก​ระทำท​ข​่ี ดั แ​ยง้ ใ​นต​วั คอื ถ​า้ เ​ผอ่ื เ​ราท​ำส​มาธเ​ิ พอื่ ​ ละต​ณั หาด​ว้ ยต​ณั หาเ​ปน็ แ​รงด​ลบ​นั ดาลใ​จแ​ลว้ เ​ราจ​ะส​ำเรจ็ ​ ไหม เหมอื นผ​นู้ ำป​ ระเทศเ​ชญิ เ​จา้ พ​ อ่ เ​ปน็ อ​ธบิ ดก​ี รมต​ำรวจ​ ชว่ ยป​ราบอ​นั ธพาล ครบู าอ​าจารยใ​์ หเ​้ ราท​ำส​มาธด​ิ ว้ ยฉ​นั ทะ คือ​ความ​อยาก​ใน​สิ่ง​ที่​ไม่​ยุ่ง​เกี่ยว​กับ​กาม​หรือ​อัตตา เช่น ตอ้ งการ​ให​้จิตใจ​เราม​ี​คุณธรรม ละก​ิเลส​ได้ เราน​ ่ัง​หลบั ตา​ เพื่อ​ทำให้​จิตใจ​เรา​สงบ​จาก​กาม สงบ​จาก​อกุศล​ธรรม ทั้ง​หลาย พอที่​จะ​อำนวย​ความ​สะดวก​แก่​การ​ทำงาน​ของ​ ปญั ญา จิตใจ​ท่ี​สงบ​เป็นสุข​อย่าง​ยิ่ง นัก​ปฏิบัติ​บาง​คน​หรือ​ หลายค​นก​ลบั ก​ลวั กลวั ต​ดิ ส​ขุ ไมก​่ ลา้ ท​ำส​มาธม​ิ าก (ทง้ั ๆ ท​ี่ 25ชยสาโร ภิกขุ

ยงั ไ​มเ​่ คยส​ขุ เ​ทา่ ไร) อยา่ งน​ค​้ี อื ค​วามค​ดิ ผ​ดิ เ​หมอื นก​นั เครอื่ ง​ รบั ป​ ระกัน​ความ​ปลอดภัย​มี​อยแ​ู่ ล้ว คอื สติ และ​ปญั ญา ถ้าเ​รา​ระมดั ระวงั ม​ีสัมมา​ทิฏฐิ ระลึก​ไดเ้​สมอ​วา่ ค​วามส​ุข​ จาก​สมาธิ สุข​จริง​แต่​ยัง​เป็น​สังขาร​อยู่ คือ​ยัง​เป็น​ของ​ไม่​ แน่ ไมใ่ ชเ​่ ปา้ ​หมายส​งู สุด เป้า​หมายส​ูงสดุ อ​ยเู่​หนอื ​สขุ แต่​ หนทางต​้อง​ผา่ น​สขุ รอ​ู้ ย​ูอ่ ย่างน​ ีไ​้ มต่​้อง​ติดส​ุข​กไ็ ด้ หรือ​ถา้ ​ ตดิ ตดิ ไ​มน​่ าน ความเ​หน็ ช​อบ สติ และค​วามจ​รงิ ใจ จะเ​ขา้ ​ มาช​ว่ ย ขอใ​หส​้ งั เกตว​า่ การเ​สวยส​ขุ ก​บั ก​ารต​ดิ ส​ขุ ไ​มเ​่ หมอื น​ กนั สุขแ​ลว้ ช​อบ ใหส้​ัก​แตว่​่า​ชอบ​กใ​็ ชไ้ ด้ ยงั ไ​มต​่ ิด คำว​่า​ ตดิ ส​ขุ ห​มายถ​งึ พ​ อใจแ​คน​่ น้ั ตอ้ งการแ​คน​่ นั้ คอื ย​ดึ ส​ว่ นห​นง่ึ ​ ของ​มรรค​เป็น​ตวั ผ​ล​เสยี ​เลย พระพุทธ​องคต​์ รสั ว​า่ ความ​สุขท​ ​่ีเกดิ จ​าก​ความส​งบ​ นนั้ น​กั ป​ฏบิ ตั ท​ิ ง้ั ห​ลายอ​ยา่ พ​ งึ ก​ลวั ทา่ นส​อนใ​หม​้ ส​ี ตร​ิ เ​ู้ ทา่ ท​นั แลว้ ม​นั ไ​มเ​่ ปน็ พ​ ษิ เ​ปน็ ภ​ยั ตรงก​นั ข​า้ ม ปตี แ​ิ ละส​ขุ ท​เ​ี่ กดิ จ​าก​ ความ​สงบ​หล่อ​เล้ียง​จิต ทำให้​กระตือรือร้น​ใน​การ​ปฏิบัติ ไม่​เบื่อ ไม่มี​คำ​อ้าง​ว่า​เช้า​เกิน​ไป ดึก​เกิน​ไป ร้อน​เกิน​ไป หนาวเ​กนิ ไ​ป หวิ เ​กนิ ไ​ป อมิ่ เ​กนิ ไ​ปเ​หมอื นแ​ตก​่ อ่ น ความส​ขุ ที่​เกิด​จาก​สมาธิ​ภาวนา​น้ัน​ถูก​ต้อง​และ​มี​ประโยชน์​ต่อ​เรา​ มาก เพราะ​วา่ ท​ ุก​คนต​อ้ งการ​ความส​ุขม​ากกว่าส​ง่ิ ​อน่ื ทกุ ​ คนใน​โลก​ไม่​ว่า​ชาติ​ไหน ช้ัน​ไหน วรรณะ​ไหน ล้วน​แต่​ ต้องการ​ส่ิง​เดียวกัน คือ​ความ​สุข เพราะ​ฉะนั้น​เรา​ควร​ 26 หลับตา ทำไม

แสวงหา​ความ​สขุ ​ดว้ ยป​ ญั ญา ได้​ความส​ุขจ​าก​สมาธ​ิด​กี วา่ ​ ได​จ้ ากท​ อ​ี่ ่ืน สำหรบั ผ​ท​ู้ ย​ี่ งั ไ​มเ​่ คยป​ ฏบิ ตั ิ ความส​ขุ ม​อ​ี ยเ​ู่ หมอื นก​นั แต่​ขอ้ ​บกพรอ่ งค​อื ม​นั ย​ังค​ับแ​คบ ไม​่มนั่ คง และไ​มร่ ู​้จกั อ​มิ่ ส่วนม​ากจ​ะเ​ป็นค​วามส​ุขท​ เ​่ี กดิ จ​ากร​ปู เสียง กล่ิน รส การ​ สัมผสั เรียก​ว่า​กามส​ขุ มัน​คบั ​แคบเ​พราะซ​้ำซาก ไม​่มัน่ คง​ เพราะเ​ราบ​ งั คบั ไ​มไ​่ ดแ​้ ละเ​ปน็ ค​วามส​ขุ ท​ไ​่ี มร่ จ​ู้ กั อ​มิ่ เหมอื น​ การใ​ชย​้ าเ​สพต​ดิ เรมิ่ แ​รกค​นื ล​ะเมด็ ก​เ​็ มาท​งั้ ค​นื อยไ​ู่ ปอ​ยม​ู่ า​ เม็ด​เดียว​ไม​่อยู่ ตอ้ งเ​พิ่มเ​ปน็ ​สอง​เมด็ สอง​กลายเ​ปน็ ส​าม สามเ​ปน็ ​ส่ี มนั เ​พิ่ม​เรื่อยๆ กาม​สุข​ทกุ ​อยา่ งก​​็เปน็ อ​ย่างน​ ี้ แน​่ละ่ มนุษยเ์​ราไ​มไ​่ ดห้​ าความส​ุขจ​าก​การเ​สพ​วัตถ​ุ อย่าง​เดียว คน​จำนวน​มาก​ไดค​้ วาม​สขุ ​จาก​การท​ ำความ​ด​ี ตา่ งๆ เชน่ การท​ ำห​ น้าท่ี​ต่อ​ครอบครวั ​อย่างด​ี การใ​ห้​ทาน การ​ช่วย​เหลือ​เพื่อน​มนุษย์​ท่ี​ตก​ทุกข์​ได้​ยาก การ​รักษา​ศีล เป็นต้น ความ​สขุ ​ทเ​ี่ กดิ ​จาก​การ​ทำความด​ี สะอาด​และน​ ่า​ อนุโมทนา โลก​เรา​อยู่​ได้​ถึง​ทุก​วัน​น้ี เพราะ​คน​ส่วน​ใหญ่​ ยัง​รกั ค​วาม​ด​พี อ​สมควร อยา่ งไร​กต็ ามถ​้าเ​ราด​ู​ใหด้​ี เรา​จะ​ เห็น​ว่า​ความ​สุข​นี้​ยัง​ไม่​ลึก​ซึ้ง มัน​เป็น​ส่วน​สำคัญ​ของ​ชีวิต​ ท​ด่ี ี​งาม ชว่ ยท​ ำให​้สังคมม​นษุ ย์อ​ยไู่​ด้ แต​่ในข​ณะเ​ดียวกนั ไม่​สามารถ​ลบล้าง​ความ​รู้สึก​ภายใน​ว่า​หิวโหย หรือ​ขาด​ อะไรส​กั ​อย่าง ซ่งึ ส​ิง​สถติ ​อยใ​ู่ น​ใจ​มนษุ ย​์ปถุ ุชนต​ลอด​เวลา 27ชยสาโร ภกิ ขุ

เป็น​ปัจจัย​หนึ่ง​ท่ี​ทำให้​คน​ติด​อบายมุข​มาก เม่ือ​มี​ความ​ สขุ ท​ ​ส่ี ะอาดเ​ป็น​บุญ​พอ​เป็นพ​ นื้ ​ฐานแ​ล้ว พระพุทธ​องคจ​์ งึ ​ ต้องการ​ให้​เรา​ก้าว​ต่อ​ไป​ใน​กระบวน​วิวัฒนาการ​ชีวิต​ด้วย​ การอ​บรมจ​ติ ใจ คนด​​ีท่​ยี งั ​มก​ี เิ ลส​เปน็ ​คนด​​ีตลอดเ​วลา​ไม​ไ่ ด้ คนท​ ่​ยี ัง ไม่​ถึงด​ี กไ​็ ม่​ต้องพ​ ดู ถ​ึง ความ​ต้องการส​ขุ ​เวทนาม​ี​อำนาจ​ เหนอื จ​ติ ใจค​นเ​ราม​ากเ​หลอื เ​กนิ หลายส​งิ่ ห​ลายอ​ยา่ งท​เ​ี่ ราร​​ู้ วา่ ไ​มด​่ ี แตก​่ ป​็ ลอ่ ยไ​มไ​่ ดเ​้ พราะเ​สยี ดายค​วามส​ขุ ท​เ​ี่ ราไ​ดจ​้ าก​ มัน การ​แก้ไข​จึง​ไม่​ได้​อยู่​ท่ี​การ​ยอมรับ​ว่า​สิ่ง​ไม่​ดี​ท้ัง​หลาย มโ​ี ทษอ​ยา่ งเ​ดยี ว ปญั หาส​ำคญั ค​อื ท​ ำอ​ยา่ งไรเ​ราจ​งึ จ​ะย​อม​ หาความส​ขุ ท​ ด​่ี ก​ี วา่ จ​ากส​ง่ิ เ​สพต​ดิ ท​ ม​ี่ ม​ี ากมายก​า่ ยก​อง แต่ มจ​ี ุดรวม​อยู​่ทส่​ี ุขเ​วทนา ไม่ม​ีใครท​ ่ีไหนต​ิดเ​ฮโรอีน ยาบ้า ฯลฯ หรอก สง่ิ เ​หล่า​น้นั เ​ปน็ ​แคส่​่อื ​เทา่ นน้ั สงิ่ ท​ ่คี​น​เราต​ดิ ​ อย่างเ​หนียว​แนน่ ค​ือค​วาม​สขุ ท​ ไ่​ี ด​้จาก​มนั หลกั ก​ารม​อ​ี ยว​ู่ า่ คนเ​ราจ​ะก​ลา้ ป​ ลอ่ ยว​างค​วามส​ขุ ท​ ​่ี เกดิ จ​ากส​ง่ิ ท​ไ​่ี มด​่ ห​ี รอื เ​กดิ จ​ากส​ง่ิ ม​โ​ี ทษไ​ด้ ตอ่ เ​มอื่ ม​ค​ี วามส​ขุ ​ อยา่ งอ​นื่ ท​ม​ี่ นั่ ใจว​า่ เ​ลศิ ก​วา่ ท​ดแทน หรอื อ​ยา่ งน​อ้ ยท​ส่ี ดุ เ​มอื่ ​ ไดช​้ ิมร​ส​ของ​ความ​สขุ น​ ั้น และม​ี​หวัง​วา่ ต​่อไ​ปจ​ะไ​ดม​้ ากข​นึ้ ทั้งนี้​ก็​เพราะ​ว่า​คน​เรา​ส่วน​มาก​ขี้​ขลาด กลัว​จะ​ขาด​ความ​ สุข กลวั จ​ะ​ไมม่ ​อี ะไร จงึ ไ​ม่​ยอมป​ ล่อย​วาง แต่เ​ม่ือเ​รา​ได​้ ความส​ขุ ท​ ด​ี่ ก​ี วา่ เราก​ก​็ ลา้ มก​ี ำลงั ใ​จ พระกรร​มฐ​านห​ ลาย​ 28 หลับตา ทำไม

รูป ตอนว​ยั ​รุน่ ก​่อนบ​ วช เคย​สบู ​กัญชา แต่​เม่อื ม​าน​ ั่งส​มาธิ​ ภาวนาแ​ลว้ ทา่ น​เหน็ ว​่าการส​บู ​กญั ชา​กับ​การฝ​กึ จ​ิต​เข้าก​ัน​ ไม่​ได้ ท่าน​กลา้ ​เลิก​ใน​ส่งิ ​ที่​ให้​ความ​สขุ ก​ับ​ชวี ิต เพราะเ​ห็น​ วา่ การ​ฝึก​จติ ด​กี​ว่า สูง​กวา่ และเ​ช่อื ​ม่ัน​วา่ ​มแี​ก่น​สาร หน้าที่​สำคัญ​อย่าง​หน่ึง​ของ​สมาธิ คือ​การ​ให้​ความ​ สุขแ​ก่​ชวี ิตเ​รา ความ​สขุ ​ประเภท​ท​่ีท่านเ​รยี กว​า่ นริ า​มิสส​ขุ คอื ค​วามส​ขุ ท​ ไ​ี่ มข​่ น้ึ ต​อ่ อ​ามสิ ไมย​่ งุ่ ด​ว้ ยว​ตั ถุ ดว้ ยก​าม เปน็ ​ ความ​สุข​ที่​ละเอียด​อ่อน เม่ือ​เรา​ได้​สัมผัส​ความ​สุข​อย่าง​น้ี​ แล้ว เรา​จะก​ล้า​เสยี ส​ละค​วามส​ขุ ​ในส​่ิง​ทม​่ี ​ีโทษ ในส​ง่ิ ​ทไ​่ี ม่​ ดท​ี ง้ั ห​ ลาย ทเ​ี่ ราเ​คยย​ดึ ม​นั่ อ​ยา่ งเ​หนยี วแ​นน่ เพราะเ​หน็ ช​ดั ​ วา่ ​เป็น​ปฏิปักษ์​ตอ่ ​ความ​สุข​ท่ีด​ีก​ว่า เราร​้​ูว่าอ​ะไร​ดอี​ะไร​ชัว่ พ​ อ​สมควร แตค่​วามร​ู้ก​ับ​การ ก​ระ​ทำ​มัก​จะ​ไม่​ค่อย​ลง​รอย​กัน อย่าง​เช่น​ การ​สูบ​บุหร่ี ทกุ ว​นั น​เ​ี้ ราร​ก​ู้ นั ด​ว​ี า่ อ​นั ตรายต​อ่ ส​ขุ ภาพ แตท​่ ำไมค​นจ​ำนวน​ มากย​งั ส​บู ก​นั รวมถ​งึ ห​ มอบ​ างค​นด​ว้ ย ความส​งบเ​ปน็ ส​ง่ิ ท​ ี่​ นำค​วามส​ขุ ม​าส​จ​ู่ ติ ใจ และม​นั เ​ปน็ ค​วามส​ขุ ท​ ท​ี่ ำใหเ​้ ราก​ลา้ ​ ปลอ่ ยว​างส​ง่ิ ท​ เ​่ี ราเ​คยย​ดึ ต​ดิ สง่ิ ท​ เ​ี่ คยฉ​ดุ ล​ากจ​ติ เ​ราล​งไ​ปส​​ู่ สง่ิ ​ตำ่ ​ทราม ไม่​ให​้ข้ึนไ​ป​ส​ู่สิง่ ​สูง ส่งิ ​เลิศ สงิ่ ป​ ระเสริฐ​ได้ ทีนี้​ใน​การ​ฝึก​จิต​ให้​สงบ​ระงับ จิตใจ​ก็ได้​อยู่​เหนือ​ อำนาจ​ของ​นิวรณ์ จิตใจ​ท่ี​อยู​่สามารถ​เห็น​ส่ิง​ตา่ งๆ ตาม​ ความ​เป็น​จริง พระพุทธ​องค์​ทรง​ตรัส​ว่า อานิสงส์​ของ​ 29ชยสาโร ภกิ ขุ



สมาธคิ​ือ ยถา​ภตู ญ​ าณท​ ศั นะ คือ​การร​ู​เ้ ห็น​ตามค​วามเ​ปน็ ​ จรงิ ถา้ ​นวิ รณอ​์ ยู​่ในจ​ติ ใจ​ของเ​รา นอกจาก​ทำให้จ​ิตใจเ​รา​ กวดั ​แกวง่ และ​เศร้าห​ มอง​แลว้ ก็​ยังเ​ป็นส​่งิ ​ที่บ​ อ่ น​ทำลาย​ ปัญญาข​อง​เรา มองไ​ม​เ่ หน็ ว​า่ ​อะไรเ​ป็น​ประโยชน์ อะไรไ​ม่​ เป็นป​ ระโยชน์ อะไรถ​กู อะไร​ผดิ เม่ือ​จิตใจ​สงบ​แล้ว เรา​ไม่​ต้อง​สนใจ​ว่า​ได้​สมาธิ​ขั้น​ ไหน หลวง​พ่อ​ชา​สอน​ว่า เหมือน​เรา​รู้​รส​ของ​ผล​ไม้​โดย​ ไม่​จำเป็น​ต้อง​รู้จัก​ช่ือ​ของ​มัน รู้​อาการ​ของ​จิต​ใน​ปัจจุบัน​ ก็​พอ ถ้า​นิ่ง​แน่ว​แน่​ก็​รู้ มี​ความ​คิด​บ้าง​เล็ก​น้อย​แต่​ไม่​ รบกวน​ก็​รู้ ตั้ง​มั่น​พอ​สมควร​แล้ว​น้อม​จิต​พิจารณา​กาย​ก็​ งา่ ย คล่องแคลว่ และจ​ติ ​ท่ี​พจิ ารณาด​ว้ ยพ​ ลังส​มาธจ​ิ ะ​ผิด​ จาก​จิต​ปกติ​ตรง​ที่​เป็นก​ลาง​โดย​ไม่​ต้อง​ต้ังใจ เรียก​ว่า​ไม่​ ยนิ ดย​ี นิ รา้ ย ไม​่เกดิ ​ปฏกิ ิริยาโ​ต้ตอบ​ตอ่ ​สิ่ง​ต่างๆ ที​่ปรากฏ​ ให​้เห็น ความ​ไมเ​่ ท่ียง ความ​เป็น​ทกุ ข์ ความ​เปน็ ​อนตั ตา​ ของส​ง่ิ ​ทั้งห​ ลาย จะ​เร่ิมช​ัด​ขนึ้ เ​รอ่ื ยๆ คอื ค​น​เราย​ังไ​มไ่​ด้​รับ​ การ​ฝกึ ​อบรม เราก​็... ขอโทษ​นะ... ไม่​แตก​ต่างจ​าก​สัตว์​ เดรจั ฉานเ​ทา่ ไร ทำไมเ​พราะจ​ดุ เ​ดน่ ข​องส​ตั วเ​์ ดรจั ฉาน คอื ​ การอ​ยู่​ใต​ส้ ัญชาตญาณ มนษุ ย​์เป็นส​ตั วป​์ ระเสรฐิ เพราะ​ สามารถ​อยู่​เหนือ​สัญชาตญาณ​ด้วย​การ​ฝึก​อบรม แต่​ถ้า​ ไม่​ฝึก ความ​เป็น​สัตวป​์ ระเสรฐิ ​ย่อมไ​ม่เ​กิด​ความแ​ตก​ตา่ ง​ จากส​ตั วอ​์ น่ื ​ก​็ไมป​่ รากฏ 31ชยสาโร ภิกขุ

เราม​กั ป​ ระเมิน​บทบาท​ของเ​หตผุ ล​ในช​วี ติ เ​ราส​ูงเ​กิน​ ไป เราอ​ยากเ​ชอื่ ว​า่ เ​ราเ​ปน็ ต​วั ข​องต​วั แ​ลว้ เลยม​องข​า้ มห​ลกั ​ ฐานท​ ่ฟ​ี ้องว​่า​ไม่ใช่ สงั เกต​ดู​ส​วิ ่า สง่ิ ​ทที​่ ำ พูด คดิ ใน​แตล่ ะ​ วนั ​เปน็ แ​คป่​ ฏกิ ริ ยิ า​ตอ่ ส​่ิง​ทส่ี​มั ผัส​ทาง​ตา หู จมกู ลน้ิ กาย มากน​ อ้ ยแ​คไ​่ หน หลายเ​ปอรเ์ ซน็ ตใ​์ ชไ​่ หม บางว​นั อ​ารมณด​์ ​ี เชยี ว ใคร​ถามส​าเหตุก​็​ตอบไ​ม​ถ่ ูก อาจ​จะย​ิ้มต​อบ​เฉยๆ ท่ี​ จรงิ เ​ปน็ ผ​ลจ​ากเ​รอื่ งเ​ลก็ น​อ้ ยเ​ชน่ ก​ารไ​ดท้ จ​ี่ อดร​ถง​า่ ย หรอื ม​​ี ขา่ ว​วา่ ​ทมี ฟ​ ุตบอล​ท​่ีชอบไ​ดช​้ นะ บาง​วนั ห​ นา้ บ​ งึ้ ท​ ้งั ​วันเ​รื่อง​ จกุ จกิ จิตถ​กู เ​ชดิ ​ตลอด​เวลา เขาส​รรเสริญ​เราก​ด​็ ีใจ เขา​ นินทา​เรา​ก็​เสียใจ เจอ​การ​สัมผัส​ท่ี​เรา​ชอบ เรา​ก็​มี​ความ​ สขุ เจอส​ง่ิ ​ท​่เี ราไ​ม่​ชอบ เรา​ก็​ทกุ ข์ เมื่อ​เป็น​อย่าง​นี้ ความ​สุข​ความ​ทุกข์​ของ​เรา​ถูก​ กำหนด​ด้วย​สิ่ง​เกิด​ดับ​นอก​ตัว​เรา​เสีย​ส่วน​ใหญ่ พูด​อีก​ นัย​หนึ่ง​ก็​คือ ชีวิต​ของ​เรา​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ไป​ตาม​กรรม​ เก่า​หรือ​อาจ​จะ​พูด​ว่า​ชีวิต​เป็น​ไป​ตาม​ดวง​ก็ได้ ชีวิต​ถูก​ กำหนด ชีวิต​ถูก​ลิขิต ชีวิต​ถูก​บังคับ เพราะ​เรา​ยัง​ไม่​ได้​ ฝึก​อบรม​ตัว​เอง ผู้​ท่ี​ปฏิบัติ​ธรรม​แล้ว​เท่านั้น​ที่​มี​โอกาส​ อยู่​เหนือ​ดวง ผู้​ท่ี​ปฏิบัติ​แล้ว​พ้น​จาก​ภาวะ​ที่​ชีวิต​เป็น​แค่​ ปฏกิ ิรยิ า​โตต้ อบต​่อส​ิง่ ท​ ีม่ า​กระทบ กลายเ​ป็นช​วี ติ ท​ ก​่ี อปร​ ด้วย​การ​ปฏิบัติ​ต่อ​สิ่ง​ต่างๆ ด้วย​สติ​ปัญญา เจอ​ส่ิง​ใด​ แล้ว​เกิด​ความ​สุข สัญชาตญาณ​ชวน​ให้​พอใจ​ยินดี​ใน​สิ่ง​ 32 หลบั ตา ทำไม

นน้ั ทั้งๆ ที​่เรา​อาจจ​ะ​ร​ู้สึก​ลึกๆ ว่าไ​มด่​​ีกไ็ ด้ แต่​รสชาติ​ มัน​อร่อย​เหลือ​เกิน เรา​เลย​อด​เพลิน​กับ​มัน​ไม่​ได้ ติดใจ สิ่ง​ใด​ทำให้​เรา​ร้สู กึ ​ทกุ ข์ เราก​็​จะ​ไม่พ​ อใจ ยินรา้ ยใ​นส​่ิง​นัน้ พยายาม​ห่าง​จากส​ิง่ ​นั้นใ​ห้​ได้ พยายามท​ ำลายจ​น​ได้ ถ้าม​องใ​นแ​ง​่ความร​ูส้ กึ ​ล้วนๆ สุขด​​ีกว่าท​ ุกข์ แต่ถ​้า​ มองใ​น​แง​่ผลต​่อ​คุณภาพ​จติ มัน​ม​คี า่ ​เท่าก​ัน เพราะ​ไมว่​่า​ ยินดี​ใน​สุข​หรือ​ยินร้าย​ใน​ทุกข์ จิตใจ​เสีย​หลัก​ทั้ง​น้ัน ถูก​ กำหนด​ด้วย​ส่งิ ​นอก​ตวั ถกู ​กำหนด​ดว้ ย​กรรม​เกา่ ไม่​เปน็ ​ อสิ ระ น่เี​ป็น​เรอ่ื งธ​รรมดา​ของค​นท​ ี่​ยัง​ไมไ่​ด​้ศกึ ษา สรุป​ว่า​ ความ​ยินดี​ยินร้าย​เป็น​อาการ​บ่ง​บอก​ว่า​จิต​เรา​เสีย​รู้​เวทนา​ แลว้ อานิสงส์​ของ​การ​ทำ​สมาธิ​ภาวนา​ข้อ​หน่ึง คือ​การ คอ่ ยๆ พน้ จาก​ภาวะน​ น้ั เพราะอ​ะไร เพราะก​าร​กำหนด​ อารมณ์​กรรมฐาน​ของ​เรา คือ​การ​ฝึก​ไม่​ยินดี​ยินร้าย​กับ​ อารมณ์ เช่น ดู​ลม​หายใจเ​ขา้ ลม​หายใจ​ออก แทนท​่ีจะ วง่ิ ต​ามค​วามร​สู้ กึ ว​า่ ช​อบไ​มช​่ อบท​เ​ี่ กดิ ข​นึ้ ตามส​ญั ชาตญาณ ตาม​ความ​เคยชิน เรา​ก็​พยายาม​ดำรง​สติ​รู้​เท่า​ทัน แล้ว​ก็​ ปลอ่ ย​วาง รแู​้ ลว้ ​ก​ป็ ล่อย ร้​ูแล้วก​ป็​ ลอ่ ย รแู​้ ล้ว​กป็​ ล่อย ทกุ ​ ครง้ั ท​ร​่ี แ​ู้ ลว้ ป​ลอ่ ย นนั้ แ​หละค​อื ก​ารเ​สรมิ ส​รา้ งน​สิ ยั ใ​หม่ นสิ ยั ​ ท่​ีเป็น​อิสระ​จาก​อารมณ์ เป็นง​าน​ท่​ตี อ้ ง​ใช้เ​วลาน​ าน ตอ้ ง​ ทำ​บ่อยๆ เพราะ​เรา​เคย​ส่ังสม​ความ​เคยชิน​ที่​จะ​ยึด​ม่ัน​ใน 33ชยสาโร ภิกขุ

สง่ิ ต​า่ งๆ เอา​จริง​เอาจ​งั ​กับ​มนั สำคญั ​มั่น​หมายม​นั ม​าก ทนี ี​้ใน​การฝ​ึก​จิตใ​นด​้านก​าร​ทำ​สมาธภ​ิ าวนา คอื ฝ​กึ ​ ใน​ทาง​ตรง​ข้าม คือ​ไม่​เอา​แล้ว เร่ือง​ตะครุบ​เอา​ส่ิง​ท่ี​ชอบ แล้ว​ก็​ผลักไส พยายาม​ไล่​ออก​ส่ิง​ท่ี​ไม่​ชอบ​ไป โดย​ไม่​คิด​ ว่าถ​กู ​หรือ​ผิด แต่เ​ราจ​ะ​เปล่ยี นน​ ิสยั โ​ดย​ความค​ิด​เฉยๆ ไม่​ ได้ ไม่ใชว่​า่ ​อย่ด​ู ีๆ อา่ นป​ รัชญา​หรือว​า่ ฟ​ ัง​เทศน์ ตดั สินใ​จ​ แลว้ ว​่าไ​ม่ จะ​ไม​่ยินดใ​ี นส​่ิง​นั้นอ​กี ​แลว้ ไม่​ดี และเ​ราจ​ะ​ไม่​ ยินร้าย​กบั ​ส่งิ น​ ้นั ​อีก​แล้ว เป็นน​ ิสัย​เสีย​ไมเ่​อา​อกี แ​ล้ว เรอื่ ง​ ยินด​ียินรา้ ย บงั คับต​วั เ​อง​ไมไ่​ด้​อยา่ งน​ นั้ มันเ​ปน็ เ​อง มนั ​ เร็ว​เกิน​ไป สติ​เรา​ตาม​ไม่ทัน เรา​จะ​ทำได้​ต้อง​ฝึก​จิต​และ​ ตอ้ ง​ใชเ้​วลา เรม่ิ ​ต้นใ​หม่​ด้วยค​วามใ​จเย็น ทา่ นเ​ตอื นย​ำ้ ใ​หเ​้ ราไ​มป​่ ระมาท เพยี รพ​ ยายาม ใจเดด็ ​ ใจเ​ดย่ี วน​ส​ี่ ำคญั ความไ​มป​่ ระมาทก​ค​็ อื ไมเ​่ หล​าะๆ แหล​ะๆ ไมท​่ ำส​บายๆ เหมอื นเ​ปน็ ง​านอ​ดเิ รก แตล่ ะค​รงั้ ท​น​ี่ งั่ ไ​มต​่ อ้ ง​ คิด​เอา​อะไร​มาก​หรอก​เอา​แค่​สอง​อย่าง​ก็​พอ คือ​เอา​จริง​ กบั เ​อาจ​ัง ได้​สองอ​ยา่ งน​ ี​้รวย​อรยิ ท​ รพั ยแ​์ น่ แต​่ถา้ ​ไมม่​งุ่ ม​น่ั เดีย๋ วจ​ะค​ล้าย​กับ​ชาว​ประมง​ท​ชี่ อบ​ทอดแ​ห​เกา่ ๆ ทขี​่ าดๆ ไมไ​่ ดอ​้ ะไรก​นิ แ​ลว้ ก​ช​็ กั ส​งสยั ว​า่ ทน​่ี ไ​่ี มม่ ป​ี ลา ทอดไ​ปท​อดม​า ผลส​ดุ ทา้ ยก​ท็​ อด​อาลยั ​จะ​ต้อง​พถิ ีพถิ นั ​พอ​สมควร เช่น ดู ลมห​ ายใจ​เข้า ลม​หายใจ​ออก มันไ​ม​่เหมอื นก​ารส​อบไลใ่​น​ โรงเรียน ถ้าท​ าง​โลก​นส้ี​อบ​ได้ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ กไ็ ดเ​้ กรดเ​อ 34 หลบั ตา ทำไม

อาจไ​ดเ​้ กียรตนิ ยิ ม ทางธ​รรม​น้​ตี อ้ ง ๑๐๐ เปอรเ์ ซ็นต์ จึง​ จะส​อบผ​า่ น เชน่ ดล​ู มห​ ายใจเ​ขา้ ลมห​ ายใจอ​อก สมมตว​ิ า่ ๑๐๐ ลม​หายใจ ถา้ ​ม​ีสติ​แค่ ๘๐ ใน ๑๐๐ สอบไ​มผ่​า่ นน​ ะ สอบ​ตก ทาง​โลก ๘๐ ใน ๑๐๐ ถอื ว่าเ​ก่ง แตท​่ างธ​รรม​ไม​่ ได้ ถา้ ​ไม่​ได้ ๑๐๐ เรยี กว​า่ ​สมาธ​ไิ มเ​่ กดิ เพราะส​มาธ​ติ อ้ ง​ ต่อเ​นือ่ ง ไม​่ให้​ขาดแ​ม้แต่น​ ดิ ​เดียว เรา​ต้อง​ต้ัง​อกต้ัง​ใจ มุ่ง​มั่น กำหนด​จดจ่อ​อยู่​ที่​ลม​ หายใจเขา้ ลม​หายใจ​ออก ตอ้ ง​ดู​อยรู​่ ​อู้ ย​ูต่ ลอด ตลอด​ลม​ หายใจ​เขา้ ตลอดล​ม​หายใจ​ออก ต้งั แต่​ตน้ ลม กลางล​ม จนถึง​ปลาย​ลม การ​แยก​ลม​เป็น​สาม​ส่วน​อย่าง​นี้ ไม่​ได้​ หมายความว​่า ต้องต​าม​ลม​เข้าไป​ข้างใ​น ตามล​มอ​อกม​า​ ข้าง​นอก แต​ห่ มาย​ถงึ วา่ ร​ต้​ู น้ ​ลม กลาง​ลม และ​ปลายล​ม​ ในจ​ดุ ท​เ​่ี ราเ​ลอื กก​ำหนดดล​ู ม อยา่ งเ​ชน่ ท​ป​ี่ ลายจ​มกู เ​ปน็ ตน้ ต้น​ลมก​​็รู้ กลาง​ลม​ก็​รู้ ปลาย​ลม​กร็​ู้ รู​้อยตู่​รง​จุดน​ ้นั รู้​อยู​่ ทุกข​ณะจ​ิต ใหม​้ พ​ี ุทโธอ​ยเ​ู่ ปน็ ​ที​่พง่ึ ต​ลอดเ​วลา ถึงแ​มว้ ่าไ​ม​่ ไดบ​้ รกิ รรมพ​ ทุ โธพ​ ร้อมก​บั ล​มก​ต็ ามท​ ี แตต​่ อ้ งม​พ​ี ทุ ธภ​าวะ​ อย​ภู่ ายใน พทุ ธภ​าวะ คอื ภ​าวะจ​ติ ท​ ี่ รู้ ตนื่ เบกิ บ​าน เราก​ำหนด​ สิ่ง​ใด​ก็ตาม ต้อง​ตั้ง​ตัว​รู้​ไว้​แล้ว​ไม่​ให​้อ่อน​ลง หลวง​พ่อ​ชา ทา่ นส​อนว​า่ ใ​นก​ารเ​จรญิ อ​าน​ าป​ านส​ติ มี ๓ อยา่ งท​ จ​่ี ะต​อ้ ง​ ปรากฏ​พร้อมก​นั หน่ึง คือล​ม สอง คือ​สติ สาม คือจ​ติ 35ชยสาโร ภิกขุ

ใน​ท่ี​นี้​จิต​หมาย​ถึง​ความ​รู้ตัว หรือ​จะ​เรียก​ว่า​สัมปชัญญะ​ ก็ได้ คอื ร​ู้ตัว สติ​คอื ​ไม่​ลมื ไม่ล​มื ​ลม มี​ลมแ​ลว้ ​ก็ไ​มล​่ มื ​ลม ต้องม​​ีการ​รตู้ ัว ระลึก​ลม​ไดไ​้ ม่​ลืม แต​่ขาดค​วามร​ู้ตวั มนั จ​ะ​ กลาย​เป็นการต​กภ​วงั คไ์​ด้ ฉะน้ัน​ต้อง​ทำนุ​บำรุง​พุทธ​ภาวะ บริกรรม​พุทโธ​อยู่ บ่อยๆ ด้วยค​วาม​ตง้ั ใจ รู้ ตืน่ เบกิ บ​ าน อยใู​่ นป​ ัจจบุ นั พระพุทธเจ้า​เป็น​ผู้​ต่ืน​อยู่​เสมอ เรา​ตื่น​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​ก็​มี​ สว่ นแ​หง่ ​พทุ ธภ​าวะ คำว​า่ พทุ ธะ ไมใ่ ชภ​่ าษาบ​ าลอ​ี ยา่ งเ​ดยี ว แตป​่ รากฏ​ อยใู่​น​ภาษา​รสั เซีย เหมอื นก​ัน โดย​หมายถ​ึง​นาฬิกาป​ ลุก ปลกุ ​เหมอื น​กัน แตข​่ อง​เรา​ไมม่ ​ีนาฬกิ า​ปลุก มส​ี ตปิ​ ลุก มี​ ความ​ต้ังใจ​เป็นการ​ปลุก​จิต​ให้​ต่ืน ระหว่าง​การ​ทำ​สมาธิ เราค​วรส​งั เกตต​วั เ​อง วา่ เ​ราต​นื่ ไ​หม การก​ำหนดค​มช​ดั ไ​หม พอดี ไมต​่ งึ ไ​มห​่ ยอ่ นไ​หม ตอ้ งม​ก​ี ารค​อยต​ดิ ตามก​ารท​ำงาน​ ของ​เรา เรา​ยงั ​อย​่กู ับ​ลม​ไหม หรอื ว​า่ เ​ราล​ืมล​มเสยี ​แล้ว ถา้ ​ ลมื ​เรยี กว​า่ ​สต​ิขาด ไมเ่​ปน็ ไร ไมต่​อ้ ง​น้อยใจ ไมต​่ อ้ ง​ทอ้ ใจ แต่​รบี ​ตั้ง​ต้นใ​หม่ ถงึ ​จิตใจ​ยังอ​ยู่​กับล​ม ก็​ยงั ป​ ระมาทไ​มไ​่ ด​้ เพราะ​ถา้ ​ไม​่ตื่น ไม่รู้​ตวั อยา่ งแ​จ่ม​แจ้ง เริ่มจ​ะ​เคลบิ เคล้ิม​ แล้ว ตอ้ งร​ะวงั เด๋ยี วจ​ะเ​ป็น สมาธ​ิหัวต​อ การฝ​กึ จ​ิตส​นุก​ ดี​อย่าง​น้ี มี​อะไร​ท้าทาย​ตลอด​เวลา ผู้​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​เป็น ย่อม​ประจกั ษ์​เลยว​า่ ม​นั ​สขุ เ​ยอื ก​เย็นจ​รงิ ๆ 36 หลับตา ทำไม

การก​ลา่ วว​า่ ความส​ขุ ไ​มไ​่ ดอ​้ ยท​ู่ อ​ี่ น่ื ไ​กล ความส​ขุ อ​ย​ู่ ทน​่ี ี่ เดย๋ี วน​้ี ความส​ขุ ท​แี่ ทเ​้ กดิ เ​องใ​นจ​ติ ใจท​บ​่ี รสิ ทุ ธิ์ ไมไ​่ ดอ​้ ย​ู่ ทก​ี่ ารเ​สพว​ตั ถุ คนเ​ขา้ ว​ดั ก​็ คนุ้ ห​ ู พอส​มควร แตต​่ อ้ ง คนุ้ ใ​จ จงึ จ​ะซ​้ึง ความส​ขุ ไ​มไ​่ ดอ​้ ยใ​ู่ นส​ง่ิ ท​ ส​่ี มั ผสั หากอ​ยทู​่ ต​่ี วั ผส​ู้ มั ผสั ถ้า​เรา​สามารถ​ให้​ลูก​หลาน​เรา​เห็น​ความ​จริง​น้ี​ได้​จะ​เป็น​ บญุ อ​ยา่ ง​ยง่ิ เพราะก​าร​พ้นค​วาม​หลงใหล​ในว​ัตถุ และ​ภัย​ อนั ตราย​ที่​ตาม​มา​ทั้ง​แก่​ตวั ​เอง​และ​สังคม จะ​เกดิ ไ​ด​้ก็​ด้วย​ การ​ศึกษาเ​ร่ือง​ธรรมชาติ​ของ​ความ​สุข​การท​ ำ​สมาธ​ิภาวนา​ ทไ่ี​ด​้ผลต​้องใ​ช​้เวลา ฉะนั้นต​อ้ ง​ตดิ ตามผ​ลง​านจ​งึ ​จะ​รกั ษา​ กำลังใ​จไ​วไ​้ ด้ ถา้ ม​เ​ี วลาจ​ำกดั น​ ง่ั ส​มาธต​ิ อนเ​ชา้ ด​ก​ี วา่ ต​อนก​ลางค​นื ถ้า​เรา​มี​เวลา​น่ัง​ทั้ง​เช้า​ทั้ง​เย็น​ได้​จะ​ดี​ที่สุด แต่​ถ้า​เกิด​ไม่มี​ โอกาส ต้องเ​ลอื ก เลือก​ตอน​เช้า​ดก​ี วา่ เพราะผ​ท้​ู ่​ีชอบน​ ั่ง​ สมาธกิ​อ่ นน​ อน มกั ​จะ​นอนก​อ่ นส​มาธิ ดึก​แลว้ ๔ ท่มุ ๕ ทุม่ เหน่ือยจ​าก​การท​ ำงาน​แล้ว ร่างกายต​อ้ งการพ​ กั ผ​อ่ น นัง่ ​ก​็เปน็ ​เรอื่ ง​ธรรมดา​ว่า​ไม่​ก​ี่นาท​ีก​็อยาก​หลบั ไม​่ชำนาญ​ หรือ​ไม่​ต้ัง​ใจ​จริงๆ ก็​จะ​แพ้ อยู่​ไป​อยู่มา การ​นั่ง​สมาธิ​ กลายเ​ปน็ การก​ลอ่ มป​ ระสาทก​อ่ นน​ อนเ​ฉยๆ ดเี​หมอื นก​นั ​ สำหรบั ผ​้​ูนอนไม่​หลบั ด​ีกวา่ ท​ านย​า แตม​่ นั ​ไมด่​​สี ำหรบั ​ผ้​ทู ​ี่ ต้องการค​วาม​ตนื่ อ​ยใู​่ นป​ ัจจุบนั ยง่ิ ​ร้ายอ​าจ​จะ​ทำให้​มน​ี สิ ัย​ 37ชยสาโร ภิกขุ

นัง่ ​แลว้ ​สัปหงก ถ้า​จะ​ใหด​้ กี​วา่ น​ ้นั ควร​จะล​อง​นัง่ ​สมาธติ​อนเ​ชา้ ตน่ื ​ แต​เ่ ช้าห​ น่อย ล้าง​หน้าล​้าง​ตา ไหวพ​้ ระ​แลว้ น​ ่งั เช้าม​ดื ก​็​ เงยี บด​ี ไม่มี​อะไรร​บกวน ไม่มีใ​คร​โทร​มา เลกิ แ​ลว้ ไปอ​าบ​ นำ้ เ​ตรยี มต​วั ไ​ปท​ ำงาน ยงั ไ​มห​่ ยบิ ส​บก​ู่ ร​็ สู้ กึ ส​ดชน่ื แ​ลว้ ตอน​ กลาง​วัน​คอย​สังเกต​อารมณ์ ความ​รู้สึก​ต่างๆ ท่ี​เกิด​ขึ้น ไม​่นาน​กจ​็ ะ​เห็นว​่า​เยอื ก​เย็น​กว่า​แต​่กอ่ น ไมค่​อ่ ยห​ งุดหงิด​ เหมือน​แต่ก​่อน ไม่ค​อ่ ยฉ​ุนเฉยี ว​เหมอื นแ​ต​่กอ่ น ...สบาย ถ้าเ​ก่ง​แลว้ จ​ะ​เหมอื น จติ ใจ​อย​่ใู น​หอ้ งต​ดิ แ​อร์ อะไร​จะ​เกิด​ ขน้ึ ก​ไ​็ มส​่ ะทกส​ะทา้ น ไมใ่ ชเ​่ ฉยเมยน​ ะ ไมใ่ ชว​่ า่ อ​ะไรๆ กไ็ ด้ อัน​น้ัน​ก็​ไม่ใช่​เหมือน​กัน แต่​ว่า​อะไร​ที่​เกิด​ข้ึน​เรา​ก็​รู้สึก​ว่า​ อย่​ูใน​ขอบเขตท​ ี​่เราท​ นไ​ด้ จดั การ​ได้ ไมก​่ ลมุ้ ใ​จก​ับป​ ัญหา ไม​่ประมาท​กับป​ ญั หา ก้าว​ไป​ที​ละ​กา้ ว​อยา่ งม​ส​ี ติ ไมเ​่ กดิ ​ อาการ​ตระหนก​ตกใจ​กับ​เร่ือง​ที่​เกิด​ข้ึน​อย่าง​กะทันหัน ยืดหยุ่น​แต​่มนั่ คง เกิด​วิกฤติ​อะไร​ข้ึน​มา​ปุ๊บ​ปั๊บ​อย่าง​ไม่​คาด​คิด​ว่า​จะ​ เปน็ ไ​ด้ คนท​ม​ี่ จ​ี ติ ใจไ​มต​่ ง้ั ม​นั่ ก​ม​็ กั น​กึ ไ​มอ​่ อก วนุ่ วาย ตดั สนิ ​ ไม่​ถูก ทำ​ไม่​ถูก พูด​ไม่​ถูก หรือ​ถ้า​ทำ​อะไร​มัก​ผิด​พลาด ส่วน​ผู้​ที่​ระงับ​อารมณ์​ได้​เป็น​ผู้​ท่ี​รู้สึก​พร้อม​ท่ี​จะ​รับ​ทุก​เร่ือง​ ท่ี​เกิด​ขึ้น จิตใจ​ไม่​วิ่ง​ไป​ตาม​อารมณ์ เช่น ไม่​กลัว​เพ่ือน​ ตำหนิ ไมก​่ ลวั ข​ายห​นา้ ล​กู น​อ้ ง เปน็ ตน้ นกั ป​ ฏบิ ตั ก​ิ ม​็ ค​ี วาม​ 38 หลับตา ทำไม

รสู้ กึ เ​หมอื นก​นั ไมใ่ ชก​่ อ้ นห​นิ แตจ​่ ติ ใจไ​มไ​่ ดเ​้ ขา้ ไปย​ดึ ห​มาย​ มัน่ ​มัน มนั ก​เ็​ป็นแ​คข่​องร​ะค​ายน​ ดิ ๆ มนั ไ​มเ่​หมือนแ​ตก่​อ่ น สามารถใ​ชค​้ วามร​ค​ู้ วามส​ามารถข​องต​นอ​ยา่ งร​อบคอบ โดย​ อารมณ​์ไม่​ทบั ถม อากาศ​ย่อม​มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​คน​ทำงาน​อยู่​กลาง​แจ้ง นาย ฤ. (ในห​ นงั สอื เ​ลม่ น​น​้ี าย ก. ขอพ​ กั ผ​อ่ น เปน็ ต​วั อยา่ ง ในห​นงั สอื ห​ลายเ​ลม่ แ​ลว้ เ​หนอื่ ย) ทำส​วน วนั ไ​หนร​อ้ นม​ากก​็ เป็น​ทุกข์ วัน​ไหน​ฝน​ตก​ก็​ลำบาก นาง ฑ. ทำงาน​ใน​ สำนักงาน เขา​มอง​เห็น​อากาศ​ภายนอก​ผ่าน​กระจก ฝน​ ตก​เขา​ก็​รู้ แสงแดด​จ้า​เขา​ก็​รู้ แต่​ก็​สัก​แต่​ว่า​รับ​รู้​เท่าน้ัน อณุ หภมู ใ​ิ นท​ ท​่ี ำงานไ​มเ​่ ปลย่ี นต​ามเ​พราะท​ ำงานอ​ยใ​ู่ นห​ อ้ ง​ แอร์ ฉันใด​ก็​ฉัน​นั้น คน​ท่ี​ไม่​ได้​ฝึก​จิต​เหมือน​กับ​อยู่​กลาง​ แจง้ ฝน​ตก​กเ​็ ปียก แดด​ออก​กร็​้อนเ​หงือ่ อ​อก อะไร​จะ​เกดิ ​ ขึ้น​ก็​รับ​ผลก​ระ​ทบ​ทันที​เพราะ​ไม่มี​ที่​หลบ​หลีก ส่วน​นัก​ ปฏบิ ตั ิ เย็น​ตลอด​เหมือน​ติดแ​อร์ ชีวิต​ของ​เรา​เป็น​ของ​ไม่​แน่นอน ไม่มี​สูตร​สำเร็จรูป​ ที่ไหน ท่ี​เรา​สามารถ​จัด​เตรียม​ไว้​ล่วง​หน้า​เพ่ือ​จัดการ​กับ​ ปญั หาต​า่ งๆ โดยอ​ตั โนมตั น​ิ ค​้ี อื ข​า่ วร​า้ ย ขา่ วดก​ี ค​็ อื ผ​ม​ู้ ส​ี ติ จติ ​ ไมว​่ อกแวก สำรวมร​ะวงั สามารถว​างตวั ใ​หพ​้ อดก​ี บั ป​ ญั หา ได้ บางเ​รอื่ งเ​ราแ​กไ​้ มไ​่ ดห้​ รอก ตอ้ งย​อมรบั ตอ้ งอ​ดทน สก​ู้ ็ ไมเ​่ กดิ ป​ระโยชนเ​์ หนอื่ ยเ​ปลา่ ตอ้ งอ​ดทน แตบ​่ างเ​รอื่ งไ​มค​่ วร​ 39ชยสาโร ภิกขุ

อดทน ตอ้ งร​บี แ​กไ้ ข บางเ​รอื่ งต​อ้ งต​อ่ สู้ บางเ​รอ่ื งเ​กดิ ค​วาม ไม่​เข้าใจ​กัน​แล้ว​ควร​จะ​ชี้แจง ทำความ​เข้าใจ บาง​เร่ือง​ดู​ ก่อน​อย่า​เพ่ิง​พูด​ดี​กว่า บางที​ข้อมูล​เรา​ไม่​ครบ อาจ​จะ​มี​ บาง​ส่ิง​บาง​อย่าง​ท่ี​เรา​เข้าใจ​ผิด​ก็ได้ ก็​ค่อยๆ เก็บ​ข้อมูล​ ให้​มากกว่า​นี้​หน่อย​จึง​ค่อย​พูด บาง​เร่ือง​ไม่​พูด​เลย​ดี​กว่า พูด​อย่างไร​เขา​จะ​ไม่​เช่ือ เขา​จะ​เอา​คำ​อธิบาย​ของ​เรา​เป็น​ คำ​แกต้ วั ปากเ​ราค​ันก​็​ให​้มันค​นั ไ​ปเ​ถอะ ไมเ่​คย​มใ​ี คร​ตาย​ เพราะ​ปากคนั เป็น​นัก​ปฏิบัติ​ต้อง​ยก​สติ​ปัญญา​สูง​กว่า​อารมณ์ พอจิตใจ​วาง​ความ​วุ่นวาย​ได้​จะ​ละเอียด​อย่าง​น้ี คือ​จะ​ไม่​ หมาย​มัน่ ​ปัน้ ​มืออยา่ ง​แขง็ ก​ระด้าง เวลาค​วรเ​ปน็ ผ​นู้ ำก​็น​ ำ​ ได้ โอกาส​บอกว​า่ ​เดี๋ยวน​ ้​ีควรเ​ป็น​ผค​ู้ ล้อยต​ามก​ค​็ ลอ้ ย​ตาม​ ได้ โดยไ​มต​่ อ้ งม​อ​ี ตั ตาต​วั ต​นว​า่ เ​ราต​อ้ งเ​ปน็ ผ​นู้ ำเ​สมอ หรอื ​ วา่ ไ​มม่ อ​ี ตั ตาต​วั ต​นว​า่ เ​ราเ​ปน็ ผ​น​ู้ อ้ ย ตอ้ งเ​ปน็ ผ​ต​ู้ ามอ​ยเ​ู่ สมอ เอาค​วามถ​กู ต​้อง​เปน็ ท​ ี่​พงึ่ จติ ใจข​องเ​ราจ​ะค​อ่ ยม​ค​ี วามร​สู้ กึ ต​อ่ ส​ง่ิ เ​หมาะส​ม สง่ิ ​ ไมเ​่ หมาะส​ม มค​ี วามร​สู้ กึ ต​อ่ ส​งิ่ ท​พ​ี่ อดี สงิ่ ท​ไ​่ี มพ​่ อดี มนั เ​ปน็ sense อยา่ งห​นง่ึ ท​ป​ี่ รากฏ และเ​ราจ​ะส​มั ผสั อ​ารมณข​์ องค​น​ อน่ื ไ​ดด​้ ด​ี ว้ ยโ​ดยไ​มท​่ ง้ิ ห​ ลกั “ไ​มแ​่ น”​่ ไมเ​่ ลกิ ก​ารเ​ชดิ ชค​ู วาม​ ไมป​่ ระมาทต​ลอดเ​วลา ไมเ​่ อาส​ญั ญาเ​กา่ ไ​ปป​ ระทบั ต​ราค​น​ อนื่ ง​า่ ยๆ คอื สมมตุ ว​ิ า่ เ​คยม​เ​ี รอ่ื งท​ำใหร​้ ะแวงน​าย ฒ. ไมใ่ ช​่ 40 หลบั ตา ทำไม

วา่ ​จะ​ระแวง​เขาต​ลอด​ไป เรา​เอา​แคร​่ ะวงั ก​พ็​ อ ไมอ่​ย่างน​ ัน้ จติ จ​ะข​าดส​ตต​ิ อ่ ค​วามเ​ปน็ จ​รงิ ข​องน​ าย ฒ. ในป​ จั จบุ นั เขา​ อาจจ​ะก​ลบั ต​วั แ​ลว้ ก​ไ็ ด้ เราไ​มร่ ู้ ควรใ​หโ​้ อกาสเ​ขาก​อ่ น โดย​ ถอื วา่ บ​รสิ ทุ ธจ​์ิ นกวา่ จ​ะม​ข​ี อ้ มลู อ​อกม​าช​ดั เจนว​า่ ม​ค​ี วามผ​ดิ อยา่ ง​นกี​้ ​ย็ ุตธิ รรม​กวา่ และ​จิตใจ​เรา​จะ​เป็นก​ศุ ล ถา้ จ​ติ ใจเ​ราส​งบ ไมค​่ ดิ ป​รงุ แ​ตง่ ไมฟ​่ งุ้ ซา่ น ไมว​่ นุ่ วาย อะไรจ​ะ​เกดิ ​ขึ้นใ​นจ​ติ ใจ​เราต​อ้ งร​อ​ู้ ยู่ เหมือนก​ับ​ศาลาน​ ี้ ถ้า​ วา่ ง ใคร​จะ​เดิน​เข้า​มาเ​ราก​็​รทู้ นั ท​ ี นง่ั อ​ยต​ู่ รงน​ ี้ ลืมตาอ​ยู่ ใคร​จะ​เดิน​เข้า​เดิน​ออก เรา​ก็​เห็น แต่​จิต​ไม่​สงบ​เหมือน​ ศาลา​เต็ม​ไป​ด้วย​เฟอร์นิเจอร์ หรือ​ส่ิงของ หรือ​มี​คน​นั่ง​ เต็ม​ศาลา​คุย​กัน​เสียง​แซด ใคร​จะ​เดิน​เข้า​เดิน​ออก​อาจ​จะ​ ไมเ​่ หน็ ห​ รอื ไ​มส​่ งั เกต หลวงพ​ อ่ ช​าท​ า่ นเ​คยส​อนเ​ราว​า่ ผ​ม​ู้ ส​ี ต​ิ เหมอื นก​บั เ​จา้ ของร​า้ นข​ายข​อง กลมุ่ ว​ยั ร​นุ่ เ​ขา้ ม​าใ​นร​า้ นเ​มอื่ ​ ไหร่​เจ้าของ​ก​ร็ ะวังเ​ป็น​พเิ ศษ ระวัง​ของ กลัว​มนั ห​ าย เด็ก​ กเ็​ลยไ​มก​่ ลา้ ​ทำ​อะไร ผู้​มี​สติ​จะ​ระวัง​คุณ​งาม​ความ​ดี​ของ​ตน​ไว้​อย่าง​นี้​ เหมอื นก​นั ไมใ​่ หก​้ ลมุ่ ก​เิ ลสม​โ​ี อกาสแ​อบข​โมยม​นั ไ​ป จะค​ดิ ​ อยเ​ู่ สมอว​า่ ท​ ำอ​ยา่ งไร จติ ใจข​องเ​ราจ​ะไ​ดด​้ ำรงอ​ยใ​ู่ นส​ภาพ ทเ​่ี ปน็ ก​ศุ ล ทำอ​ยา่ งไรบ​าปอ​กศุ ลท​ง้ั ห​ลายจ​ะไ​มค​่ รอบงำ เขา​ จะ​หา​อุบาย​อัน​แยบคาย​เพ่ือ​รักษา​ความ​รู้สึก​ผิด​ชอบ​ไว้​อยู่ ทุก​ขณะ​จิต มี​สติ​มี​ความ​เพียร​พยายาม น่ี​คือ​หลัก​ความ​ 41ชยสาโร ภกิ ขุ

ไม​ป่ ระมาท การท​ ำส​มาธ​ิภาวนาท​ ุก​วันๆ เป็นส​ว่ นส​ำคญั ​ ของช​วี ติ ​ทสี​่ มบูรณ์ เปรียบเ​หมือน การเ​วน้ ว​รรค​ตอน เรา​ เขียน​หนังสือโ​ดยไ​ม่มี​การเ​วน้ ​วรรค​เลย ไม​่ยอ่ หนา้ เ​ลย กด็​​ู ไม​ง่ าม ดไ​ู ม​ด่ ี ความห​ มายก​​็ไม่​ชัดเจน ชีวิตค​น​เรา​ต้องม​​ี การเ​วน้ ว​รรคอ​ยบ​ู่ า้ ง เหมอื นก​บั เ​ราม​หี นา้ ท​ ก​ี่ นั ม​าก หนา้ ท​่ี เปน็ ​พอ่ ห​ รอื ​เป็นแ​ม​เ่ ขาบ​ า้ ง หน้าท่ี​ทเ​่ี ป็น​ลกู ​เปน็ ​หลานเ​ขา​ บา้ ง เปน็ ​พเ​ี่ ขา​บา้ ง เปน็ ​นอ้ ง​เขาบ​ ้าง เป็น​เจ้าน​ ายเ​ขาบ​ ้าง เป็นล​กู น​ ้องเ​ขาบ​ ้าง หน้าท​ี่เรา​เยอะ แตก​่ ารท​ ำ​หนา้ ทเ​่ี ป็น​ ประจำ ทำ​ไป​เรื่อยๆ ก็​เป็น​เหตุ​ให้​เรา​หลง​ได้​เหมือน​กัน มัน​มัก​ชวน​ให้​เรา​ยึด​ติด​หรือ​เอา​ศักดิ์ศรี​ของ​เรา เอา​ความ​ รสู้ ึก​วา่ อ​ัตตา​ตัว​ตนไ​ป​ผูกพนั ​กบั ห​ น้าทน่​ี น้ั การ​ทำ​สมาธิ​ภาวนา​คือ​การ​พัก ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน​ ต้องส​วม​หนา้ กาก​น้ันห​ น้ากาก​น้ีอ​ยต​ู่ ลอดเ​วลา น่ังส​มาธกิ​​็ คอื ก​ารถ​อดห​ นา้ กากอ​อกท​ ง้ั หมดเ​ลย กลบั ม​าห​ าธ​รรมชาต​ิ ของต​นเอง ธรรมชาตข​ิ องต​นเองค​อื อ​ะไร คอื ร​า่ งกาย และ​ จติ ใจ มร​ี า่ งกายน​ง่ั อ​ยต​ู่ รงน​้ี หายใจเ​ขา้ หายใจอ​อก มค​ี วาม​ รู้สกึ ​นึกคดิ เกดิ ​ขนึ้ ดบั ​ไป น่​ีคอื ธ​รรมชาตขิ​อง​เรา และ​ขอ​ ให้ส​งั เกต​ว่าจ​ติ ใจ​เราเ​ริม่ ​สงบ ไมค​่ ดิ ไม่​ปรุง​อะไร ความ​จำ​ ได้​หมายร​ู้ต​่างๆ ก็​คอ่ ยจ​างไ​ป แมจ้​นก​ระทงั่ ​ความร​้สู ึก​วา่ ​ เราเ​ปน็ ค​นช​อื่ น​ นั้ ช​อ่ื น​ ้ี ความค​ดิ ว​า่ เ​ปน็ ผ​ชู้ าย หรอื เ​ราเ​ปน็ ผ​​ู้ หญิง เรา​เป็นน​ ั่น​เป็น​นี่ ไมป​่ รากฏ จติ ใจ​สงบ​แล้ว มแี​ตส่​ติ 42 หลับตา ทำไม

มแ​ี ตส​่ มั ปชญั ญะ ความร​ะลกึ ไ​ด้ ความร​ตู้ วั อ​ยใ​ู่ นป​ จั จบุ นั ม​ี แต่​พุทธภ​าวะ ผ​รู้ ู้ ผู้ต​่นื ผเ้​ู บิก​บาน ในพ​ ระพทุ ธศ​าสนาเ​ราม​ห​ี ลกั ก​ารว​า่ ค​วามจ​รงิ ม​ส​ี อง​ ระดับ ระดับ​แรก​คือ​ความ​จริง​ของ​ธรรมชาติ​ซ่ึง​ไม่​เปล่ียน แปลง เปน็ อ​กาล​โ​ิ ก ระดบั ท​ส​ี่ องค​อื ค​วามจ​รงิ ท​เ​่ี กดิ จ​ากก​าร​ ตกลง​กัน เช่น​เรา​ตกลง​ว่า​เมือง​นี้​ช่ือ​อุบลฯ ประเทศ​นี้​ช่ือ เมอื งไ​ทย ธรรมชาตไ​ิ มเ​่ คยบ​ อกห​ รอกว​า่ ทน​ี่ ไ​ี่ ทย ทน​ี่ ล​ี่ าว ท​่ี นเ​่ี ขมร เปน็ เ​รอื่ งท​ ค​ี่ นเ​ราบ​ ญั ญตั เ​ิ อง เรยี กว​า่ เ​ปน็ ค​วามจ​รงิ ​ โดยส​มมติ ความจ​รงิ น​เ​้ี ปลยี่ นแปลงไ​ด้ มนษุ ยเ​์ ราช​อบส​บั สน​ ระหว่าง​ความ​จรงิ ​สองร​ะดบั ​นี้ หา่ งไ​กลจ​ากธ​รรมชาตข​ิ อง ตวั เ​อง มกั จ​ะย​ดึ ม​น่ั ถ​อื ม​น่ั ใ​นส​มมตว​ิ า่ จ​รงิ แ​ท้ เลยท​ กุ ขไ​์ มม่ ​ี จบ​ส้ิน การฝ​กึ ​จิต​ช่วย​ให​้เรา​เห็นว​่า​อะไรเ​ป็นอ​ะไร อุปมา​เหมือน​เรา​น่ัง​ใน​โรง​หนัง แล้ว​หัน​กลับ​ไป​ดู ขา้ งห​ลงั เหน็ ท​ม่ี าข​องเ​รอื่ งบ​นจ​อซ​ง่ึ ก​ำลงั ช​วนใ​หเ​้ ราห​วั เราะ​ และร​อ้ งไห้ ทงั้ หมดเ​กดิ จ​ากแ​สงท​ อ​ี่ อกจ​ากเ​ครอื่ งฉ​ายห​ นงั ​ ภาพยนตร์ คอื ช​วี ติ ข​องเ​ราใ​นส​งั คม ชวนใ​หเ​้ ราห​ วั เราะแ​ละ​ รอ้ งไหท​้ กุ ว​นั ถา้ เ​ราส​ามารถห​ นั ไ​ปด​แ​ู สงท​ เ​่ี ปน็ ท​ ม่ี าข​องม​นั เรา​จะไ​ม่ห​ ลง การน​ ง่ั ​สมาธิเ​ป็นการ​บรหิ ารส​ติ การ​ฝึก​ด​ูความจ​รงิ ​ ของ​ชีวิต​ช่วย​ให้​เรา​ปล่อย​วาง เมื่อ​เห็น​สิ่ง​ต่างๆ ใน​ชีวิต ตาม​ความ​เป็น​จริง​มาก​ข้ึน เรา​จะ​ไม่​วิตก​กังวล​เร่ือง​ต่างๆ 43ชยสาโร ภกิ ขุ

จน​เกิน​ไป ไม่​หวัง​น่ัน​หวัง​นี่​จน​เกิน​ไป เรา​จำ​ได้​ว่า​มัน​ก็​ เพียง​แค่​น้ัน​แหละ เป็น​แค่​ภาพยนตร์​ชีวิต เรา​เป็น​ท้ัง​ผู้​ดู​ และ​พระเอก​หรือ​นางเอก ให้​รู้​เท่า​ทัน เรา​ทำงาน​อะไร​ก็​ แล้ว​แต่ ถา้ ​เราไ​ม่​ระวัง เรา​มกั ​หมกมนุ่ ​แต่​ใน​ราย​ละเอียด​ ของง​าน​หรือ​ข้อป​ ลีก​ยอ่ ย เลยเ​สยี เ​วลา หรอื ​อดุ ​ตันไ​ปเ​สีย​ เลย เพราะ​ไม่​สามารถ​ถอย​ออก​มา​มอง​ภาพ​รวม ปล่อย​ ให้การ​สร้าง​เหตุ​ขัด​กับ​ผล​ที่​ต้องการ การ​ทำงาน​อะไร​ทุก​ อยา่ งจ​งึ ต​อ้ งหาค​วามพ​ อดร​ี ะหวา่ งก​ารเ​อาจ​รงิ เ​อาจ​งั ก​บั ข​อ้ ​ ปลีก​ยอ่ ย​หรอื ​รายล​ะเอียด กบั ก​าร​ระลกึ ​ถงึ ​ภาพร​วม เปา้ ​ หมาย จดุ ห​ มายป​ ลายท​ าง และห​ นทางท​ ​ี่ตรง​ทส่ี ดุ ​ต่อ​ผล​ท​ี่ พึงป​ ระสงค์ ตัว​ชีวิต​ของ​เรา​ก็​เหมือน​กัน เรา​ต้อง​มี​การ​ถอย​ตัว​ ออก​มา​พิจารณา​ภาพ​รวม​เป็น​ครั้ง​คราว การ​ทำ​สมาธิ​จะ​ ช่วย​ให้​เรา​ได้​ทำ​อย่าง​นั้น​ได้ คือ​ถอย​ออก​จาก​อารมณ์​สัก​ หน่อย​หนึ่ง​เป็น​ประจำ​ทุก​วัน สัมผัส​ธรรมชาติ​ภายใน​ท่ี​ ละเอียด​ลึก​ซ้ึง นอก​เขต​ความ​คิด​เหนือ​ภาษา เพื่อ​จะ​ไม่​ หลงใหล​กบั ม​ายาข​อง​โลก และไ​ม​่ลมื ​เปา้ ห​ มายช​ีวิต การ​ทำ​สมาธิ​จึง​ช่วย​ได้​ต้ังแต่​เรื่อง​ธร​รม​ดาๆ หรือ ง่ายๆ ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน​ตลอด​จนถึง​เร่ือง​สูงสุด คือ​การ​ บรรลม​ุ รรคผล นิพพาน การพ​ ้นท​ ุกข​์ในร​ะดบั ​สงู ​เกิดจ​าก​ ปญั ญาร​ะดบั ว​ปิ สั สนา ปัญญา​ระดับว​ปิ สั สนา​นั้นเ​กดิ จ​าก​ 44 หลบั ตา ทำไม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook