Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะจากธรรมาสน์

ธรรมะจากธรรมาสน์

Description: ธรรมะจากธรรมาสน์

Search

Read the Text Version

ธรรมะจากธรรมาสน์ เลม่ ๓ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม www.dra.go.th



ธรรมะจากธรรมาสน์ เล่ม ๓ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม www.dra.go.th

ธรรมะจากธรรมาสน์ เลม่ ๓ ผู้จดั พมิ พ ์ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ปที ี่พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�ำนวนพมิ พ์ ๓,๐๐๐ เล่ม ท่ปี รกึ ษา นายมานสั ทารัตนใ์ จ อธิบดกี รมการศาสนา นายสธุ น บวั วัฒน์ รองอธบิ ดีกรมการศาสนา นายเกรียงศักด์ิ บุญประสิทธิ์ ผู้อ�ำนวยการกองศาสนูปถมั ภ์ นางศรนี วล ลภั กติ โร ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั พฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม นายสำ� รวย นกั การเรยี น เลขานุการกรมการศาสนา นางสาวพิไล จริ ไกรศริ ิ ทีป่ รึกษากรมการศาสนา นายชวลิต ศริ ภิ ิรมย ์ ท่ปี รกึ ษากรมการศาสนา คณะผู้ประสานงาน นางฉวีวรรณ วงค์ศร ี นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการพเิ ศษ นายวัชรวทิ ย์ ศริ วิ ัฒน์ นกั วชิ าการศาสนาช�ำนาญการ นางปลิ นั ธินี เปรมดิลกรัตน ์ เจา้ พนกั งานการศาสนาช�ำนาญงาน พมิ พ์ท่ ี โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด ๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผพู้ ิมพ์ผูโ้ ฆษณา

ค�ำนำ� กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ไดจ้ ดั โครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั ธรรมสวนะ มาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยเริ่มจากวันธรรมสวนะในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาก่อน ต่อมา ได้ขยายเป็นทุกวันธรรมสวนะตลอดปี ได้เชิญชวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของกรมการศาสนา รวมทง้ั ขา้ ราชการ เจา้ หนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานภาครฐั หนว่ ยงานภาคเอกชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และ ประชาชนทว่ั ไป ร่วมเขา้ วัดปฏิบตั ธิ รรมในวันธรรมสวนะ ซ่ึงมกี ิจกรรมเรมิ่ ตน้ ด้วยทำ� วตั รเชา้ ฟังพระธรรมเทศนา และถวายสังฆทาน ในการนี้ ได้พิจารณาเห็นว่า พระธรรมเทศนา ทพ่ี ระสงฆไ์ ดเ้ ทศนาในแตล่ ะวนั ธรรมสวนะและแตล่ ะวดั ทกี่ รมการศาสนาไดเ้ ขา้ ไปจดั กจิ กรรมนนั้ ล้วนเป็นหลักธรรมท่ีพระพุทธองค์ทรงส่ังสอนไว้ท้ังสิ้นเหมาะสมเป็นอย่างย่ิงท่ีชาวพุทธ จะน้อมน�ำไปยึดถือปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและครอบครัวต่อไป กรมการศาสนา จงึ ได้รวบรวมพระธรรมเทศนาในแตล่ ะวันธรรมสวนะ จัดพิมพ์เปน็ หนงั สอื ในชือ่ ว่า “ธรรมะ จากธรรมาสน”์ เพ่ือเผยแผห่ ลักธรรมคำ� สอนในทางพระพุทธศาสนาให้แผท่ ่ัวไปในทิศานทุ ศิ และหนังสือเล่มน้ีเป็นเล่มท่ี ๓ ซึ่งได้รวบรวมพระธรรมเทศนาท่ียังไม่ได้จัดพิมพ์ตั้งแต่ วันเสาร์ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ถงึ วนั อังคารที่ ๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ รวม ๑๕ ครัง้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ ธรรมะจากธรรมาสน์ เล่มนี้ จักเป็นประโยชน์ ต่อพทุ ธศาสนกิ ชน ได้ศกึ ษาหาความรู้ และใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ ชีวิตตามหลกั ธรรม คำ� สอนของพระพทุ ธองคไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี เพอื่ ความสุขสงบของชวี ติ สืบไป (นายมานัส ทารัตน์ใจ) อธบิ ดกี รมการศาสนา

สารบัญ หนา้ คำ� น�ำ แสดงโดย พระสมหุ ธ์ รรมนูญ ธมมฺ ชโย วัดปุรณาวาส ปุญญกถา ๑ ปญุ ญกถา แสดงโดย พระโสภณสมาธคิ ุณ วัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม ๖ อพั ยาปัชชกถา แสดงโดย พระครูโอภาสจริยานุวตั ร วัดท่งุ คร ุ ๑๓ บูชากถา แสดงโดย พระมหานรตุ ม์ รตนวณโฺ ณ วดั ภคนิ นี าถ ๑๗ สมคั คกิ ถา แสดงโดย พระมหาสายันต์ ธมมฺ ทีโป วัดอมรครี ี ๒๓ ตปพฺรหมฺ จรยิ กถา แสดงโดย พระมหาเพชร ชนาสโภ วดั สวุ รรณาราม ๓๓ อปั ปมาทกถา แสดงโดย พระศรีภทั ทิยบดี วดั ชนะสงคราม ๓๖ นางวิสาขากถา แสดงโดย พระราชธีรคณุ วัดสระเกศ ๔๔ ทาลทิ ทกถา แสดงโดย พระเทพสทิ ธิมนุ ี วัดดุสิดาราม ๔๙ นายกคณุ ธรรมกถา แสดงโดย พระเทพปรยิ ัตโิ มลี วดั โมลีโลกยาราม ๕๕ ปริจจาคกถา แสดงโดย พระศรรี ัตนวิมล วัดชยั ชนะสงคราม ๖๑ ฆราวาสธรรมกถา แสดงโดย พระศรวี นิ ัยโสภณ วัดราชาธิวาสวิหาร ๖๖ สุจริตธรรมกถา แสดงโดย พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ วัดฉิมทายกาวาส ๗๓ วิรยิ กถา แสดงโดย พระศรศี าสนโมลี วดั เทวราชกญุ ชร ๘๕ พาลปณั ฑิตกถา แสดงโดย พระธรรมธีรราชมหามุนี วดั ระฆงั โฆสติ าราม ๙๐

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ปญุ ญกถา แสดงโดย พระสมหุ ธ รรมนญู ธมฺมชโย วัดปรุ ณาวาส เขตทวีวฒั นา กรุงเทพฯ วนั เสารท ่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธสั สะ (๓ จบ) สโุ ข ปุ ฺญสสฺ อจุ ฺจโยต.ิ ณ บัดน้ีจะแสดงพระธรรมเทศนา เรื่องการท�าบุญในวันสารทเพ่ือฉลองศรัทธา และประดับสติปัญญาของท่านศาสนิกชนทั้งหลาย ด้วยวันนี้ได้พากันมาท�าบุญถวายทาน ในวันเทศกาลสารทไทย ซ่ึงตรงกับวันแรม ๑๕ ค่�า เดือน ๑๐ ในเบ้ืองต้น อาตมาจะได้ พรรณนาประวตั คิ วามเปน็ มาในการทา� บญุ วนั สารทและในโอกาสตอ่ ไปจะไดแ้ สดงถงึ อานสิ งส์ แห่งการท�าบุญวันสารท ขอท่านสาธุชนได้โปรดสดับรับฟังพระธรรมเทศนาในอาการสงบ ตามวาระท่จี ะกลา่ วสบื ต่อไป ทัง้ นค้ี �าวา่ “สารท” น้นั เป็นภาษาบาลี แปลว่า “สะระณะ” เปน็ ชื่อของฤดใู บไมผ้ ลิ ในประเทศอนิ เดยี ซงึ่ ตรงกบั เดอื น ๑๐ ของไทย ในฤดูนเี้ ป็นระยะท่ขี า้ วในนากา� ลงั ออกรวง ออ่ น ๆ ประชาชนในอนิ เดยี ผนู้ บั ถอื ศาสนาพราหมณก์ อ่ นพทุ ธกาลไดน้ ยิ มเอารวงขา้ วมาทา� ขา้ ว มธปุ ายาสและทา� ขา้ วกระยาคู ทา� บญุ เลย้ี งพราหมณ์ ซง่ึ เปน็ พระในศาสนาของตน การทา� บญุ ด้วยการเอารวงข้าวอ่อนมาท�าเป็นอาหารในเทศกาลสารทของชาวอินเดีย ผู้นับถือศาสนา พราหมณ์ มคี วามมงุ่ หมายใหเ้ กดิ ความเปน็ สริ มิ งคลแกข่ า้ วในนาและพรอ้ มกบั ทง้ั อทุ ศิ บญุ กศุ ล ให้แกบ่ พุ เปรตชนผ้ลู ่วงลบั ไปแลว้ การท�าบุญวันสารทนี้ จงึ เป็นคตินิยมของศาสนาพราหมณ์ มาตั้งแต่ก่อนพระพุทธศาสนาของเรา เม่ือพระพุทธเจ้าของเราได้อุบัติข้ึนในโลกประกาศ พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย ชาวอินเดียผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ ได้หันมานับถือ พระพุทธศาสนาจ�านวนมาก เมื่อถึงฤดูสารทก็เอารวงข้าวมาท�าข้าวมธุปายาสกับข้าวยาคู ถวายแก่พระพุทธเจ้าและพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาแทนพวกพราหมณ์ ครั้นต่อมา เมื่อพระพุทธศาสนาได้เผยแพร่มาถึงเมืองไทย ชาวไทยเรานั้นก็ถือว่า พระพุทธศาสนา เปน็ ศาสนาประจา� ชาตแิ ละไดน้ า� ประเพณกี ารทา� บญุ ฤดสู ารทนขี้ องชาวอนิ เดยี มาเปน็ ประเพณี ทา� บญุ วนั สารท ทง้ั นภี้ าคกลางเราเขากเ็ รยี กวา่ การทา� บญุ วนั สารท สว่ นภาคใตเ้ ขากเ็ รยี กวา่ 1

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ท�าบุญชิงเปรต ส่วนภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือเขาก็เรียกว่า ท�าบุญข้าวสารท ทั้งน้ี มีจุดประสงค์เพ่ือแสดงออกถึงความกตัญูที่มีต่อญาติพ่ีน้องที่ล่วงลับไปแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่ สมยั สโุ ขทัยจนถงึ ทุกวันน้ี เมอ่ื ถงึ เดือน ๑๐ ชาวไทยก็จะน�าอาหารในฤดสู ารทตามประเพณี ท่ีเคยท�ามา แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมบ้าง เช่น อาหารที่ท�าในฤดูสารทเขาก็เอา ข้าวกระยาสารท ค�าว่า กระยา แปลวา่ เคร่อื งสิ่งของ เครอ่ื งกิน ดงั นั้นคา� ว่า กระยาสารท นี้ และเคร่ืองปรุงขนมกระยาสารทในสมัยปัจจุบัน อาจจะมีการเพ่ิมเติมมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย จะมขี า้ วเมา่ มขี า้ วตอก มนี า�้ ผง้ึ มนี า้� ออ้ ย มนี า�้ ตาลและมนี มสด กวนใหเ้ ขา้ กนั เปน็ กระยาสารท แต่ในปัจจุบันนี้ก็มีการเพ่ิมเติม มีการใส่ถ่ัวลงไป ใส่งาลงไป ผสมให้เข้ากันก็เป็นขนม กระยาสารท การทา� บญุ ในวนั สารทน้ี ชาวอสี านตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรยี กวา่ ทา� บญุ ขา้ วสารท แตเ่ ขาจะเรม่ิ กลางเดอื น ๑๐ เพราะเขาถอื วา่ กลางเดอื น ๑๐ น้ี เปน็ วนั ทผ่ี แี ละญาตมิ ารอคอย เมื่อผู้ใดไม่ท�าบุญข้าวสารทถือว่า ผู้น้ันขาดความกตัญูต่อบิดามารดาและญาติพี่น้อง ทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ และจะไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเพราะพวกผที ลี่ ว่ งลบั ดบั ไปจะใหโ้ ทษ การทา� บญุ ในวันสารทน้ีถือว่า เป็นการท�าบุญพิเศษในระหว่างครึ่งปีด้วย เพราะในสมัยโบราณนับว่า เดือน ๕ เรยี กว่า เดือนต้น เดือน ๑๐ เปน็ เดือนที่ ๖ กค็ อื กง่ึ ปีครงึ่ ปีเข้าไปแลว้ ดังนั้นการ ทา� บญุ วนั สารทจงึ นบั วา่ เปน็ การทา� บญุ ในระยะทช่ี วี ติ เรานน้ั ลว่ งไปถงึ ครง่ึ ปแี ลว้ เปน็ การเตอื น ไม่ให้ประมาทในชีวิต ตามที่อาตมาได้น�าประวัติความเป็นมาของประเพณีการท�าบุญ ในสารทไทยมาพรรณนาให้ญาติโยมไดฟ้ งั หวังวา่ ท่านท้งั หลายคงจะได้เข้าใจแลว้ ประเพณี ท�าบุญวันสารทไทยน้ีมีมาต้ังแต่ช้านาน เราได้แบบอย่างมาจากประเทศอินเดียท�าข้ึน ในประเทศไทยสืบมาจนถงึ ทุกวนั น้ี ล�าดับต่อไปนี้ อาตมภาพจะได้พรรณนาถึงอานิสงส์แห่งการท�าบุญในวันสารท ให้ท่านสาธุชนท้ังหลาย ได้สดับรับฟังต่อไป ส�าหรับอานิสงส์แห่งการท�าบุญในวันสารทน้ี เม่อื ประมวลมากลา่ วทใ่ี จความส�าคัญมอี ยู่ ๓ ประการ คือ ๑. เปนการท�าบุญถวายทานแดพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์ ๒. เปน การท�าบญุ อทุ ิศใหแ้ กบ่ ุพเปรตชน ๓. เปนการสงเคราะหเ์ ออ้ื เฟอ ต่อกัน ประการที่ ๑ ทว่ี า่ เปน การทา� บญุ ถวายทานแดพ่ ระสงฆน์ นั้ หมายความวา่ เทศกาล เดือน ๑๐ นี้ ท่านพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ชาวพุทธเราก็ได้จัดการท�าบุญเป็นพิเศษข้ึน โดยได้ท�าทานพิเศษในเดือนน้ี ก็คือ ข้าวกระยาสารทมาถวายแด่ พระภิกษุสงฆ์เพื่อเป็น 2

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ การบูชาถึงพระคุณของพระผู้มีพระภาคเจ้า และพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพราะการทพี่ วกเราชาวพทุ ธไดม้ พี ระพทุ ธศาสนาทนี่ บั ถอื ไวเ้ ปน็ มง่ิ ขวญั ของชวี ติ สบื ตอ่ กนั มา เปน็ เวลาทชี่ า้ นานจนถงึ ทกุ วนั นเี้ พราะวา่ ไดม้ พี ระพทุ ธเจา้ มหี ลกั ธรรมคา� สอนและกม็ พี ระสงฆ์ สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้น�าค�าสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้ามาส่ังสอนประชาชน หากวา่ ไมม่ พี ระสงฆซ์ ง่ึ เปน็ ศาสนทายาทสบื ตอ่ พระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนากค็ งไมย่ นื ยาว จนถึงทุกวันน้ี ดังน้ันการที่ญาติโยมทั้งหลาย มาท�าบุญถวายทานแด่ พระสงฆ์สาวกของ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ จดั วา่ เปน็ การบชู าคณุ ความดขี องทา่ นและการทใ่ี หก้ า� ลงั แกพ่ ระสงฆ์ ใหด้ า� รงชวี ติ อยบู่ วชเพอ่ื สบื ตอ่ อายพุ ระพทุ ธศาสนา เพราะพระสงฆไ์ มส่ ามารถประกอบอาชพี ได้ นอกจากอาศัยอาหารของชาวบา้ นมาเลย้ี งชวี ิตเท่าน้ัน การทีญ่ าตโิ ยมได้จดั ขา้ วกระยาสารท ซ่ึงเป็นอาหารวิเศษ ท่ีจัดขึ้นในเทศกาลเดือน ๑๐ น้ี มาถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ จึงจัดว่า เป็นการท�าบุญให้พระสงฆ์น้ัน ได้ฉันภัตตาหารเป็นพิเศษ เป็นการเพ่ิมพลังแก่ท่านดังที่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ได้ตรสั ไว้วา่ “อนฺนโท พลโท โหติ” แปลวา่ “ผูใ้ ห้ข้าวน้�าจดั วา่ เปน ผ้ใู ห้กา� ลัง” ดงั นี้ ส�าหรบั ข้าวกระยาสารทน้ี นอกจากจะเปน็ อาหารแลว้ ยงั จดั ว่า เป็นเภสัช บา� บดั โรคในฤดกู าลสารทนี้ ดงั มเี รอ่ื งเลา่ ใน คมั ภรี เ์ ภสชั ชธนั ธกะ ในวนิ ยั ปฎ ก ในครงั้ พทุ ธกาล พระภิกษุเกิดอาพาธ เรียกว่า “สารทิกาพาธ” แปลว่า “เกิดโรคในฤดูสารท” อาการ ทเ่ี ป็นโรคน้ี คอื ฉนั อาหารแลว้ กอ็ าเจียนออกหมด ภกิ ษสุ งฆ์ทั้งหลาย กเ็ กดิ โรคนี้เหมือนกนั ท�าให้ร่างกายซูดผอมหน้าตาก็เศร้าหมองส้ินแรง พระพุทธเจ้าก็ทรงทราบ ทรงด�าริหายา ที่เป็นทัง้ อาหารเปน็ ทงั้ ยา ได้แก่ เภสชั ๕ คือ ๑. เนยใส ๒. เนยขน้ ๓. น�้ามัน ๔. น�้าผึ้ง ๕. นา้� อ้อย จึงทรงอนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์ ฉันเภสัชทั้ง ๕ เหล่าน้ี นอกเวลาฉันภัตตาหารได้ คือ ต้ังแต่เท่ียงไปแล้วสามารถฉันได้ ปรากฏภิกษุสงฆ์ท้ังหลายได้ฉันเภสัช ๕ อย่างน้ีแล้ว ก็หายจากโรคฤดูสารทนั้นเอง เพราะฉะนั้น ขอฝากท่านพระภิกษุสงฆ์ทุกรูปให้ฉัน ขา้ วกระยาสารทเยอะ ๆ เพราะเปน็ ยาเปน็ การบา� รงุ กา� ลงั เมอ่ื ทา่ นทง้ั หลายไดท้ า� บญุ ถวายทาน แด่พระภกิ ษสุ งฆโ์ ดยปรารภข้าวกระยาสารทเปน็ สา� คัญนี้ จัดว่าเปน็ การบูชาถงึ พระพทุ ธเจ้า 3

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ พระสาวกอีกด้วยและเป็นการเพิ่มก�าลังแด่พระสงฆ์แล้วย่อมได้รับผลบุญที่เกิดขึ้น จากการใหท้ านนี้ เพราะการทา� บญุ ใหท้ านน้ี เปน็ อานสิ งสเ์ บอ้ื งตน้ ทจี่ ะไดร้ บั ความสขุ ความสขุ กม็ ที ัง้ ภายนอกและภายใน ภายใน กค็ ือ สขุ ใจนั้นเอง เพราะการทา� บญุ ให้ทานนี้ กเ็ พอ่ื ก�าจดั กิเลส คือ ความโลภในจิตใจ ให้ลดลงและมีจิตใจที่ผ่องใสผลของการท�าบุญให้ทาน การบริจาคทานนั้น ดงั่ เจตนากศุ ลกไ็ ด้รบั สมบตั ิวตั ถตุ อบแทน ทา� ใหเ้ ปน็ คนทีม่ ที รพั ย์สินเงินทอง ไมย่ ากจน คนทบี่ รจิ าคทานยอ่ มเปน็ คนทมี่ คี วามรา�่ รวยทรพั ยส์ มบตั ิ ทกุ ภพ ทกุ ชาตไิ ป เปน็ คน ที่ไมอ่ ดไม่อยาก เพราะการสัง่ สมบญุ คือ ทานบารมไี ว้ ดงั น้ันการท่ญี าตโิ ยมทงั้ หลาย ได้มา ทา� บุญบริจาคทานในวันน้ี ในวนั สารทไทย จึงจดั ว่าไดม้ าท�าบุญสรา้ งสมบารมีประจ�าตนแล้ว ประการที่ ๒ ทวี่ า่ เปน การอทุ ศิ บญุ กศุ ลใหแ้ กบ่ พุ เปรตชนนนั้ หมายความวา่ ญาตโิ ยม ท้ังหลายมาท�าบุญในวันสารทไทยเพ่ือถวายทานแด่พระสงฆ์ แล้วได้ต้ังใจอุทิศส่วนบุญ สว่ นกศุ ลใหแ้ กญ่ าตมิ ติ รทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ เชน่ บดิ ามารดาเปน็ ตน้ เมอ่ื ทา่ นทง้ั หลายไดต้ ง้ั ใจในการ อุทศิ บญุ กุศลใหแ้ กญ่ าตทิ งั้ หลายในภพภูมิต่าง ๆ แลว้ อาจจะมญี าติบางท่านไปเกดิ เปน็ เปรต และหวงั ทจ่ี ะไดร้ บั สว่ นบญุ จากญาตทิ ท่ี า� บญุ แลว้ อทุ ศิ บญุ กศุ ลไปให้ เมอ่ื เปรตชนไดอ้ นโุ มทนา บุญแล้ว จึงจะได้รับส่วนบุญน้ัน หากว่าท่านทั้งหลายท�าบุญแล้วไม่อุทิศส่วนบุญให้ญาติ ทเี่ ปน็ เปรตชนกจ็ ะไมไ่ ดร้ บั ผลบญุ ดงั มเี รอ่ื งเลา่ ใน ตโิ รกฑุ ฑสตู ร ในพระไตรปฎิ กวา่ “ครง้ั เมอื่ พระเจ้าพิมพิสารท�าบุญแล้วแต่ไม่ได้อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ญาติท่ีท�าบาปไว้ไปเกิด เปน เปรต ปรากฏวา่ เปรตเหลา่ นน้ั มาแสดงอาการรอ้ งโหยหวนใหพ้ ระราชาไดเ้ หน็ ในเวลา กลางคนื สงดั ” เพราะฉะนน้ั ถา้ คณุ โยมทา่ นใดไมอ่ ยากเหน็ เปรต กอ็ ยา่ ลมื กรวดนา้� อทุ ศิ สว่ นบญุ กุศลด้วย ครั้งน้ันพระเจ้าพิมพิสารก็ได้ไปทูลพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าได้ทรงแนะน�าว่า “ใหท้ า่ นทา� บญุ แลว้ กอ็ ทุ ศิ สว่ นบญุ สว่ นกศุ ล ใหแ้ กผ่ ทู้ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ หลงั จากญาตเิ ปรตเหลา่ นนั้ ได้อนุโมทนาก็ได้รับส่วนบุญมีความสุขแก่ฐานะพ้นจากความทุกข์เดือดร้อน” ดังน้ัน การอุทิศส่วนบุญให้แก่บุพเปรตชนผู้ล่วงลับไปแล้ว จึงมีความส�าคัญดังปรากฏในค�าสอน ของพระพุทธเจ้า ท่ีญาติโยมทั้งหลายมาท�าบุญในวันสารทวันน้ี และได้ต้ังใจกรวดน้�าอุทิศ ส่วนบุญให้แก่ญาติผู้ตายจัดว่า การท�าบุญครั้งนี้ได้อานิสงส์อ�านวยผลแก่ญาติผู้วายชนม์ ทีไ่ ปเกิดเปนเปรต ประการท่ี ๓ ที่ว่า เปนการสงเคราะห์เอ้ือเฟอต่อกัน บ้างครอบครัว บ้างท่าน ก็กวนกระยาสารท แล้วก็มกี ารแจกจ่ายกนั ความว่า ญาติโยมทัง้ หลายที่ท�าข้าวกระยาสารท ในฤดูเทศกาลนี้ นอกจากนี้ก็ได้น�าอาหารพิเศษ ไปถวายแด่พระสงฆ์แล้ว ยังได้น�าอาหาร ไปแจกจ่ายกัน บางท่านก็เอาไปให้ท่านที่เคารพนับถือญาติมิตรต่าง ๆ บ้านใกล้เรือนเคียง 4

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ สงเคราะหก์ นั ท�าใหเ้ กิดความรักใคร่ ผูกมิตรไมตรตี อ่ กัน เพราะการใหท้ านนี้ เป็นการให้เพ่อื ทา� บุญไม่หวงั ผลตอบแทนแต่อยา่ งใด ความสา� คญั อยู่ ๓ ประการ ใหญ้ าตโิ ยมไดส้ ดบั รบั ฟงั มากพ็ อสมควรแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ การท�าบุญในวันสารทนี้ เป็นการท�าบุญถวายข้าวกระยาสารทแด่พระสงฆ์ได้ฉันและ ได้อุทิศส่วนบุญแก่ญาติมิตรผู้วายชนม์แล้ว เป็นการน�าข้าวกระยาสารทไปแจกจ่ายเป็นการ ผูกมิตรไมตรีและผู้ที่อยู่บ้านใกล้เรือนเคียงนับว่า เป็นการท�าบุญในฤดูสารท ท่านทั้งหลาย ก็จะได้ประโยชน์มากมายดังอธิบายมา อาตมาใคร่สรุปในท้ายน้ีว่า ในฤดูเทศกาลสารทน้ี ถ้านบั ตามโบราณก็ถือว่า บดั นีไ้ ด้ล่วงแลว้ ผา่ นพ้นมาถึง ๖ เดือน คร่ึงปเี ข้ามาแล้ว นับว่าชีวิต ของเราไดผ้ ่านพ้นอปุ สรรคมาแลว้ จัดได้วา่ เปน็ ผู้รอดชีวิตมา เพราะชีวติ คนเรานนั้ ย่อมใกล้ ความตาย ใกลต้ อ่ มจั จรุ าช อาจจะตายเมอ่ื ใดกไ็ ด้ ทงั้ นชี้ วี ติ คนเราเหมอื นแขวนอยบู่ นเสน้ ดา้ ย ดงั มีโคลงสุภาษติ อยู่บทหนึ่งทวี่ า่ “เห็นหน้ากันเมอื่ เช้าสายตาย สายสุขอยสู่ บายบ่ายม้วย บา่ ยยังร่ืนเริงกายเยน็ ดบั ชพี นา เยน็ อยหู่ ยอกลกู ด้วยคา�่ มว้ ยดบั สญู ” ดงั นนั้ เม่ือท่านทั้งหลาย ได้ทราบถึงความไมแ่ น่นอนของชีวติ นี้แล้ว จงอยา่ ประมาท จงเรง่ สรา้ งบุญกุศล บคุ คลทส่ี รา้ งบญุ กุศลไว้ ย่อมได้อานสิ งส์ปอ งกนั อันตรายแกช่ ีวติ ของเรา ทา� บญุ ไวแ้ ลว้ จะตายไปเมอ่ื สนิ้ อายขุ ยั กไ็ มเ่ สยี ดายทเี่ กดิ เปน็ มนษุ ยใ์ นชาตนิ ี้ แมถ้ งึ ตายไปบญุ กุศลก็ยังช่วยประคับประคองไปในทุกภพทุกชาติ ท่านสาธชุ นผู้ไมป่ ระมาท ตั้งใจทา� บญุ กุศล ในพระพุทธศาสนาจัดว่า เป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี ย่อมประสบผลบุญ ความสุขในชาติน้ี และชาตหิ นา้ สมดงั พทุ ธนพิ นธท์ อ่ี าตมาไดอ้ ญั เชญิ มา ณ เบอื้ งตน้ วา่ “สโุ ข ปุ ญฺ สสฺ อจุ จฺ โย” แปลวา่ “การสง่ั สมบญุ ยอ่ มนา� ความสขุ มาให”้ ดงั น้ี มใี นคาถาธบิ ายวชิ สั นามาดว้ ยประการ ฉะนี้ ในอวสานแหง่ พระธรรมเทศนานี้ ขอใหท้ า่ นสาธชุ นทง้ั หลาย จงมาอนโุ มทนาสว่ นบญุ ทบ่ี รรดาญาตโิ ยมทงั้ หลาย ไดอ้ ทุ ศิ ในโอกาสนแี้ ละจงมคี วามสขุ ตามสมควรคตวิ สิ ยั ในภพนน้ั ๆ อน่ึง ขออ�านาจแห่งพระประธานในพระอุโบสถ มีทั้งหลวงพ่ออิน หลวงพ่อจัน บารมีธรรม แห่งกรรมฐานของหลวงพ่อพระมงคลธรรมาจารย์ อ�านาจแห่งบุญที่ญาติโยมทั้งหลาย ไดบ้ า� เพญ็ ในโอกาสพเิ ศษน้ีคอื เทศกาลสารทน้ีจงอา� นวยใหท้ กุ ทา่ นจงประสบความสขุ สริ สิ วสั ดิ์ พพิ ฒั นมงคล สมบรู ณพ์ ลู ผล สมดงั ความมงุ่ มาดปรารถนา ปรารถนาสงิ่ ใดทเี่ ปน็ ไปโดยชอบธรรม ขอสง่ิ นัน้ จงพลันสา� เร็จ จงพลนั สา� เร็จ สมความมุ่งมาดปรารถนาทกุ ประการ แสดงพระธรรม เทศนามากพ็ อสมควรแก่กาลเวลา จึงขอยตุ ิลงคงไว้เพียงเท่าน้ี เอวงั ก็มดี ้วยประการฉะนี้ 5

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ปญุ ญกถา แสดงโดย พระโสภณสมาธคิ ณุ วัดเบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม เขตดุสิต กรงุ เทพฯ วันอาทติ ยท ี่ ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธัสสะ (๓ จบ) สโุ ข ปุญฺ สสฺ อจุ ฺจโยติ. ณ วโรกาสบดั น้ี จะไดแ้ สดงพระธรรมเทศนาในวนั ธรรมสวนะ ซง่ึ เปน็ วนั พระทอ่ี บุ าสก อบุ าสิกา พรอ้ มดว้ ยญาติโยมทกุ ท่านที่ไดม้ าสมาทานศลี ฟังเทศนฟ์ ังธรรมในวนั ธรรมสวนะ พระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ในอุโบสถธขันธ์ คัมภีร์พระวินัย เม่ือมีกาลนิยมอยู่เช่นน้ี มีพระภกิ ษแุ ละอบุ าสกอุบาสกิ าที่ได้มาประชุมกนั ณ สถานทนี่ ้ี เพอ่ื ทา� การใหท้ าน รกั ษาศีล และฟงั เทศนฟ์ งั ธรรม คลา้ ยกบั วา่ ทกุ ทา่ นไดม้ าเฝา สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ยกนั ซง่ึ ไดน้ อ้ มเอา พทุ ธานสุ ตเิ ปน็ อารมณ์ ทา� ใหบ้ ญุ กศุ ลเตม็ เปยี ม บรบิ รู ณ์ ไพบลู ยย์ ง่ิ ขนึ้ ทา� จติ ใจของเรา ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ ผุดผ่องปราศจาก โลภ โกรธ หลง เป็นตน้ ทา่ นทง้ั หลายได้มาประชุมกันในวันน้ี เพ่อื จะได้ ใหท้ าน รกั ษาศลี เจรญิ จิตภาวนา เราเรยี กกันวา่ มาสงั่ สมบุญให้บงั เกิดข้นึ การบ�าเพ็ญบุญ เราเรียกกันว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เปนท่ีตั้งแห่งการบ�าเพ็ญบุญ มีถึง ๑๐ อย่าง แตจ่ ะกลา่ วเฉพาะเพยี ง ๓ อยา่ ง คือ ๑. ทานมยั บญุ สา� เร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สลี มยั บุญส�าเร็จดว้ ยการรักษาศลี ๓. ภาวนามยั บุญสา� เร็จด้วยการเจริญภาวนา ทง้ั ๓ ประการน้ี รวมเรยี กกนั วา่ เปน ความดี คอื เปน ตวั บญุ เราไดส้ งั่ สมบญุ มาตง้ั แต่ อดตี ชาติ จนถงึ ปจั จบุ นั ชาตนิ ี้ อยา่ งทเ่ี ราพดู กนั ตดิ ปากวา่ บญุ ทา� กรรมแตง่ บญุ ทา� กรรมแตง่ มีความหมายอย่างไร มีความหมายวา่ ทั้งบุญ ทัง้ บาป แต่งเราใหม้ าเกดิ เปน็ ภาษาสามญั ชาวบ้านพูดกันอย่างนี้ ถูกหรือผิด ถ้าว่าผิดไม่ผิดนะ แต่ว่าเป็นค�าที่สามัญชนเราใช้กัน เปน็ อยา่ งนนั้ และกเ็ ขา้ ใจกนั ดว้ ยเปน็ เหตสุ ง่ ผลใหเ้ ราทง้ั หลาย มหี นา้ ตาสดสวยงดงาม กเ็ พราะ ความดี คอื ตวั บุญตกแตง่ มาให้เกิด จึงไดร้ ับความดอี ันนัน้ เปน็ อานสิ งสอ์ กี อยา่ งหนง่ึ ถ้าเรา ท�าบาป บาปมันตกแต่งใหม้ าเกิด หนา้ ตาก็ข้รี ้ิวขีเ้ หร่ไมส่ วยงาม ก็คอื ผลของบาปมาตกแต่ง 6

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ การสั่งสมบุญ เป็นเหตุน�าความสุขมาให้ การส่ังสมบาป ก็เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์มาให้ เมอื่ เราทราบดงั นแี้ ลว้ บญุ คอื ความดี บาป กค็ อื ความชวั่ เรากเ็ วน้ จากความชว่ั มาประพฤติ แตค่ วามดี ความดนี ี้ จะสง่ ผลใหเ้ ราไดส้ วยสดงดงามยง่ิ ขนึ้ ไปกวา่ เดมิ อกี ดงั นเ้ี ปน็ ตน้ คา� วา่ บญุ น้ี โดยยอ่ ขยายเปน็ ๒ ประการ คอื บญุ โดยเหตแุ ละบญุ โดยผล บญุ โดยเหตุ ทเี่ ราไดใ้ หท้ านกา� จดั ความตระหน่ี กา� จดั ความเหน็ แกต่ วั คอื ใหเ้ ปน็ บคุ คลทม่ี นี า�้ ใจเสยี สละ คอื กวา้ งขวางทเ่ี รยี กวา่ เป็นเหตุเบ้ืองต้น บุญเป็นเหตุเบื้องต้น ก�าจัดความเห็นแก่ตัว และความตระหน่ี ส่วนบุญ โดยผล กค็ อื ผลทเ่ี กิดจากเหตุท่เี ราไดใ้ ห้ทาน รักษาศีล เจริญจิตภาวนา ผลนบี้ งั เกดิ ขน้ึ ทา� ให้ เรามคี วามสขุ กายสบายใจ ดงั นเี้ ปน็ ตน้ การส่ังสมบุญ เราก็เคยได้ยินค�าว่า “มาท�าบุญท�าทานกันเถิด” และก็บางคน ไปไหว้พระถึง ๙ วัดด้วยกัน ก็เพ่ือจะให้เกิดบุญ ให้เกิดความสุข และเมื่อกลับมาแล้ว ก็ยัง บอกให้ญาติพี่น้องที่พบเห็นซึ่งกันและกันว่า ต้องอนุโมทนาบุญนะ รับบุญนะ ฉันได้ท�าบุญ มาแล้ว ไหว้พระ ๙ วัด ดังน้ีเป็นต้น ส่วนผู้ที่ได้รับบอกเช่นนี้ ก็ควรจะอนุโมทนา คือ ให้สาธุการยอมยนิ ดี กเ็ ปน็ บุญเชน่ เดียวกนั การท�าบุญท�าทาน คอื ทา� ความดีดว้ ยกนั ทา� บุญ เราก็ได้ท�ากับพระ วันน้ีที่คุณโยมทั้งหลาย ท่ีจะจัดการถวายสังฆทานให้แก่พระสงฆ์และ กโ็ ยมทั้งหลาย ทไ่ี ดจ้ ดั ผา้ ไตรจีวรมากด็ ี เรียกว่า เปน็ จวี รทาน การให้แกพ่ ระสงฆ์ เรากม็ ัก ใช้ค�าว่า ถวาย แต่ถ้าเราให้แก่คนยากไร้คนยากจน เรามักเรียกกันว่า การให้ทาน คอื การทา� บญุ เช่นกัน แต่เปน็ ทานสงเคราะห์ คอื อย่างเราสงเคราะหแ์ กบ่ คุ คลทเี่ กิดน้�าทว่ ม เกิดไฟไหม้หมดเน้ือหมดตัว เราเรียกกันว่า ทานสงเคราะห์ คือ สงเคราะห์เพื่อนตกทุกข์ ได้ยาก ก็เปน็ การทา� บุญเช่นเดียวกัน ดังนั้นเมอ่ื เรามาในทีน่ ี้แล้ว ก็ทา� บุญให้สมกบั ท่เี ราได้มา ถวายพระ ก็คือ เร่ืองจีวรดังนี้ เป็นต้น ส่วนถ้าเราไปท�าบุญกับฆราวาส เราต้องน�าเส้ือผ้า ส่ิงของใช้ตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมแกท่ า่ นผ้นู นั้ ทเี่ ปน็ อยู่ กช็ ือ่ ว่า ทา� บญุ และจะไดบ้ ญุ เพราะไดร้ บั ประโยชน์ทงั้ ๒ ฝา ย ท้งั ผูใ้ หแ้ ละผรู้ บั ดงั น้เี ป็นต้น ส่วนบุญท่ีเราทา� กนั ในวนั นี้ คือ ทีใ่ ห้ทาน กลา่ วโดยย่นย่อว่า ๑. ทานนนั้ เปน วตั ถสุ มบตั ิ คอื เปน็ ทานทบี่ รสิ ทุ ธทิ์ เ่ี ราไดม้ าดว้ ยนา้� พกั นา้� แรงของเรา ไม่ไดห้ ลอกลวงบุคคลใดมานเี้ รียกว่า “ทาน” ๒. เจตนา คอื ความจงใจที่ถวายทานในเบอื้ งต้น ทา่ นตอ้ งท�าเจตนาดว้ ยความจงใจ ของท่าน ไม่ให้มีความโลภ ไม่ให้มีความโกรธ ไม่ให้มีความหลง ก็คือ ก่อนที่เราจะถวาย ต้องท�าจิตใจของเรา ให้ดี ให้ผ่องใส ให้เกิดความเลื่อมใสในทานนั้น คร้ันถวายไปแล้ว 7

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ทา� จติ ใจของเราใหช้ นื่ บาน เมอื่ ทานของเราประกอบดว้ ย ๓ กาล กอ่ นให้ กา� ลงั ใหแ้ ละใหไ้ ปแลว้ อย่างน้บี ริสทุ ธ์ิ ทานนั้นจะมผี ลมาก ๓. บคุ คลทจ่ี ะรบั ทาน บคุ คลนน้ั จะตอ้ งเปน็ บคุ คลมศี ลี ดว้ ย คอื มธี รรมประจา� ใจดว้ ย จงึ จะมีผลมาก แม้จะรบั ทานกไ็ มไ่ ด้รับดว้ ยความโลภ ไมไ่ ด้มคี วามโกรธ ความหลง ท�าจติ ใจ ให้ปราศจาก โลภ โกรธ หลง เป็นต้น ก็ช่ือว่า ท�าจิตใจให้เป็นเนื้อนาบุญ บุญนั้น ก็จะ มผี ลมาก มีอานิสงสม์ ากเช่นเดยี วกัน นเ้ี รียกว่า หน้าท่ขี องทายกกับหน้าที่ของปฏิคาหก คอื ทง้ั ผใู้ ห้และผู้รับ ดังนเ้ี ปน็ ตน้ การทดี่ งั กลา่ วมาน้ี ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา เรยี กวา่ บญุ กริ ยิ าวตั ถุ คอื สง่ิ ทเี่ ปน็ ทตี่ งั้ ของการบา� เพญ็ บุญกลา่ วไวถ้ ึง ๑๐ ประการ แต่จะกลา่ วเพยี ง ๓ ประการ คือ ๑. ทานมัย บุญส�าเร็จด้วยการบริจาคทาน คือ การแบ่งสันปันส่วน ท่ีเราให้ด้วย ความเมตตาสงเคราะห์ก็ดี ให้บิดามารดาเพ่ือความกตัญูกตเวทีก็ดี ให้เพื่อนทุกข์ยาก เปน็ ทานสงเคราะหก์ ด็ ี จดั เปน็ ทานทงั้ หมด นเ้ี รยี กวา่ เปน็ สว่ นของอามสิ ทานจะมากหรอื นอ้ ย ตามมตี ามเกดิ เป็นวัตถทุ านหรืออามสิ ทาน ส่วนการใหธ้ รรมทานนน้ั คือ แนะน�าพร่�าสอน อะไรดีอะไรชวั่ ชแี้ จงใหบ้ คุ คลเขาเหน็ นเ้ี รยี กวา่ ใหธ้ รรมทานอยา่ งบดิ ามารดาสอนลกู สอนหลาน ใหเ้ วน้ จากความชวั่ ใหท้ า� ความดี เรยี กวา่ เปน็ ธรรมทาน ไมไ่ ดห้ มายวา่ ตอ้ งขน้ึ ธรรมมาสนเ์ ทศน์ อย่างพระไม่จ�าเป็นถึงอย่างนั้น ส่วนอภัยทาน คือ ให้ความไม่โกรธ ให้อภัย ไม่ถือโทษ โกรธเคอื ง นเี้ ปน็ อภยั ทาน เปน็ การแสดงออกถงึ นา�้ ใจ คอื นา้� ใจกวา้ งขวาง ใครมาขอโทษกใ็ หอ้ ภยั ได้ ผู้ที่ขอโทษถ้าทา� ผิดอะไร ก็ควรจะรบั ผดิ การรับผิดแสดงถงึ ความรับผดิ ชอบ คือ ส�านกึ ชั่วดี ต่าง ๆ ได้ ไม่น่าจะอับอายอะไร ส่วนการขอโทษก็ไม่ควรที่จะโกรธเคือง การให้อภัยโทษ มนั เปน็ ของท่ไี ม่ส้นิ เปลอื งพอทจ่ี ะทา� กนั ได้ ทัง้ ผู้ให้และผู้รบั เพ่อื ผกู ไมตรีกนั ด้วย ๒. สีลมัย บุญส�าเร็จด้วยการรักษาศีล คือ ส�ารวมกาย วาจา ให้เรียบร้อย ตามขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่ประพฤติปฏิบัติดีงามเก่ียวกับมารยาท มารยาทน้ีเป็น ตัวศีล บุคคลท่ีไม่มีมารยาทดีเขาก็รู้ว่า บุคคลนี้ไม่มีศีล ไม่มีมารยาทและก็ประพฤติปฏิบัติ เบียดเบียนบุคคลอื่น ก็ย่ิงชั่วร้ายซ�้าเข้าไปอีก ฉะน้ันกิริยาวาจาเป็นเครื่องแสดงออกถึง ความดี ความชั่ว ในตวั ของบุคคลนั้นดังนเี้ ปน็ ตน้ ศีลท่ีทา่ นรักษาจะเป็นศลี ๕ ก็ได้ ศีล ๘ ก็ได้ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ตามกา� ลังจติ ของเราที่พอที่จะรกั ษาได้ หรือประพฤตปิ ฏิบตั ิได้ก็ใหท้ �า ไปตามนั้น อย่างศลี ๕ ทีไ่ ด้รณรงคก์ ันอยูใ่ นปัจจุบันนี้ คอื 8

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ๑. เราไม่ฆา่ สัตว์ เราต้องมีเมตตากรุณาตอ่ สรรพสตั ว์ทัง้ หลายด้วย ๒. เราไมล่ ักทรพั ย์ เราต้องมสี มั มาอาชีพเล้ยี งชีพโดยชอบธรรม ๓. เราไมป่ ระพฤตผิ ิดในกาม เราต้องมีสจั จะซ่ือสัตยต์ ่อคคู่ รองของตน ๔. เราไม่พูดเท็จ เราต้องมีสัจจะแสดงความจริงใจทางด้านวาจา คือ ให้เป็นท่ี เช่อื ถือได้ ๕. เราไม่ดื่มสุราและเมรัยเปนที่ต้ังแห่งความประมาท เราต้องมีสติระลึกได้ สมั ปชญั ญะความรู้ตวั เป็นเคร่อื งคุ้มครอง เม่ือเรามีศีล ๕ มีคุณธรรมทั้ง ๕ ก�ากับอยู่กับศีลทุกข้ออย่างนี้ เรียกว่า เรามี มนษุ ยธรรม คอื ธรรมสา� หรบั มนษุ ยท์ จี่ ะตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ นั ใหโ้ ลกอยเู่ ยน็ เปน สขุ ฉะนั้นเราต้องประพฤติปฏิบัติรักษาให้ดี การรักษาศีลน้ี ต้องระมัดระวังอย่าให้ผิดพลาด ทา่ นบอกวา่ ให้เหมอื นนกตอ้ ยตีวิดทรี่ ักษาฟองไข่ หรือว่า คนท่ีมีตาข้างเดียวและอีกข้างหนงึ่ ไม่บอดก็พยายามระมัดระวังตาที่ดีอย่าให้มันบอดซ้�าเข้าไปอีก เหมือนนกยูงที่รักษาแวว หางของมันต้องมีความรกั ต่อศีล ถา้ ทา� ไดอ้ ย่างน้แี ลว้ ศลี จะไม่ด่างไมพ่ ร้อย ฉะน้ันตอ้ งต้งั ใจ เบอ้ื งตน้ เรารกั ษาศลี เหมอื นกบั วา่ เราปลกู ตน้ ไม้ เบอ้ื งแรกเรากข็ ดุ หลมุ พรวนดนิ ใหด้ ี เอาตน้ ไม้ ลงรดน�้าใส่ปุยคอยดูแลอยู่เสมอ เอาใจใส่จนต้นไม้นั้น มันเลี้ยงตัวเองได้ มันก็ให้ร่มเงา เรากส็ บายใจแลว้ ตน้ ไมใ้ หด้ อก ใหผ้ ล มลี กู ออกมา มนั กเ็ ลยี้ งเจา้ ของทเ่ี ลย้ี งมนั ใหผ้ ลแกเ่ จา้ ของ ฉะน้ันเจ้าของสวนเขาก็อยู่ได้ ฉันใดก็ดี การรักษาศีลในเบื้องต้น เราก็ต้องระมัดระวังมาก พอรักษาไปไดด้ ีแล้ว ศีลอย่กู ับเนือ้ กบั ตวั เราเรียกกันว่า ศีลจะรักษาเรา ผ้ปู ระพฤติปฏบิ ตั ดิ ี ปฏิบัติชอบ ท�าให้ปราศจากเวรภัย อยู่เย็นเป็นสุข ท้ายศีลก็มีว่า “สีเลนะ สุคะติง ยันติ จะมสี ขุ ไดก้ เ็ พราะศลี ” “สเี ลนะ โภคะสมั ปะทา จะมโี ภคทรพั ยส์ มบตั ไิ ดก้ เ็ พราะมศี ลี ” “สเี ลนะ นพิ พตุ ิง ยันติ จะดบั ทกุ ข์ดบั รอ้ นได้กอ็ าศัยศีล หรือจะไปพระนิพพานได้กต็ อ้ งอาศัยศีล” “ตสั มา สลี งั วโิ สทะเย เพราะเหตนุ นั้ จงชา� ระศลี ใหบ้ รสิ ทุ ธผิ์ ดุ ผอ่ งดงั น”้ี นเี้ รยี กวา่ “สลี มยั ” ๓. ภาวนามัย บุญสา� เรจ็ ด้วยการเจรญิ ภาวนา คา� วา่ ภาวนา คอื ท�าจติ ใจของเรา ไม่ให้ตกตา�่ ไม่ให้ไหลไปสูค่ วามชวั่ เราเรยี กว่า บา� เพ็ญจติ ตภาวนา แมเ้ รายกมอื ขึ้นไหว้พระ จบครัง้ แรกหรอื คร้ังสอง คร้ังสาม เรากภ็ าวนาในใจนึกถงึ พุทธคุณ ธรรมคุณ สงั ฆคณุ จติ ของ เราก็บริสุทธิ์ บรบิ รู ณ์นี้ เรียกวา่ จติ ของเราไดภ้ าวนาแลว้ แมใ้ นระยะกาลสัน้ ๆ เพียงแค่นั้น จติ เราก็เป็นบุญแลว้ ดังนีเ้ ปน็ ต้น การท�าจิตใจของเราไม่ให้โลภ ไมใ่ หโ้ กรธ ไม่ให้หลง จิตน้นั จะผอ่ งใสบริสทุ ธ์ิ เอบิ อิ่มอยเู่ ป็นนจิ เราเรียกกนั ว่า จติ ตภาวนา เชน่ เดียวกนั แมบ้ คุ คลทมี่ า 9

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ น่ังสมาธิอบรมจิตหายใจเข้า “พุท” หายใจออก “โธ” ก็เช่นเดียวกัน คือ เป็นการภาวนา นั่งเท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งกายให้ตรงด�ารงสติให้ม่ัน นี้เรียกว่า รูปแบบ แต่ความจริงแล้ว อยู่ที่จิตทั้งหมด ถ้าจะยืน จะเดิน จะน่ัง จะนอน อย่าให้จิตไปในที่อื่น ให้อยกู่ ับเนือ้ กบั ตวั คอื อย่าปลอ่ ยให้จิตไหลไปสู่อ�านาจสง่ิ อ่นื กค็ อื ภาวนาเช่นเดียวกนั คอื ให้จิตของเราอยู่กับเน้ือกับตัว และก็อย่าให้จิตน้ี อย่าให้โลภ อย่าให้โกรธ อย่าให้หลง คือ ทา� จิตใหเ้ ป็นบญุ แล้วการภาวนานี้ คอื การทา� บญุ ด้วยใจ ท�าจิตใจให้เปน็ บุญน้ันเอง ฉะนัน้ ก็ควรที่จะสนใจให้มาก เพราะบุญกุศลที่เกิดนี้เกิดจากจิต เพราะถ้าจิตไม่เป็นบุญแล้ว เราจะแผ่บุญกุศลน้ีไปให้ใคร ก็แผ่ไปไม่ได้ไม่มีส่ิงใดจะให้เขา อย่างเราจะพูดออกไปว่า ฉนั จะใหส้ ง่ิ นแ้ี กค่ ณุ แตเ่ มอ่ื เขามารบั ของทจี่ ะใหม้ นั ไมม่ ี พดู เฉพาะปากอยา่ งนกี้ เ็ ปน็ การพดู เทจ็ ต่อวิญญาณทั้งหลายที่จะมารับส่วนบุญส่วนกุศล ฉะน้ันจึงท�าจิตใจของเราให้เป็นบุญให้ได้ แล้วเราจะแผ่บุญกุศลน้ี ให้ไปไม่รู้จักหมดจักส้ิน การท�าบุญแต่ละคร้ังอย่าไปหวงแหนว่า ใครจะมาแย่งบญุ เราไปได้ ใหเ้ ขามาร่วมดว้ ยกด็ ี บุญกศุ ลน้ไี ม่ได้หมดไปจากเรา ใครทา� ใครได้ อย่างเรามีประทีปดวงหน่ึง มีแสงสว่างโชติช่วง เพื่อนจะมาขอร่วมด้วยขอจุดด้วย เราก็ให้ เขาไปเลยให้เขาจุดได้ด้วย ดวงไฟแสงสว่างของเราไม่ได้ลดน้อยลง ยังคงอยู่เหมือนเดิม บญุ กศุ ลทเี่ ราใหไ้ ปไมไ่ ดห้ มดไปไหน ยงั อยกู่ บั เราเหมอื นเดมิ ใหม้ นี า�้ ใจกวา้ งขวางเชน่ นเี้ รยี กวา่ ใหเ้ พือ่ ประสานนา้� ใจแก่บคุ คลอืน่ เพอื่ เปน็ บญุ กุศลท่เี ราไม่ตระหน่ีความดีต่าง ๆ คนทม่ี าขอ อนโุ มทนาบญุ กเ็ ชน่ เดยี วกนั เขายนิ ดกี บั เรา เขายกยอ่ งเรา พลอยยนิ ดดี ว้ ยทเี่ รามาทา� บญุ ทา� กศุ ล เราควรจะแผส่ ว่ นบญุ ใหแ้ กเ่ ขาไปดว้ ย ควรจะอนโุ มทนาบญุ กศุ ลนด้ี ว้ ย เขาจะไดร้ บั วา่ “สาธ”ุ ด้วยความเต็มใจ ท่ีเรียกว่า เป็นภาวนามัยทั้งหมด คือ บุญเกิดข้ึนด้วยการภาวนา ภาวนามี ๒ อยา่ ง คือ ๑. สมถะภาวนา คอื จติ ใจเพง่ อารมณใ์ ดอารมณห์ นง่ึ กระทง่ั จติ นหี้ นกั แนน่ มนั่ คง จะเอา “พุทโธ” หรือลมหายใจเข้าออก มาระลึกนึกอยู่ภายในใจจนจิตใจสงบน่ิง เรียกว่า สมถะภาวนา ๒. วิปสสนาภาวนา วิปัสสนานี้ต้องอาศัยปัญญามาเพ่งรูป เพ่งนาม รูปนาม หรือขนั ธ์ ๕ เปน็ อารมณข์ องวปิ ัสสนา ฉะน้ันเมอื่ เราเพ่งแล้วพจิ ารณาแล้วให้เห็นวา่ ขันธ์ ๕ เกิด - ดบั , เกดิ - ดบั ตงั้ อยู่ดับไป คือ ตัวอนิจจงั ทกุ ขงั อนัตตา นัน่ เอง คอื ท้ังเปน็ ทกุ ข์และ หาตัวตนสงิ่ ใดทจี่ ะหา้ มปรามไดไ้ ม่มี ไมอ่ ยู่ในอา� นาจของใครท้ังหมด อยา่ แก่มนั กแ็ ก่ อย่าเจบ็ มันก็เจบ็ อยา่ ตายมนั กต็ าย เรยี กวา่ ไม่เช่อื ฟัง เมือ่ เปน็ ด่งั น้แี ล้ว ท�าอย่างไร ทา่ นให้ปล่อยวาง 10

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ถ้าเราปลอ่ ยวางได้ เราจะมีความสุขได้ ถ้าปล่อยวางได้น้อย ก็มีความสุขนอ้ ย ถา้ ปล่อยวาง ได้มาก กม็ ีความสุขมาก ฉะนัน้ เราต้องรจู้ กั ผ่อนผนั อยา่ ไปยึดม่นั ถือมน่ั ถอื วา่ กายน้อี ยา่ ไป เอาจริงเอาจังอะไรมนั เกนิ ไป มันเอาแน่นอนไมไ่ ด้ จงึ ให้พิจารณาว่า กายนีม้ ันเปน็ เพียงสกั วา่ กายเทา่ นนั้ เอง ไมใ่ ชบ่ คุ คลตวั ตนเราเขา เวทนา คอื การทจ่ี ติ เราเสวยอารมณส์ ขุ บา้ ง ทกุ ขบ์ า้ ง ไม่สุขไม่ทุกข์เฉย ๆ บ้าง ท่านเรียกว่า เวทนา อย่าไปจริงจังกับเวทนาเหล่านั้น ให้ถือว่า สักว่า เวทนาเช่นเดียวกัน มันเกิดขึ้นต้ังอยู่ มันก็ดับไป จิตของเราก็เช่นเดียวกัน จิตนี้ มที งั้ ดี ทงั้ ชวั่ ทง้ั สงู ทงั้ ตา่� อยทู่ อี่ า� นาจจติ ทงั้ หมด ใหถ้ อื วา่ สกั วา่ จติ นนั้ อยา่ ไปโกรธจติ ของตวั เอง พยายามหัดปล่อยวางชา่ งมนั เถอะ มนั คือ จิต มนั เป็นอย่างน้ี เกดิ ขึ้น ต้ังอยู่ ดับไป เป็นฝา ยดี เป็นกุศลธรรม ฝายไม่ดีเป็นอกุศลธรรม ก็สักว่า ธรรม คือ ให้ปล่อยวาง อย่าไปยึดม่ัน อยา่ ไปถือมนั่ นค้ี ือ วปิ ัสสนากรรมฐาน ใหเ้ หน็ ความเกดิ ดบั วา่ สง่ิ ใดเกิด สิ่งใดดบั ทเี่ กิดแลว้ ไม่ดับไม่มี คือ แสดงให้เห็นความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เท่าเทียบกันท้ังหมด ถ้าเรา เจรญิ วปิ ัสสนาอย่างน้ีแล้ว เราก็จะไมโ่ กรธเคืองบุคคลอ่ืน คือ ใช้ปญั ญามาพิจารณาให้เห็นวา่ มันเกิดข้ึน มันก็ตั้งอยู่ มันก็ดับไป อย่างที่ตัวอาตมาท่ีมานั่งอยู่บนธรรมมาสน์นี้ ก็แสดงให้ โยมได้เห็นว่า อาตมาก็แก่ ก็เจ็บ ก็ตาย เช่นเดียวกันเหมือนกัน โยมทั้งหลาย เรามาแสดง ความเป็นอนิจจงั ซึ่งกนั และกันใหป้ รากฏ เหน็ กันอย่ทู ุกเช้า ทุกเย็น แตเ่ ราไม่ได้คดิ เทา่ นน้ั เองวา่ นค้ี อื ความไม่เที่ยง นคี้ ือ ความทุกข์ นคี้ ือ ความเป็นอนตั ตา คอื มันมอี ยแู่ ล้วในสังขาร ทง้ั หลายทงั้ ปวงเป็นอย่างนี้ เราทราบอย่างนแ้ี ล้ว เราก็ปล่อยวางได้ ฉะน้ันวันน้ีท่ีอธิบายธรรมะ การส่ังสมบุญในบุญกิริยาวัตถุ ๓ ก็พอสมควรแก่เวลา ขอยุตลิ งคงไว้แตเ่ พียงนี้ เอวงั กม็ ีด้วยประการฉะน้ี 11

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจดั กจิ กรรมปฏิบตั ิธรรมวันธรรมสวนะวดั เบญจมบพิตรดสุ ิตวนาราม พระสงฆใ์ ห้ศีล พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา ประธานฝายฆราวาสและผเู้ ขา้ ร่วม ฟงั พระธรรมเทศนา ประธานฝา ยฆราวาสและตวั แทนหนว่ ยงานถวายสงั ฆทาน ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ข้าร่วม กรวดน้า� รบั พร ถา่ ยภาพร่วมกัน 12

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ อพั ยาปชชกถา แสดงโดย พระครูโอภาสจริยานวุ ัตร วัดทงุ ครุ เขตทงุ ครุ กรุงเทพฯ วันอาทติ ยท ่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธัสสะ (๓ จบ) อพยฺ าปชฺชํ สุขํ โลเกติ. ณ บัดน้ี อาตมาภาพจักได้แสดงพระธรรมเทศนา พรรณนาพระสัทธรรมค�าสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พอเป็นเคร่ืองประดับสติปัญญา เพิ่มพูนกุศลบุญราศี แกท่ ่านพุทธศาสนกิ ชนทง้ั หลาย ทีพ่ รอ้ มใจกันมานะวันน้ี วันน้ีอาตมาภาพไดเ้ ชิญสภุ าษิตท่เี ป็นนเิ ขปบท ณ เบ้อื งต้นน้นั ว่า “อพฺยาปชชฺ � สขุ � โลเกติ แปลได้ว่า การไม่เบียดเบียนกันเปนความสุข” พระพุทธเจ้า ท่านมีความบริสุทธิ์ ในน้�าพระทัยไม่มีอะไรเศร้าหมอง พระองค์ท่านทรงมีปัญญารู้แจ้งเห็นจริงในเรื่องของ ความทุกข์ ฉะน้ันพระพุทธองค์ทรงตรัสให้ญาติโยมพุทธศาสนิกชนท้ังหลาย จงหม่ันท�าบุญ ท�ากุศล การท�าบุญ คือ บุญกิริยาวัตถุท้ัง ๑๐ ประการ คือ สิ่งอันเป็นที่ต้ังแห่งการท�าบุญ หรือกล่าวอย่างง่าย ๆ ว่า การกระท�าที่เกิดเป็นบุญเป็นกุศลแก่ผู้กระท�ามีด้วยกันอยู่ ๑๐ ประการ คือ ๑. บุญสา� เรจ็ ด้วยการบริจาค คือ การเสยี สละ นับตง้ั แต่ทรัพยส์ ินส่งิ ของเงินทอง ตลอดจนปญั ญาความรคู้ วามสามารถ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ นื่ โดยสว่ นรวม รวมถงึ การละ กเิ ลส โลภะ โทสะ โมหะ ออกจากจติ ใจ จนถงึ การสละไดแ้ มก้ ระทงั้ ชวี ติ อนั เปน็ สง่ิ ทม่ี คี า่ ทส่ี ดุ เพ่อื ในการปฏบิ ตั ธิ รรม ๒. บุญส�าเร็จไดด้ ้วยการรกั ษาศลี คือ การตงั้ ใจรกั ษาศีล และการปฏิบัติตนไม่ให้ ละเมิดศีล ไม่ว่าจะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ ของอุบาสก - อุบาสิกา หรือศีล ๑๐ ของสามเณร หรอื ศลี ๒๒๗ ขอ้ ของพระภกิ ษสุ งฆ์ เพอื่ รกั ษากาย วาจา และใจ ใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ พน้ จากกายทจุ รติ ทงั้ ๔ ประการ คอื ละเวน้ จากการฆา่ สตั ว,์ ละเวน้ จากการลกั ทรพั ย,์ ละเวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม, ละเวน้ จากส่ิงทเี่ ปน็ สง่ิ เสพติดและมึนเมาทง้ั หลาย อันเปน็ ส่งิ ท่ตี ง้ั แหง่ ความประมาท 13

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ วจีทุจริต ๔ ประการ คือ ไม่พูดสอดเสียด, ไม่พูดปด, ไม่พูดเพ้อเจ้อ และไม่พูดค�าหยาบ มโนทุจรติ มี ๓ ประการ คือ ไมห่ ลงงมงาย, ไม่พยาบาท, ไม่หลงผิดจากครรลองคลองธรรม ๓. บุญส�าเร็จด้วยการภาวนา คือ การอบรมจิตใจในการละกิเลส ต้ังแต่หยาบไป จนถงึ กเิ ลสอยา่ งละเอยี ด ยกระดบั จติ ใจใหส้ งู ขนึ้ โดยใชส้ มาธปิ ญั ญา รทู้ างเจรญิ และทางเสอื่ ม จนทา� ใหเ้ รานน้ั ไดพ้ บอรยิ สจั ๔ คอื ทกุ ข,์ สมทุ ยั , นโิ รธ และมรรค เปน็ ทางใหถ้ งึ ความพน้ ทกุ ข์ บรรลมุ รรคผลนิพพานได้ในทีส่ ดุ ๔. บญุ สา� เรจ็ ไดด้ ว้ ยการประพฤตอิ อ่ นนอ้ มถอ่ มตนตอ่ ผใู้ หญร่ ทู้ างเจรญิ และทางเสอ่ื ม คือ การใหค้ วามเคารพตอ่ ผ้ใู หญ่และผมู้ ีพระคณุ มีอยู่ ๓ ประเภท คอื ผมู้ วี ยั วุฒิ ได้แก่ พ่อแม่ ญาติพ่ีน้อง และผู้สูงอายุ ผู้มีคุณวุฒิ ได้แก่ ครูบาอาจารย์ พระภิกษุสงฆ์ และผู้มีชาติวุฒิ ไดแ้ ก่ พระมหากษตั รยิ ์และเชื้อพระวงศ์ ๕. บญุ สา� เรจ็ ได้ด้วยการขวนขวายในกจิ การงานทช่ี อบ คอื การกระท�าส่ิงท่เี ป็น คุณงามความดี ท่ีเกิดประโยชน์ต่อตนและส่วนรวม โดยเฉพาะทางพระพุทธศาสนา เช่น การชักนา� บุคคลให้มาประพฤติปฏบิ ัติธรรม มีทาน มีศลี รจู้ ักภาวนา เป็นตน้ ๖. บุญส�าเร็จได้ด้วยการให้ส่วนบุญ คือ การอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลท่ีได้กระท�า ให้แก่สรรพสัตว์ท้ังปวง การบอกให้ผู้อ่ืนได้ร่วมอนุโมทนาบุญด้วย ท้ังมนุษย์และอมนุษย์ ไดท้ ราบข่าว การบญุ การกุศลที่เราได้กระทา� ไป ๗. บญุ ส�าเร็จได้ด้วยการอนโุ มทนา คือ การได้รว่ มอนุโมทนา เช่นกลา่ วว่า “สาธุ” เพือ่ เป็นการยนิ ดี ยอมรับความดีและขอมีส่วนร่วมในความดขี องบุคคลอืน่ ถึงแม้วา่ เราไมม่ ี โอกาสได้กระท�า ก็ขอให้ได้มีโอกาส ได้แสดงความรับรู้ด้วยใจ ด้วยความปีติยินดีทั้งหลาย ในบญุ กุศลนนั้ บญุ ผลบุญก็จะเกดิ ข้ึนแกบ่ ุคคลทไ่ี ดอ้ นโุ มทนาในครั้งนัน้ ด้วย ๘. บุญส�าเร็จได้ด้วยการฟงธรรม คือ การตั้งใจฟังธรรมท่ีไม่เคยได้ฟังมาก่อน หรือที่เคยได้ฟังแล้ว ก็รับฟังเพื่อได้รับความกระจ่างมากขึ้น บรรเทาความสงสัยและ ทา� ความเหน็ ใหถ้ กู ตอ้ งยง่ิ ขนึ้ จนเกดิ ปญั ญาหรอื ความรู้ ความพยายามนา� ความรู้ และธรรมะนนั้ นา� ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ สู่หนทางแห่งความเจริญต่อไป ๙. บุญส�าเร็จได้ด้วยการแสดงธรรม คือ การแสดงธรรม ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบ ของการกระท�าหรอื การประพฤตปิ ฏิบตั ดิ ว้ ยกาย วาจา ดว้ ยใจ ในทางท่ชี อบ ตามรอยของ องค์พระศาสดา ให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่บุคคลอ่ืน หรือการน�าธรรมไปขัดเกลากิเลส 14

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ อุปนิสัย เพ่ือเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้อื่น ให้เกิดความเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา มาประพฤติปฏบิ ัตธิ รรม ๑๐. บุญส�าเร็จได้ด้วยการท�าความเห็นให้ตรง คือ ความเข้าใจในเร่ืองบาป - บุญ คุณ - โทษ ท่ีเป็นแกนสารและไม่เป็นแกนสาร ทางเจริญหรือทางเส่ือม สิ่งที่ควรประพฤติ สิ่งที่ควรละเว้น ตลอดจนการกระทา� ความดี ความเห็นในทีเ่ ปน็ สมั มาทฏิ ฐอิ ยู่เสมอ บุญกิริยาวัตถุท้ัง ๑๐ ประการนี้ ถ้าผู้ใดได้น�าไปปฏิบัติได้เพียงข้อใดข้อหน่ึง ใน ๑๐ ข้อ หรือยึดถือปฏิบัติได้ทั้ง ๑๐ ข้อเป็นประจ�า บุคคลผู้นั้น เป็นผู้ท่ีมีบุญ ได้รับ อานิสงส์ในการประพฤติปฏิบัติในบุญกิริยาวัตถุนี้ท้ัง ๑๐ ประการอย่างแน่แท้ ตามรอย ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นแล้ว อาตมภาพ ก็ขอฝากไว้กับบรรดาท่าน สาธุชนคนใจดีพุทธบริษัททั้งหลาย ที่ได้ร่วมใจกันขวนขวายในการถือศีลปฏิบัติธรรม ในวนั ธรรมสวนะ พรอ้ มใจกนั มาถอื ศลี ปฏบิ ตั ธิ รรม นอ้ มนา� เอาบญุ กริ ยิ าวตั ถทุ ง้ั ๑๐ ประการนี้ น�าไปประพฤติ น�าไปปฏิบัติ ให้ได้ครบทุกข้อ ผลานิสงส์ผลท้ังหลาย ก็จะดลบันดาลให้กับ บรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย ตลอดทั้งครอบครัว ได้พบกับความสุขทั้งในโลกน้ีและโลกหน้า และกจ็ ะไดพ้ บกบั ความสขุ ความเจรญิ ตลอดยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป ในทส่ี ดุ แหง่ การแสดงพระธรรมเทศนา ขออา้ งอา� นาจแหง่ คณุ พระศรรี ตั นตรยั อนั มคี ณุ พระพทุ ธรตั นะ พระธรรมรตั นะ พระสงั ฆรตั นะ ตลอดทง้ั คณุ บารมขี องหลวงพอ่ ไกสร จงมารวมเปน็ ตบะ เปน็ เดชะ เปน็ บารมี อา� นวยอวยพร ให้กับบรรดาท่านสาธชุ นทกุ คนทกุ ทา่ น ทงั้ ครอบครัวจงปราศจากทกุ ข์ เศร้า โรค ภัย และ จงเจริญไปดว้ ยจตรุ พธิ พรชัยท้ัง ๔ ประการ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ ธรรมะสารสมบตั ิ จะคดิ สงิ่ หนงึ่ ประการใด ทเี่ ปน็ ไปโดยชอบประกอบไปดว้ ยธรรม กข็ อใหส้ ง่ิ นน้ั จงพลนั ส�าเรจ็ จงพลันส�าเร็จ จงพลนั ส�าเร็จ ทุกประการเทอญ เอวงั ก็มดี ้วยประการฉะน้ี 15

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจดั กจิ กรรมปฏบิ ัตธิ รรมวันธรรมสวนะวดั ทุงครุ พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา ประธานฝายฆราวาสและผู้เขา้ ร่วม ฟังพระธรรมเทศนา ประธานฝา ยฆราวาสและตวั แทนหนว่ ยงานถวายสงั ฆทาน ผู้เข้าร่วม ถวายสังฆทาน ประธานฝา ยฆราวาสและผู้เข้าร่วม กรวดน�้า รับพร ถ่ายภาพรว่ มกัน 16

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ บชู ากถา แสดงโดย พระมหานรตุ ม รตนวณโฺ ณ วดั ภคินีนาถ เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ วนั จันทรท ี่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ (๓ จบ) ปชู า จ ปูชนยี านํ เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ มนฺติ. ณ โอกาสบัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงพระสัทธรรมเทศนาในบูชากถา เพื่อประคับ ประคองฉลองศรัทธาเพ่ิมพนู กุศลเจตนาสมานฉันทข์ องคณะท่านท้ังหลาย วนั น้ี ปรารภถงึ วนั ธรรมสวนะ วันประชุมฟังธรรมท่เี ราเรียกกนั ว่า วันน้ีเปน็ วนั พระ เปน็ ทน่ี า่ อนโุ มทนาตอ่ ทกุ ทา่ น ทม่ี าเขา้ รว่ มในกจิ กรรมการเขา้ วดั วนั ธรรมสวนะ สมตามทที่ า่ น ผู้รพู้ ดู เอาไวแ้ ละก็เปน็ จรงิ คอื “วดั จะดีมีหลักฐานเพราะบา้ นชว่ ย บา้ นจะสวยเพราะมีวดั ดัดนิสัย บ้านกับวัดผลัดกันช่วยยิ่งอวยชัย” แสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาของเราน้ัน มีทั้งชาวบ้านและชาววัดร่วมด้วยช่วยกันสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ตามที่ท่านผู้รู้ ไดก้ ลา่ วเอาไวว้ า่ พระพทุ ธศาสนาของเรานน้ั จะฝากไวก้ บั พระและกโ็ ยมใหร้ ว่ มดว้ ยชว่ ยกนั นน้ั คือ พุทธบริษัท ๔ อันประกอบไปด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา ถ้าหากว่า ท่านท้ังหลายให้ความส�าคัญกับวัดวาพระศาสนาเช่นน้ี วัดวาพระศาสนาก็จะอยู่กับเราไป ตราบนานเท่านาน เพราะฉะนั้น บัดนี้การแสดงพระธรรมเทศนา อาตมภาพจึงได้อัญเชิญ พระพทุ ธศาสนสภุ าษติ ทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงตรสั ไวว้ า่ “ปชู า จ ปชู นยี าน� เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ มง”ฺ ซ่งึ มีความหมายแปลเป็นภาษาไทยว่า “การบชู าบุคคลผู้ควรบูชาเปนอดุ มมงคลในชวี ิตคอื เปน มงคลอันสูงสดุ ในชีวิต” ก่อนอ่ืนน้นั ท่านทง้ั หลาย ก็ทา� ความเข้าใจกับคา� วา่ “มงคล” เพราะโดยทว่ั ไปแลว้ เรากจ็ ะเขา้ ใจวา่ มงคลโดยทวั่ ๆไปมมี ากมายแตว่ า่ ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา พระพุทธเจา้ ทรงตรัสไว้วา่ พระพทุ ธศาสนาน้ีเป็นศาสนาอเทวะนิยม เพราะฉะนั้นแลว้ มงคล อันจะเกิดในชีวิตของคนเรามันจะต้องเกิดจากการกระท�า ท่านเรียกว่า เป็นมงคลภายใน ไมใ่ ช่มงคลภายนอก เพราะฉะนน้ั แล้วมงคลท่กี ลา่ วนีม้ ีอยู่ ๒ ประการ คอื ประการแรก ทา่ นเรยี กว่า มงคลทางโลก มงคลทางโลก กค็ ือ มงคลอันเกิดจาก สง่ิ ท่มี นุษยส์ รรหากนั เขา้ มา ถ้าหากวา่ เราจะนับถอื สงิ่ ท่ีแปลกประหลาด หลายคนกบ็ อกว่า 17

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ เป็นมงคล เชน่ สัตว์ทมี่ ี ๖ ขา สัตว์ท่ีมี ๒ หวั เรากถ็ ือวา่ เปน็ มงคล ใบเงินใบทองเราก็ถือว่า เปน็ มงคล เปน็ ตน้ แตจ่ รงิ ๆ สง่ิ เหลา่ น้ี พระพทุ ธเจา้ ตรสั ตอบวา่ ไมใ่ ชเ่ ลย แลว้ สงิ่ ทเ่ี ปน็ มงคลแท้ คอื อะไร มงคลแทท้ พี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงหมายถงึ กค็ อื มงคลภายใน อนั ไดแ้ ก่ มงคลทางธรรม มงคลทางธรรม กค็ อื อนั เกดิ จากการกระทา� ซงึ่ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวม้ มี ากมาย มี ๓๘ ประการ มงคลใน ๓๘ ประการน้ี ถา้ หากวา่ จะนา� มาอรรถาธบิ ายขยายใหท้ า่ นทง้ั หลายไดท้ ราบครบทงั้ ๓๘ ประการ ก็ดว้ ยจา� กัดเวลา เพราะฉะน้นั วนั น้ี จงึ น�าเอาเฉพาะมงคลข้อที่ ๓ ในมงคลสตู ร ๓๘ ประการ ว่าดว้ ยการบูชาบคุ คลผคู้ วรบูชากเ็ ปน็ มงคลในชีวิตเรา เช่นวา่ วันนี้ ญาตโิ ยม ท้ังหลายได้มาประพฤติวัตรปฏิบัติธรรม ไหว้พระ สวดมนต์ ก็ถือว่า เป็นมงคลตามหลัก พระพุทธศาสนา และก็เป็นมงคลในชีวิต เราต้องท�าความเข้าใจให้ตรงกันว่า การบูชาน้ัน คอื อะไรการบชู ากค็ อื การเลอ่ื มใสศรทั ธายกยอ่ งเชดิ ชูเพราะฉะนน้ั มใี ครบา้ งละ่ ในชวี ติ ของเรา ท่เี ราควรท�าการบชู า ในชวี ติ ของเราควรทา� การบชู า ก็คือ ๑. พระพทุ ธเจา้ เพราะว่าอะไร ในฐานะท่เี ราเป็นพทุ ธบริษทั พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เราตอ้ งทา� การบชู า ๒. พระมหากษตั รยิ ์ เพราะอะไรเราตอ้ งทา� การบชู า เพราะเราเปน็ พสกนกิ รอยดู่ กี นิ ดี ในบ้านน้ีเมืองน้ี เพราะภายใต้ร่มเงาพระบารมีของพระองค์ เพราะฉะน้ัน รวมความว่า บคุ คลที่ ๒ ทีเ่ ราควรบชู าก็ คือ พระมหากษัตริย์ ๓. บิดามารดา ท�าไมเราต้องบูชาบิดามารดา เพราะพระพุทธเจ้าตรัสบอกว่า ท่านเป็นบุพการี บุพการี ก็คือ คนที่ท�าคุณคนก่อนและก็ไม่หวังผลสะท้อนกลับมาหาตัว ในชวี ิตน้ีเรามี กค็ ือ บิดามารดา เพราะฉะนนั้ ลูกทกุ คนตอ้ งทา� การบูชาบิดามารดา ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา ทา่ นถอื วา่ เปน็ อาหเุ นยยะของลกู กค็ อื เปน็ พระอรหนั ตข์ องลกู เพราะฉะนน้ั ลูกคนใดที่ทา� การบชู าบดิ ามารดา จึงเทา่ กับวา่ เปน็ การบูชาพระอรหันตด์ ้วย ๔. พระอุปชฌาย์ครูบาอาจารย์ รวมไปถึงหัวหน้าหน่วยงานกรมกองต่าง ๆ ด้วย เพราะในฐานะที่ท่านหน่ึงล่ะ ถ้าหากว่า เป็นอุปัชฌาย์ครูบาอาจารย์ ท่านให้ความรู้ และ หัวหน้าหน่วยงานกรมกองท้ังหลายถือว่า เป็นครูบาอาจารย์ได้ เพราะว่าอะไร เพราะว่า ท่านสอนงาน รวมความแลว้ ก็คือว่า จดั อย่ใู นผ้ทู ี่เราควรทา� การบชู า เมอ่ื เรารูอ้ ย่างน้แี ลว้ ว่า บุคคลท่ีควรท�าการบูชา หน่งึ พระรัตนตรัย คือ พระพทุ ธเจา้ พระธรรมค�าส่ังสอนของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์ บิดามารดา อุปัชฌาย์ครูบาอาจารย์ หัวหน้างานกรมกองต่าง ๆ ด้วย การบูชาเราควร 18

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ท�าอย่างไร การบูชา ก็คือ เราควรท�าความเคารพให้เกียรติทั้งต่อหน้าและลับหลังด้วย ถ้าหากว่า ท�าต่อหน้าอย่างเดียว โบราณท่านบอกว่า หน้าไหว้หลังหลอกไม่เกิดประโยชน์ แต่ถ้าหากเราท�าลับหลังด้วย ท่านบอกว่า จะเป็นอนุสติเตือนใจให้เราผู้ท่ีท�าการบูชาน้ัน ท้ังท�าต่อหน้าและลับหลังได้ถือเป็นแบบอย่าง แบบอย่างอย่างไร เช่น บูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เราเอามาเป็นพุทธานุสติ เตือนใจให้เราไม่ประมาทในชีวิต บูชาพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ พระมหากษัตริย์ เราบูชาคุณธรรมคุณงามความดีของท่าน เราจะได้น�ามา เป็นต้นแบบในการด�าเนินชีวิต เพราะฉะนั้นแล้ว บูชาท่ีว่าน้ี พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า มี ๒ ประการ คือ ๑. อามสิ บูชา ท่านทั้งหลายรูก้ นั ดีอยู่แล้ว อามิสบูชา กค็ อื บูชาด้วยอามิสสิง่ ของ ธูป เทียน ดอกไม้ ๒. ปฏบิ ตั บิ ชู า กค็ อื การปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมดว้ ยคา� สงั่ สอนดว้ ย รวมความวา่ การบชู าในพระพุทธศาสนาของเรา มี ๒ ประการ คือ อามสิ บชู าและ ปฏิบัติบูชา แต่ว่าในปัจจุบันน้ี การบูชาที่ว่านั้น สิ่งท่ีแสดงออกถึงการบูชาได้ดีท่ีสุดและ เป็นรูปธรรมที่เรามองเห็นนั้นคืออะไร การบูชาที่เรามองเหน็ ได้ชดั เจนทสี่ ดุ กค็ ือ การแสดง ความเคารพ คือ การกราบการไหว้ การกราบการไหว้นี้ เราควรท�ากันอย่างไร ทา่ นผ้รู ู้กลา่ ว ไวว้ า่ ถา้ หากวา่ เราเปน็ ชาวพทุ ธแลว้ เปน็ ผนู้ อ้ ยเราตอ้ งคอยทา� การบชู า ถา้ หากวา่ บชู าไมเ่ ปน็ เป็นชาวพุทธกราบไม่เป็นไหว้ไม่เป็น กราบพระพุทธ กราบไม่เป็น ก็กราบถูกแค่ทองค�า โบราณท่านว่าไว้ กราบพระธรรม กราบไม่เปน็ กถ็ กู แค่ใบลาน กราบพระสงฆ์ กราบไม่เปน็ ก็ถูกแค่ลูกชาวบ้าน ท่านพูดไว้อย่างนี้ ถ้าเราลองไปตีความดูก็น่าจะจริง เพราะว่า ถ้าเรา กราบพระพุทธ กราบไม่เป็นกราบอย่างไร กราบอย่างที่เราเห็นในสังคมไทยในปัจจุบัน คือ กราบสกั แตว่ า่ กราบ ไมไ่ ดก้ ราบดว้ ยใจ ถา้ กราบดว้ ยใจสงั คมไทยประเพณไี ทยหรอื วฒั นธรรม เรียกว่า กราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ เบญจางคประดิษฐ์ กค็ ือ เขา่ ๒ ศอก ๒ หน้าผาก ๑ เหตกุ ็เพราะวา่ เราเข้าใจกันอย่วู า่ กราบแล้ว ก็คอื กราบ แต่ถา้ กราบกันแบบน้ี กราบถกู แค่ ทองค�า ทองค�า กค็ อื ทองเปลวที่ปดิ พระพุทธรปู เรากราบถกู แค่นัน้ เราไมไ่ ดก้ ราบลึกเข้าไป ในหัวใจให้เป็นมงคล เพราะพระพุทธเจ้าตรัสบอกว่า สิ่งที่เป็นมงคล ก็คือ สิ่งที่น�าความ เจริญมาให้ชีวิตและท่ีส�าคัญที่สุด มงคลท่ีว่านี้ เป็นมงคลภายใน ก็คือ มงคลทางใจของเรา ถ้าหากว่า ใจของเราไม่ท�าตามแล้ว สักแต่ว่า กิริยาภายนอก ไม่ถือว่าเป็นการบูชาแต่ ประการใด เพราะฉะน้ันรวมความว่า กราบพระพุทธเจ้า กราบพระพุทธรูป กราบให้เป็น 19

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ค�าว่ากราบเป็น ก็คือ กราบให้เราระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้ามีพระพุทธคุณ ๓ ประการ คือ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ เวลาเรากราบ เราก็กราบพระพุทธคุณของพระพุทธองค์ว่า พระพุทธองค์ทรงมีปัญญามากเหลือเกินและ กท็ รงตรสั รพู้ ระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ เมอ่ื ตรสั รแู้ ลว้ ไมท่ รงเหน็ แกต่ วั เลย ทรงมพี ระเมตตา มีพระมหากรุณาน�าเอาหลักธรรมท่ีพระพุทธองค์ทรงค้นพบน�ามาเผยแผ่ให้กับมวลหมู่เรา สตั ว์โลกทง้ั หลาย ใหร้ ูต้ ามให้ปฏิบตั ิตาม การระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ โบราณทา่ นจงึ ให้กราบวา่ “พุทโธ เม นาโถ พระพุทธเจ้าเปนทพ่ี ่งึ ของเรา” กราบพระธรรมไมเ่ ป็นก็กราบแคใ่ บลาน กค็ อื เรากราบแล้วเราไมไ่ ดน้ า� หลกั ธรรมค�าสอนท่ีพระพทุ ธองคต์ รัสไวม้ าปฏิบัตเิ ลย สงั เกตดู ทา่ นทง้ั หลายวา่ การกราบพระธรรมกราบเปน็ และกน็ า� หลกั ธรรมนนั้ ไปปฏบิ ตั ิ จงึ จะไดช้ อ่ื วา่ กราบเป็น เพราะฉะน้ันถ้าหากว่า เรากราบแล้วสักแต่ว่า กราบไม่ได้น�าหลักธรรมไปเลย แสดงว่า เรากราบไม่ถูกพระธรรม เช่นว่า รับศีลก่อนท่ีเราจะฟังเทศน์เราก็รับศีล งานบวช งานแต่ง งานตาย เรากร็ ับศีล รับเพ่ืออะไร รบั เพอ่ื ทจ่ี ะใหเ้ รากราบถงึ พระธรรม เม่อื รับแลว้ เราตอ้ งนา� ไปปฏบิ ตั ิ ทา่ นทง้ั หลายอยา่ ลมื วา่ ศลี ๕ ไมใ่ ชข่ อ้ บงั คบั ของพระพทุ ธศาสนา แตเ่ ปน็ ข้อปฏิบตั ิขนั้ พ้นื ฐานของชาวพุทธ นน้ั หมายความว่า ใครก็ตามที่นับถอื พระพทุ ธศาสนาแล้ว จะต้องน�าเอาหลักธรรม คือ ศีล ๕ ประการนี้ไปปฏิบัติเหมือนกับที่ท่านท้ังหลายรับแล้ว กลา่ วให้ทา่ นทั้งหลายไดฟ้ งั เอาใจความก็คือ ๑. ไม่เปนคนโหดร้าย ๒. ไม่เปน คนมอื ไว ๓. ไม่เปนคนใจเรว็ ๔. ไมเ่ ปน คนพูดปด ๕. ไมเ่ ปนคนขาดสติ พูดง่าย ๆ ก็คือ ให้เราท่านทั้งหลายมีความเมตตาต่อกัน ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่อยากจะได้ของใครก็ตามด้วยวิธีใดก็ตาม ไม่อยากจะได้ พอใจในของที่เรามีอยู่น้ีแหละ ไมเ่ ป็นคนหลายใจแลว้ ครอบครวั มคี วามสขุ ไม่พดู ปด สอ่ เสยี ด ค�าหยาบ เพ้อเจ้อ โดยเฉพาะ เราอยู่ในสงั คมท่ีมเี พ่ือนรว่ มงานมากมายอย่างนี้ สา� คัญทีส่ ุด ถา้ หากวา่ เราถอื ศีลข้อที่ ๔ น้ี เป็นการดีที่สุดเลย เพราะอะไร ในหน่วยงานองค์กรก็จะมีความสุขกับการท�างาน ประการ สุดท้าย สุรายาเมาต้องห่างไกล เพราะฉะน้ันรวมความว่า กราบพระธรรมกราบให้เป็น ตอ้ งนา� หลกั ธรรมคา� สอนของพระพทุ ธเจา้ ไปปฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะศลี ๕ ประการ ทที่ า่ นทงั้ หลาย 20

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ไดส้ มาทานรบั ศลี แลว้ ประการที่ ๓ กราบพระสงฆ์ กราบไมเ่ ปน็ กถ็ กู แคล่ กู ชาวบา้ น หมายความวา่ ถา้ เรากราบ สกั แต่วา่ กราบ ก็คือ กราบลูกชาวบ้านอยา่ งเดยี ว แตถ่ ้าหากวา่ เรากราบให้ถงึ พระสงฆต์ อ้ งดขู อ้ วตั รปฏบิ ตั ิ กค็ อื “สปุ ฏปิ น โน ทา่ นเปน ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ”ี “อชุ ปุ ฏปิ น โน ทา่ นเปน ผปู้ ฏบิ ตั ติ รง” รวมความวา่ ถา้ หากวา่ ทา่ นปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบอยใู่ นกรอบในหลกั ของศลี ธรรม แล้วเราก็สมควรที่จะกราบไหว้ให้การอุปถัมภ์บ�ารุงเหมือนกับท่ีท่านทั้งหลายได้กระท�า อยู่ในขณะนี้ เพราะฉะน้ันรวมความว่า การบูชาสัญลักษณ์ที่แสดงออกที่ชัดเจนท่ีสุด กค็ ือ การกราบไหว้ ถา้ หากวา่ เราท�าเปน็ แนน่ อนที่สดุ ความเจริญหรือมงคลจะบังเกดิ มขี ึน้ ในชวี ติ การแสดงพระธรรมเทศนาในวันน้ี ตามศาสนพุทธสุภาษิตที่อาตมภาพได้อัญเชิญ มาแสดงในเบื้องต้นว่า “ปูชา จ ปูชนียาน� เอตมมฺ งฺคลมตุ ตฺ มงฺ การบชู าบุคคลผู้ควรบชู า เปนมงคลในชีวิต” ก็ถือว่า สมสมัยได้เวลาพอสมควรด้วยเจตจ�านงคงพระสัทธรรมเทศนา ใน บูชากถา ไวแ้ ตเ่ พียงเท่าน้ี เอวงั ก็มีด้วยประการฉะน้ี 21

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจัดกจิ กรรมปฏบิ ตั ิธรรมวนั ธรรมสวนะวดั ภคนิ ีนาถ ประธานฝา ยสงฆน์ า� พุทธศาสนิกชนท�าวตั รเช้า พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ข้ารว่ ม ฟงั พระธรรมเทศนา ประธานฝา ยฆราวาสและตวั แทนหนว่ ยงานถวายสงั ฆทาน ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ขา้ ร่วม กรวดน�า้ รบั พร ถ่ายภาพรว่ มกนั 22

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ สมัคคิกถา แสดงโดย พระมหาสายันต ธมฺมทีโป วัดอมรครี ี เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ วันจันทรที่ ๒๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธัสสะ (๓ จบ) สขุ า สงฆฺ สสฺ สามคคฺ ี สมคคฺ านจฺ นคุ คฺ โห สมคคฺ รโต ธมฺมฏโ โยคกเฺ ขมา น ธํสตีติ. ณ โอกาสบัดน้ี อาตมภาพ พระมหาสายนั ต์ ธมฺมทโี ป จกั รับเป็นผ้แู สดงพระธรรม เทศนา พรรณนาถงึ ความสามคั คี เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งประคบั ประคอง ฉลองศรทั ธาประดบั ปญั ญา บารมี เพ่ิมกุศลบุญราศีให้แก่พุทธบริษัท ญาติโยมผู้เป็นทานบดีสาธุชนคนใจบุญท้ังหลาย ทไี่ ดม้ าขวนขวายประกอบกจิ มกี ารใหท้ าน รกั ษาศลี เปน็ ตน้ อนั เปน็ เครอื่ งไหลมาแหง่ บญุ กศุ ล เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งทา� ตนใหพ้ น้ ทกุ ข์ ประสบสขุ อนั ไพบลู ย์ และญาตโิ ยมทง้ั หลาย ยงั มคี วามพอใจ เลอ่ื มใสศรทั ธาใครส่ ดบั ตรบั ฟงั พระธรรมเทศนา เพอื่ จะไดน้ อ้ มนา� พระธรรมคา� สอนไปสอบทาน กับกุศลจริยาสัมมาปฏิบัติ ให้ได้ประสบอิฏฐผลที่ตนปรารถนา บรรลุมรรคผลเบื้องสูง ตามสมควรแกเ่ วลาสบื ต่อไป สามคั คี แปลวา่ ความพรอ้ มเพรยี ง หมายความวา่ ความรว่ มมือรว่ มใจเปน็ อนั หน่งึ อันเดียวกัน ความส�าเร็จที่ย่ิงใหญ่เกิดข้ึนได้ก็เพราะความสามัคคี ความสามัคคีปรองดอง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับความรักใคร่ เผื่อแผ่ช่วยเหลือกันฉันญาติพี่น้อง สองประการน้ี คือ คุณลักษณะส�าคัญของคนไทย ที่ช่วยให้ชาติบ้านเมืองอยู่รอดเป็นอิสระและเจริญม่ันคง มาตงั้ แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ ัน พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถานไดใ้ หค้ วามหมายวา่ สามัคคี หมายถงึ ความพรอ้ มเพรยี งกนั ความกลมเกลียวเป็นนา�้ หนึ่งใจเดียวกนั รว่ มใจกนั ปฏิบตั งิ าน อย่างสร้างสรรค์ ให้บรรลุผลตามท่ีตนต้องการ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด เอาเปรยี บกนั เป็นการยอมรบั ความมเี หตผุ ล ยอมรบั ความแตกต่างหลากหลายทางความคดิ ความหลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะเช่นน้ี เรียกอีกอย่างว่า ความสมานฉันท์ ผู้ท่ีมีความสามัคคี คือ ผู้ที่เปิดใจกว้างเพ่ือรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 23

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ รจู้ กั บทบาทของตนทง้ั ในฐานะผนู้ า� และผตู้ ามทดี่ ี มคี วามมงุ่ มนั่ ตอ่ การรวมพลงั ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั เพื่อให้การงานส�าเร็จลุล่วง สามารถแก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรบั ความแตกตา่ งหลากหลายทางวฒั นธรรม ทางความคดิ และความเชอื่ พรอ้ มทจ่ี ะปรบั ตวั เพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติ ประเทศชาติท่ีมีคนพร้อมเพรียงอย่างนี้ ย่อมน�าไปสู่ความเจริญ มัน่ คง ซ่งึ เปน็ บอ่ เกดิ ของความสขุ ความเจรญิ และเป็นสิ่งคุ้มครองปอ งกนั ภัยอนั ตรายต่าง ๆ ไปด้วย พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๙ พระราชทานความหมายท่ลี กึ ซึง้ กว่าวา่ “...ความสามัคคีควรจะมีความหมายท่ีลึกซึ้งกว่านั้นอีกด้วย เช่น ควรจะหมายถึง ความพรอ้ มเพรยี งของทุกฝายทกุ คน ทม่ี ีความสา� นกึ แน่ชดั ในความรบั ผดิ ชอบที่จะพึงใช้ ความรู้ ความคิด ความสามารถ ตลอดจนคณุ สมบตั ทิ กุ ๆ ประการของตน ให้ประกอบ พร้อมเข้าด้วยกัน และให้เก้ือกูลส่งเสริมกัน เพ่ือสร้างสรรค์สิ่งที่เปนสาระแก่นสาร และท่เี ปน ประโยชน์ เปนความเจริญตอ่ ส่วนรวมและเพื่อนมนษุ ย์...” หมชู่ นใดตง้ั แตค่ รอบครวั หมสู่ มาคม ประเทศชาตติ ลอดถงึ ชนทงั้ โลก มคี วามสามคั คี พร้อมเพรียงกัน ช่วยท�ากิจกรรมของหมู่คณะร่วมกันอย่างขยันขันแข็ง ไม่ลักขโมยของกัน สงั คมหมนู่ นั้ กจ็ ะเขม้ แขง็ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง ทกุ คนในหมคู่ ณะนน้ั จะอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งรม่ เยน็ เปน็ สขุ เพราะความสามคั คเี ปน็ คณุ ธรรมทสี่ า� คญั ทจี่ ะพฒั นาหมชู่ นนน้ั ๆ ดงั นน้ั ความสามคั คี จึงนบั ว่า เปน็ คุณธรรมอันส�าคญั อยา่ งย่งิ สา� หรบั หมคู่ ณะ ความสามัคคีน้ัน สามารถท�าให้เกิดได้ทั้งในระดับครอบครัว ระหว่างสามีภรรยา บิดามารดา บุตรธดิ า ในระดับสงั คม ระหวา่ งครูอาจารย์กบั ศิษย์ เพอ่ื นกบั เพอ่ื นและในระดบั ประเทศชาติ ซงึ่ ทกุ คนจะตอ้ งนกึ ถงึ ประโยชนข์ องส่วนรวมเปน็ หลัก ควบกันไปกับประโยชน์ สว่ นตน ถา้ ไมเ่ ชน่ นนั้ แลว้ ทง้ั ประโยชนส์ ว่ นตนและสว่ นรวม กจ็ ะไดร้ บั ความเสยี หายไปดว้ ยกนั ดังคา� ประพนั ธไ์ ว้วา่ “ม่งุ ประโยชน์ ส่วนตน แตค่ นเดียว ไมแ่ ลเหลียว ส่วนรวม จะเสยี หาย เม่อื ส่วนใหญ่ ยบั ยอ่ ย พลอยวอดวาย สว่ นของตน กส็ ลาย ไปดว้ ยกัน ละสว่ นตน ไว้ก่อน จงึ ย้อนกลับ เม่ือส่วนรวม ไดร้ บั สมานฉนั ท์ อานิสงส์ สว่ นใหญ่ ได้ร่วมกัน จะส่งผล ใหต้ นนน้ั สขุ สันตเ์ อย” ดังน้นั ความสามัคคี จงึ เปน็ คณุ ธรรมทีท่ �าใหเ้ กิดความร่วมมือ ร่วมใจกัน ท่ีสามารถ รกั ษาและพฒั นา ชาตบิ ้านเมืองใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง หากทกุ คนมคี วามคดิ จติ ใจและการประพฤติ ปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั ในทางทด่ี ที เี่ จรญิ มพี รอ้ มอยใู่ นกายในใจของคนไทย หมน่ั เจรญิ 24

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ให้เกิดขึ้นและรักษาไว้มิให้เสื่อม ประเทศชาติไทยจะมั่นคงด�ารงอยู่ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข ตลอดไปได้ ทง้ั ในปจั จุบนั และในภายภาคหน้า คุณธรรมน้ีนับว่า ส�าคัญมากในหมู่คณะ เป็นคุณธรรมที่ก่อให้เกิดความสุขอย่างยิ่ง แก่หมู่คณะ เพราะถ้าหากหมู่คณะมีความสามัคคีกันแล้ว สามารถจะช่วยเหลือเก้ือกูล ซ่ึงกันและกัน ร่วมแรงร่วมใจเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ย่อมจะท�าให้กิจการที่ท�านั้น ประสบ ความสา� เรจ็ ได้ ก่อให้เกิดความสงบสขุ ความเจรญิ ขน้ึ แก่สังคมนัน้ ในการอยู่ร่วมกันเป็นบริษัทหรือเป็นหมู่คณะตั้งแต่ ๒ คนข้ึนไปน้ัน บางครั้ง อาจมกี ารกระทบกระทงั่ กนั บา้ ง มกี ารทะเลาะววิ าทกนั บา้ ง นนิ ทากนั บา้ ง เพราะในการดา� เนนิ ชวี ติ ของเรา ยอ่ มตอ้ งมคี วามสมั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ไมว่ า่ จะเปน็ พน่ี อ้ งรว่ มครอบครวั เพอ่ื นรว่ มหอ้ ง เพอ่ื นรว่ มงาน ผอู้ ยรู่ ว่ มชมุ ชน จะเกดิ เปน็ ความสมั พนั ธอ์ นั ดี หรอื ทเี่ รยี กวา่ ความสามคั คไี ดน้ นั้ ต้องอาศัยธรรมที่เป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน กระท�าซ่ึงความเคารพระหว่างกัน อยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยดีมีความสุข ความสงบ ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ไม่ท�าร้ายท�าลายกันที่เรียกว่า สาราณยี ธรรม ๖ ประการ คือ ๑. เมตตากายกรรม หรือท�าต่อกันด้วยเมตตา คือ แสดงไมตรีและความหวังดี ตอ่ เพือ่ น ตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยการช่วยเหลอื ธรุ ะต่าง ๆ โดยเต็มใจ แสดงอาการกริ ิยาสุภาพ เคารพ นบั ถอื กัน ท้ังต่อหนา้ และลบั หลัง ๒. เมตตาวจีกรรม หรือพูดต่อกันด้วยเมตตา คือ ช่วยบอกสิ่งที่เป็นประโยชน์ สง่ั สอนหรอื แนะนา� ตกั เตอื นกนั ดว้ ยความหวงั ดี กลา่ ววาจาสภุ าพ แสดงความเคารพนบั ถอื กนั ทง้ั ตอ่ หน้าและลบั หลัง ๓. เมตตามโนกรรม หรอื คดิ ตอ่ กนั ด้วยเมตตา คือ ต้งั จติ ปรารถนาดี คดิ ท�าแตส่ ง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์แกก่ ัน มองกันในแงด่ ี มหี น้าตาย้มิ แยม้ แจม่ ใสตอ่ กนั ๔. สาธารณโภคี หรอื ไดม้ าแบง่ กันกินใช้ คอื แบง่ ปนั ลาภผลท่ีไดม้ าโดยชอบธรรม แมเ้ ป็นของเลก็ นอ้ ย กแ็ จกจา่ ยให้ไดม้ สี ่วนร่วมใช้สอยบรโิ ภคทัว่ กนั ๕. สลี สามญั ญตา หรอื ประพฤติใหด้ เี หมอื นเขา คือ มีความประพฤตสิ จุ รติ ดงี าม รกั ษาระเบยี บวนิ ยั ของสว่ นรวม ไมท่ า� ตนใหเ้ ปน็ ทนี่ า่ รงั เกยี จหรอื ทา� ความเสอ่ื มเสยี แกห่ มคู่ ณะ ๖. ทฏิ ฐสิ ามญั ญตา หรอื ปรบั ความเหน็ เขา้ กนั ได้ คอื เคารพรบั ฟงั ความคดิ เหน็ กนั มีความเห็นชอบร่วมกัน ตกลงกันได้ในหลักการส�าคัญ ยึดถืออุดมคติหลักแห่งความดีงาม หรอื จดุ หมายอันเดยี วกนั 25

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ธรรมทั้ง ๖ ประการนี้ ได้แก่ การท�า - พูด - คดิ ต่อกนั ดว้ ยเมตตา มนี �้าใจแบ่งปนั ประพฤติสจุ ริต รบั ฟงั ความคิดเหน็ ซงึ่ กันและกัน สามารถเคารพนับถอื กนั ชว่ ยเหลอื ดแู ลกัน มีความพร้อมเพรียง มคี วามร่วมมือ ผลึกกา� ลังกัน เป็นน้า� หนึ่งใจเดียวกัน หากเราทุกคนได้ ปฏบิ ตั กิ จ็ ะเกดิ เปน็ คณุ คา่ ทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ความสขุ ความสามคั คใี นการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยดี และมคี วามสงบสขุ ปลอดภยั อนั เปน็ สง่ิ ทเ่ี ราทกุ คนลว้ นปรารถนา ความสามคั คี มี ๒ ประการ คอื ๑. การพรอ้ มเพรียงกันทางกาย ได้แก่ การรว่ มแรงรว่ มใจชว่ ยกันสนับสนุนส่งเสรมิ การงานของหมคู่ ณะใหส้ า� เรจ็ ลลุ ว่ งไมร่ งั เกยี จเกย่ี งงอน ไมแ่ กง่ แยง่ ชงิ ดกี นั หรอื ไมแ่ ตกแยกเปน็ กก เป็นเหลา่ ๒. การพรอ้ มเพรยี งกนั ทางใจ ไดแ้ ก่ มใี จรกั ใครห่ วงั ดตี อ่ กนั ไมบ่ าดหมาง ไมเ่ กลยี ดชงั มีความคดิ เหน็ กลมเกลียว รว่ มใจปรกึ ษาหารือ หาทางแกไ้ ขปญั หา ช่วยกนั คิดอา่ นการงาน ของหมคู่ ณะ ดว้ ยใจซอ่ื ตรงและหวงั ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ใหญ่ ไมท่ า� ความคดิ เหน็ แตกตา่ ง ไม่คิดชิงดีกัน ด้วยอ�านาจทิฏฐิมานะ ความรักความสามัคคี จึงเป็นเร่ืองส�าคัญที่จะน�า ความสุขความเจริญมาสู่สถาบันต่าง ๆ เร่ิมจากสถาบันเล็ก ๆ ในครอบครัวท่ีอยู่ด้วยกัน ด้วยความรกั ความเขา้ ใจ รู้จักรกั ษาน้�าใจซงึ่ กนั และกัน มีความเคารพต่อกัน ยอมรับฟังกนั รบู้ ทบาทหนา้ ทข่ี องตวั เอง ชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู กนั และเมอื่ เขา้ สสู่ งั คมทใ่ี หญข่ นึ้ กวา้ งขน้ึ คงเปน็ ไปไม่ได้ที่จะท�าให้ทุกคนรักกัน แต่ทุกคนก็งดเว้นจากการเบียดเบียนกันได้ ถึงจะไม่รักกัน ก็เคารพซ่ึงกันและกันได้ ด้วยการยอมรับความแตกต่าง และเห็นคุณค่าของกันและกัน อย่างน้อยไม่ท�าร้ายกัน ไม่เบียดเบียนกัน ทุกคนสามารถไว้วางใจ ไม่ต้องคอยระแวงกัน รู้สึกปลอดภัยที่จะอยู่ร่วมกัน ก็สามารถเป็นสิ่งรับประกัน การอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ในชมุ ชนได้ อานิสงส์ของความสามัคคีนี้ เปนบ่อเกิดแห่งความสุขความเจริญ เปนเหตุแห่ง ความส�าเร็จในกิจการงานต่าง ๆ การงานอันเกินก�าลังท่ีคน ๆ เดียวจะท�าได้ต้องอาศัย ความสามัคคีเป็นท่ีต้ัง แมลงปลวกสามารถสร้างจอมปลวกที่ใหญ่โตกว่าตัวหลายเท่า ใหส้ �าเรจ็ ได้ก็อาศัยความสามัคคกี นั โทษของการแตกสามัคคีกันน้ัน ท่านกล่าวไว้ว่า หาความสุขความเจริญไม่ได้ ไม่มีความส�าเร็จ ด้วยประการทั้งปวง เหตุให้แตกความสามัคคีกันนี้ อาจเกิดจากเหตุ เล็ก ๆ น้อย ๆ ก็เป็นได้เหมอื นเรอ่ื งน้�าผ้งึ หยดเดยี ว แต่เป็นเหตใุ ห้เกิดสงครามไดเ้ หมือนกนั 26

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ยกตัวอย่างเรื่องของเมืองไพศาลี แคว้นวัชชี เมื่อพวกเจ้าลิจฉวี มีความสามัคคีกัน พระเจา้ อชาตศตั รู กท็ า� อะไรไมไ่ ด้ แตเ่ มอ่ื ถกู วสั สการพราหมณ์ ยยุ งใหแ้ ตกสามคั คกี นั เทา่ นนั้ กเ็ ปน็ เหตใุ ห้ พระเจา้ อชาตศัตรู เขา้ โจมตแี ละยดึ เมืองเอาไว้ได้ในท่สี ุด การรวมใจสามัคคีกัน จึงจะเกิดเป็นพลัง ความสามัคคีเกิดขึ้นที่ใด ย่อมท�าให้ที่นั้น มแี ตค่ วามสงบสขุ มแี ตค่ วามเจรญิ สว่ นการแตกสามคั คกี นั ทา� ใหม้ กี า� ลงั นอ้ ย ความแตกสามคั คี เกดิ ขนึ้ ทใ่ี ดยอ่ มทา� ใหท้ นี่ น้ั ประสบแตค่ วามทกุ ข์มแี ตค่ วามเสอื่ มเราจะอยอู่ ยา่ งราบรนื่ กลมกลนื กับผู้อ่ืนได้ ก็ต่อเม่ือ เราเช่ือม่ันในความดีหรือเห็นว่า ความสามัคคี การเอื้อเฟอเกื้อกูลกัน เป็นสิ่งท่ีดีงาม สามารถสมานน�้าใจผู้อ่ืนได้ และจะน�าไปสู่การร่วมมือเพ่ือก่อประโยชน์ แก่ทุกฝาย แต่หากเรามีความคิดในทางตรงข้าม ในท่ีสุดชีวิตเรา ก็จะมีแต่เร่ืองเดือดร้อน ไม่เป็นท่ีไว้วางใจ ไม่เป็นท่ีรักของผู้อ่ืน ความสามัคคีเกิดข้ึนด้วยการสร้างความเข้าใจ จากเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เหลา่ นี้ ได้แก่ ๑. เรื่องกีฬา กีฬาเป็นเร่ืองสนุก แต่บางครั้งผู้เล่นก็คาดหวังที่จะต้องชนะ เพยี งอยา่ งเดยี ว ควรคดิ วเิ คราะหถ์ งึ คณุ คา่ ทแี่ ทจ้ รงิ จากการเลน่ กฬี าวา่ “เราเลน่ กฬี าทา� ไม” เพอื่ สรา้ งความรกั สามคั คกี บั เพอื่ น เพอ่ื ออกกา� ลงั กายใหส้ ขุ ภาพแขง็ แรง “การทเี่ ราแพแ้ ทจ้ รงิ แลว้ เปน ประโยชนห์ รอื เปน โทษตอ่ เรา” เราจะไดฝ้ ก ฝนและพฒั นาความสามารถใหด้ ขี นึ้ ตอ่ ไป ทั้งยังได้ฝกและฝนตัวเอง จากการเล่นกีฬาตามกติกาท่ีก�าหนดไว้ ไม่มุ่งหวังแค่จะชนะ เพยี งอยา่ งเดยี ว ควรรจู้ กั การแบง่ ปนั และมจี ติ ใจเมตตา นกึ ถงึ ความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ รจู้ กั ใหอ้ ภยั กล้ายอมรบั ผิดและพรอ้ มจะแกไ้ ขปรบั ปรุงตวั เองใหม่ ๒. การท�างานเปนกลุ่ม การรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จะช่วยให้เรา สามารถท�างานท่ียากล�าบากให้ส�าเร็จได้ ช่วยให้เกิดความมั่นใจในตนเอง เพราะสามารถ ช่วยปองกัน ฟันฝาอุปสรรคจนลุล่วงไปได้ ผลดีจากการช่วยกันท�างานเป็นกลุ่ม คือ ไดส้ มั ผสั ความคดิ เหน็ และวธิ กี ารทา� งานทแี่ ตกตา่ งกนั เปน็ การขยายมมุ มองและประสบการณ์ ให้กว้างข้ึน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่จะยอมรับความแตกต่าง ท�าให้ค�านึงถึงความคิดและ ความต้องการของผู้อ่ืนมากข้ึน แทนท่ีจะยึดติดกับความคิดและความต้องการของตนเอง อยา่ งเดียว ๓. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น หลังจากที่ท�างานร่วมกันแล้ว ควรทบทวน ไตร่ตรอง พิจารณาร่วมกัน แลกเปล่ยี นประสบการณ์และความคิดเห็นตา่ ง ๆ จากการท�างานร่วมกัน อะไรเป็นข้อดี จากการท�างานคร้ังน้ี และมีอะไรที่ต้องปรับปรุง 27

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ เพือ่ จะทา� ใหง้ านดขี นึ้ ได้ การทบทวนน้จี ะทา� ให้ไดแ้ ง่คดิ ความรู้ หรอื บทเรียนอนั หลากหลาย จากเพ่ือนร่วมงานหรือผู้ใหญ่ในชุมชน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ตนเองและยังช่วยให้แต่ละคน ได้ทบทวนประสบการณ์ของตนเอง สามารถสรุปเป็นข้อคิดและบทเรียนส�าหรับตัวเอง เพอ่ื นา� ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อไปได้ ๔. การเจริญสติ เราทุกคนเป็นเพ่ือนมนุษย์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีใครในโลกนี้ ตอ้ งการความทกุ ข์ ไมม่ ใี ครในโลกน้ี ทจี่ ะปฏเิ สธความสขุ ทกุ คนเหมอื นกนั หมด ทกุ คนจงึ ควร ไดฝ้ ก ตวั เองดว้ ยศลี ดว้ ยสมาธแิ ละเจรญิ สติ ใหไ้ ดส้ มั ผสั ความสงบ ดว้ ยการสวดมนต์ นงั่ สมาธิ แผเ่ มตตา จนรู้ความหมายและประโยชนข์ องสติ ควรมสี ติในการฟัง อ่าน คิด ถามและเขยี น ดว้ ยกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวอยา่ งมสี ติ ฝก สมาธเิ บอี้ งตน้ ดว้ ยการนบั ลมหายใจ เมอ่ื มคี วามสงบ ภายในแล้ว ความดิ้นรนวุ่นวายที่จะแสวงหาความสุขนอกตัว ก็น้อยลงเป็นธรรมดา มันยังไม่หายไปทีเดียว แต่อย่างน้อยก็สามารถควบคุมตัวเอง ภายในกรอบของศีลธรรม ไมเ่ บยี ดเบยี นใคร ไมส่ รา้ งความทกุ ข์ ความเดอื ดรอ้ นกบั ครอบครวั กบั ชมุ ชน ซง่ึ เปน็ ผลมาจาก ความสงบภายใน ๕. พ่อแม่ผู้ปกครองควรจะส่งเสริมคุณธรรมพ้ืนฐานเร่ืองสามัคคีให้ลูก สามารถ เป็นแบบอยา่ งท่ดี ใี หก้ ับลูก ความสามัคคีเปน็ เร่ืองส�าคญั ความสุขของครอบครวั เร่ิมตน้ จาก พ่อแม่ เม่ือพ่อแม่เคารพรักกัน เป็นคนดี มีความรัก ความเมตตาต่อลูก ท้ังการแสดงออก ทางกาย ทางวาจาและทางใจ ท่ีลูกสามารถสัมผัสได้ เป็นท่ีพึ่งได้ สามารถเป็นแบบอย่าง ที่ดีให้กับลูก ลูกก็มีความเคารพศรัทธา มีความเชื่อมั่นเช่ือฟังในสิ่งท่ีพ่อแม่สอน และเกิดความอยากจะประพฤติปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ คนดี ๖. เรียนรเู้ รือ่ งความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ทกุ คนมีความแตกตา่ งกนั ทงั้ ร่างกาย จิตใจ ความคิด ลักษณะอารมณ์ การแสดงออก ท่ีส�าคัญ คือ เราต้องตระหนักและเคารพ ให้เกียรติกัน ในเร่ืองความแตกต่างเหล่านี้ ท้ังทางความคิดและการกระท�า ให้ความส�าคัญ กับทุกคน ทุกบทบาทหน้าท่ีในสังคม เราต้องตระหนักและเคารพในความแตกต่างนี้ เพราะแทจ้ รงิ แลว้ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลตา่ งหาก ทที่ า� ใหโ้ ลกของเรานา่ อยแู่ ละนา่ สนใจ ๗. รู้จักท�าประโยชน์ ควรท�าความดี บ�าเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม เริ่มจากความ รับผิดชอบต่อกิจวัตรของตัวเอง การให้บริการผู้อ่ืน การท�าความดีหรือบ�าเพ็ญประโยชน์ อยา่ งสมา่� เสมอ จะทา� ใหเ้ กดิ “จติ อาสา” คอื จติ ทอี่ ยากทา� ความดเี พอื่ ผอู้ นื่ เปน็ จติ ทมี่ อี ตั ตา เล็กลง จงึ เปดิ รบั ความสขุ ไดง้ ่าย โดยไมจ่ �าเปน็ ต้องพึง่ วตั ถุ การทา� ความดยี ังชว่ ยให้ได้เห็นวา่ 28

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ยังมีผู้อื่นท่ีทุกข์ยากล�าบากกว่าตน ท�าให้ความทุกข์ของเรา กลายเป็นเร่ืองเล็กน้อยไป หรอื ทา� ใหเ้ ราคดิ วา่ เรายงั โชคดกี วา่ คนอน่ื อกี มากมาย ขณะเดยี วกนั การเหน็ คนทกุ ขอ์ ยตู่ รงหนา้ มอิ าจทนนง่ิ เฉยไดต้ อ่ ไป มใิ ชเ่ ปน็ คนเหน็ แกต่ วั ควรตงั้ มนั่ อยใู่ นศลี มคี วามเคารพนบั ถอื ตวั เอง มคี วามเคารพนบั ถอื คนอน่ื ไมเ่ บยี ดเบยี นใคร ดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา และเปน็ ผทู้ ค่ี ดิ จะชว่ ยเหลอื เกื้อกูลสังคม เท่าท่ีจะท�าได้ มีอุดมการณ์ ในการสร้างประโยชน์ให้คนอื่น มีความเป็นห่วง ต่อเพื่อนมนุษย์ มีความเป็นห่วงต่อส่ิงแวดล้อม มีความเป็นห่วงต่ออนาคตของสังคม ของประเทศชาติ มคี วามคดิ ทจี่ ะเสยี สละเพอ่ื สว่ นรวม จงึ จะเปน็ เอกลกั ษณข์ องมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์ เปน็ สงิ่ ทนี่ า่ ภาคภมู ใิ จ ทเ่ี ราทกุ คนสามารถสรา้ งประโยชนแ์ กผ่ อู้ นื่ และสามารถมคี วามเคารพ นับถือตวั เอง มคี วามสุข มีความรกั ความสามคั คี มจี ิตใจเปน็ บุญเปน็ กุศล สาเหตุส�าคัญท่ีท�าให้สังคมไทยมีปัญหามากมาย ท้ังในระดับบุคคล ครอบครัวและ สงั คม สรา้ งทกุ ขแ์ กผ่ ู้คนเป็นอันมาก การขจัดทกุ ขแ์ ละสร้างสขุ ใหเ้ กดิ ข้ึนได้ ด้วยการปลูกฝงั ให้คิดถึงคนอื่นมากกว่าตัวเอง เพราะการคิดถึงแต่ตัวเอง ท�าให้อัตตาหรือตัวตนใหญ่ขึ้น ทา� ให้ถกู กระทบหรือเปน็ ทกุ ข์ไดง้ า่ ย ขณะเดียวกันกเ็ ปน็ คนสขุ ยาก เพราะได้เทา่ ไรกไ็ ม่พอใจ เสียที ในทางตรงขา้ ม การคดิ ถงึ ผอู้ ่ืนช่วยให้ตวั ตนเล็กลง เหน็ ความทุกขข์ องตนเอง เป็นเรอ่ื ง เล็กน้อย ย่ิงช่วยผู้อ่ืนมากเท่าไรก็ยิ่งมีความสุข เพราะได้เห็นผู้อื่นมีความสุขด้วย เพราะเรา ไม่อาจอยู่คนเดียวในโลกน้ีได้ แต่ต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้อื่น การช่วยให้ผู้อ่ืนมีความสุข ก็ย่อมท�าให้เรามีความสุขด้วย และยิ่งมีความเห็นแก่ตัวน้อยลงเพียงใด ก็ย่ิงมีความสุข เพิ่มขึน้ เพยี งนน้ั จิตท่พี รอ้ มจะให้ จติ คิดที่จะให้ จิตพอใจทจ่ี ะให้ยนิ ดที ี่จะช่วย ยินดีทจ่ี ะให้ เปน็ คณุ ธรรมท่ีท�าให้มคี วามสขุ เกดิ ความสมานสามคั คี ความอบอนุ่ ความรกั กันอยู่ในชมุ ชน ความสามัคคี เปนสิ่งคุ้มครองปองกันภัยอันตราย ถ้าชาติใด มีความสามัคคี พรอ้ มเพรยี งกนั ชาตนิ น้ั กม็ พี ลงั ตอ่ สเู้ ขม้ แขง็ หากมชี าตอิ นื่ มารกุ ราน กส็ ามารถรวมกา� ลงั ตอ่ สู้ เพอ่ื รักษาอสิ รภาพไว้ได้ การแตกความสามัคคี จะเปนผลร้าย น�าความหายนะมาสู่หมู่คณะ ตลอดถึง ประเทศชาติ ถ้าทุกคนไม่ท�าหน้าที่หรือเก่ียงงอนกัน ไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตน ประเทศชาติ ก็จะถึงความพินาศล่มจม ซ่ึงเป็นผลมาจากการแตกความสามัคคีทั้งสิ้น การท่ีบุคคลคิดถึง ประโยชน์ของตน ยง่ิ กวา่ ประโยชน์ของหม่คู ณะ เป็นเหตทุ �าให้ความสามัคคีแตกร้าว จากความหมายดังกล่าว จึงสรุปได้ว่า ความสามัคคี เป็นความพร้อมเพรียงกัน ของทุกฝาย ทุกคน ในความรบั ผิดชอบ ทีจ่ ะพึงใชค้ วามรู้ ความคดิ ความสามารถ ตลอดจน 29

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ คุณสมบัติทุก ๆ ประการของตน ให้ประกอบพร้อมเข้าด้วยกัน และให้เก้ือกูลส่งเสริมกัน เพื่อสร้างสรรค์ส่ิงที่เป็นสาระแก่นสารและที่เป็นประโยชน์ เป็นความเจริญต่อส่วนรวม และเพ่ือนมนุษย์ การที่จะเกิดความสามัคคีทางกายได้ต้องเริ่มจากจิตใจ ถ้าทุกคนมีความ สามัคคเี ปน็ น�า้ หน่งึ ใจเดียวกนั แล้ว ประเทศชาตยิ อ่ มคลาดแคล้วจากภยั ของศตั รู และต้ังมั่น มคี วามสขุ สมบรู ณอ์ ยไู่ ด้ ตอ้ งอาศยั ความสามคั คเี ปน็ ทตี่ ง้ั เปน็ กา� ลงั ของความสา� เรจ็ ชว่ ยใหง้ าน ทย่ี ากยงิ่ กวา่ งมเขม็ ในมหาสมทุ ร หรอื งานทห่ี นกั ยงิ่ กวา่ เขน็ ครกขน้ึ ภเู ขา กส็ ามารถสา� เรจ็ ลงได้ ดงั น้นั หมูค่ ณะใด ท่มี ีความพร้อมเพรียงไมห่ วาดระแวงกนั และกนั หมูค่ ณะน้นั ยอ่ มประสบ แต่ความสุขความเจริญ ไม่มีใครสามารถเอาชนะได้ หากทุกคนชาวไทย ยินดีท่ีจะประสาน ผลประโยชน์เพอื่ ใหเ้ กิดความสามัคคีขึน้ ในชาติ ดังพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ เน่ืองในพิธี สวนสนามทหารรักษาพระองค์ วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๐๕ ว่า “...คราวใดท่ีชาวไทย มีความสามคั คเี ปน นา�้ หนง่ึ ใจเดียวกัน รว่ มแรงร่วมใจกนั เพ่ือประเทศชาติแล้ว ชาตกิ ็ได้ รอดพ้นจากภัยพบิ ตั สิ คู่ วามสขุ ความเจรญิ แตค่ ราวใดทีข่ าดความสามคั คกี ลมเกลียวกัน ก็ต้องประสบเคราะห์กรรมกันท้ังชาติ จึงเปนหน้าท่ีของเราทั้งหลาย ที่จะต้องร่วมใจกัน ปฏิบัติหน้าทใ่ี ห้ดีท่ีสุด...” มนุษย์เป็นสัตว์สังคมชอบอยู่อาศัยกันเป็นกลุ่ม เป็นชุมชน ต้องการเพ่ือน ไม่ชอบ การอยู่อย่างโดดเด่ียว ตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ก็วางหลักธรรม ส�าหรบั เป็นเครอื่ งยึดเหนี่ยวความสามคั คีไว้ เรียกวา่ สงั คหวตั ถุ ๔ ประการ คอื ๑. ทาน การเสียสละแบง่ ปันสิ่งของเคร่อื งใช้ให้แกเ่ พอ่ื นมนุษย์ ๒. ปย วาจา การพดู จาสนทนาปราศรัยกนั ด้วยถอ้ ยค�าไพเราะออ่ นหวาน นา่ ฟงั ๓. อัตถจริยา การบ�าเพ็ญประโยชน์ให้แก่กันและกัน เช่น ช่วยเพ่ือนท�างาน ชว่ ยรักษาพยาบาล ชว่ ยสงเคราะห์ด้านอน่ื ๆ เป็นตน้ ๔. สมานัตตตา คือ การวางตนได้อย่างเสมอกันระหว่างเพ่ือนมนุษย์ ไม่สูงเกินไป ไม่ต่า� เกนิ ไป ความพร้อมเพรียงของมนุษย์จะด�ารงอยู่ได้เพราะอาศัยธรรมะ ๔ ประการนี้ เมื่อคนมีความสามัคคีกัน ไม่แบ่งแยกเป็นกลุ่มเป็นพวก ก็จะได้รับแต่ความสุข ความเจริญ การสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงเป็นปกแผ่นสมานสามัคคีกันนั้น ก็จัดเป็นความสุข 30

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ทงั้ ตวั ผสู้ นบั สนนุ และกลมุ่ คนผสู้ ามคั คกี นั นนั้ เพราะวา่ ตา่ งฝา ยกไ็ ดร้ บั ประโยชนท์ ค่ี วรจะไดร้ บั ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ต้ังตนอยู่ในธรรมตามหลักศาสนาย่อมจะได้รับสุขสมบัติ ตามท่ีปรารถนาทุกประการท้ังในชาติน้ีและในชาติหน้า สมดังพุทธภาษิตที่ยกข้ึนเป็น นกิ เขปบทเบอ้ื งต้นวา่ สขุ า สงฺฆสสฺ สามคฺคี สมคคฺ านฺจนคุ ฺคโห สมคฺครโต ธมฺมฏโ ฐ โยคกเฺ ขมา น ธ�สตตี .ิ ความพร้อมเพรียงของหมเู่ ปนสขุ และการสนับสนนุ คนผพู้ ร้อมเพรยี งกันกเ็ ปน สขุ . ผู้ยนิ ดีในคนผ้พู ร้อมเพรียงกนั ตงั้ อยใู่ นธรรม ยอ่ มไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ. (พุทฺธ) ข.ุ อิติ.๒๕/๒๓๘. เทศนาวสาเน ในกาลเปน็ ทจ่ี บลงแหง่ พระธรรมเทศนาน้ี อาตมภาพขอตง้ั จติ อธษิ ฐาน ใหค้ ณุ พระศรรี ตั นตรยั จงอภบิ าลรกั ษา ใหบ้ ญุ กศุ ลทอ่ี าตมภาพและญาตโิ ยมไดก้ ระทา� บา� เพญ็ ในวันนี้ จงมารวมกันเป็นตบะ เดชะ พลวปัจจัย ดลบันดาลประทานพรให้ญาติโยม จงประสบจตุรพธิ พรชัย ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าณ ธนสารสมบตั ิ พร้อมมลู บรบิ ูรณ์ทุกประการ จงประสบสิริสวัสดพ์ิ ิพัฒนมงคล สมบูรณพ์ ูนผลด้วย ลาภ ยศ สรรเสรญิ บรรลมุ รรค ผล นพิ พานในอนาคตกาล สมมโนรสเจตนา คดิ ปรารถนาสงิ่ ใดทเ่ี ปน็ ไป โดยชอบประกอบดว้ ยธรรม ขอความปรารถนานัน้ ๆ จงพลนั ส�าเร็จตามประสงคจ์ า� นงหมาย แก่ญาติโยมทุกประการเทอญ รับประทานแสดงพระธรรมเทศนามาก็พอสมควรแก่เวลา ขอสมมุติยตุ ิลงคงไว้แต่เพียงเทา่ นี้ เอวัง กม็ ดี ้วยประการฉะนี้ 31

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจดั กจิ กรรมปฏิบัตธิ รรมวันธรรมสวนะวดั อมรครี ี ประธานฝา ยสงฆ์นา� พุทธศาสนกิ ชนท�าวัตรเช้า พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา พระสงฆน์ �าพุทธศาสนิกชนเจรญิ จิตภาวนา ประธานฝา ยฆราวาสและตวั แทนหนว่ ยงานถวายสงั ฆทาน ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ขา้ รว่ ม กรวดน�้า รับพร ถ่ายภาพร่วมกัน 32

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ตปพรฺ หฺมจรยิ กถา แสดงโดย พระมหาเพชร ชนาสโภ วดั สวุ รรณาราม เขตบางกอกนอ ย กรงุ เทพฯ วนั องั คารท่ี ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธสั สะ (๓ จบ) ตโป จ พฺรหมฺ จรยิ ฺ จ เอตมฺมงฺคลามุตฺตมงตฺ .ิ บัดนี้ จักได้แสดงธรรมะในหัวข้อว่า ตปพฺรหฺมจริยกถา พอเป็นเครื่องเฉลิมฉลอง ศรัทธาของท่านสาธุชนสืบไป ค�าว่า “ตบะ” ตบะนี้ หมายถึง การบ�าเพ็ญเพียรเพ่ือก�าจัด กิเลสประการแรก ประการที่สอง การข่มกิเลสโดยการทรมานตนของนักบวชในพุทธกาล ประการที่สาม เปน็ ชอ่ื ของอุโบสถกรรมทกุ ๆ วันพระ ค�าว่า ตบะน้ี จึงมคี วามหมายกว้างพอ เป็นตวั อยา่ งซกั ๓ หวั ข้อ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ โดยเฉพาะในคมั ภรี ์ทางศาสนา ทา่ นกล่าวถึง ข้อหน่ึงวา่ ตะปะสี หมายถึง คนผมู้ ตี บะ ความเพยี รเผากิเลสใหเ้ กิดบุญกศุ ลน้นั เอง ประการ ทสี่ อง คอื พฺรหฺมจริยะ หมายถึง การประพฤติพรหมจรรย์ มีความหมายอยหู่ ลายประการ คอื การครองชพี อนั ประเสรฐิ ๑ การประพฤตดิ จุ ดงั่ พระพรหม ๑ ตามทอี่ รรถกถาไดป้ ระมวล ไว้ทง้ั ๑๐ ข้อ จะได้หยบิ ยกพอเป็นเคร่ืองประคับประคองใจฉลองศรัทธาสืบไป ๑. ทานมัย บุญส�าเร็จดว้ ยการแบง่ ปนั ให้ ๒. ไวยาวัฏจักร การขวนขวายเกอ้ื กูลทา� ประโยชน์ให้ ๓. เบญจศลี การไมฆ่ ่า ไมล่ กั ทรัพย์ ไมผ่ ิดค่คู รอง ไม่พูดเท็จ ไม่เมาสุราเมรยั ก็เปน็ เบญจศลี ๔. อัปปมัญญา เม่อื มธี รรมะข้อนีก้ ็คอื มีเมตตา กรณุ า มทุ ิตา และอเุ บกขา ๕. เมถุนวิรัติ การงดเว้นธรรมของคนคู่ วันน้ีเป็นวันพระบรรดาพุทธศาสนิกชน พุทธมามกะทั้งหลายก็จะเข้าสู่วัดนุ่งขาวห่มขาวหรือว่าบวชในวันส�าคัญก็ท�าได้ ก็หมายความว่า งดเว้นเมถุนธรรมน่ันแหละ ความหมายตรงน้ีถือว่า เป็นบุญเป็นกุศล หากถามว่าบุญคืออะไร ตอบว่า บุญเป็นเครื่องช�าระกาย วาจา และใจ ให้สะอาดบริสุทธิ์ การกระท�าอันท�าให้เต็มอ่ิมสมน้�าใจท่ีนึกไว้ เรียกว่า บุญ เท่ากับบ�าเพ็ญบุญท�าบุญด้วย ความตัง้ ใจ 33

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ๖. สนั โดษ ยนิ ดีพอใจในคูค่ รองของตน ๗. วริ ิยะ ความพากเพียรการบ�าเพ็ญบุญให้เตม็ ตามโอกาส ๘. การรักษาอุโบสถ ศลี มอี งค์ ๘ ๙. อริยมรรค คือ หนทางอันประเสริฐ ได้แก่ โสดาปัตติมรรค สกิทาคามีมรรค อนาคามีมรรค และอรหันตมรรค ซ่ึงเป็นธรรมส�าคัญยิ่งในพุทธศาสนาว่า เป็นหนทาง อนั ประเสริฐของนกั บวชนักพรตทแ่ี สวงหากนั อยา่ งทวั่ ถึง ๑๐. ศาสนา คอื ค�าสง่ั สอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ สรุปยอ่ ๆ ก็ไดแ้ ก่ ไตรสกิ ขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นต้น นเ้ี ปน็ หลักธรรมของการประพฤติ พรหมจรรย์ ตามพระบาลีที่ยกข้ึนเป็นเบ้ืองต้นว่า “ตโป จ พฺรหฺมจริยฺ จ” เป็นอาทิ แปลเปน็ ใจความวา่ “ตบะกด็ ีการประพฤตอิ นั ประเสรฐิ กด็ ีเปน มงคลอนั สงู สดุ ”เปน็ แบบอยา่ ง ของพุทธศาสนิกชน ในการจบการแสดงพระธรรมเทศนานี้ อาตมาได้ชแี้ จงแสดงในหัวขอ้ วา่ ตปพรฺ หมฺ จรยิ กถา กเ็ หน็ วา่ สมควรกบั สมยั ไดเ้ วลาแหง่ เจตนาตามประสงค์ จงึ ขอสมมตุ ยิ ตุ ลิ ง คงไว้แตเ่ พยี งแค่น้ี เอวัง ก็มดี ว้ ยประการฉะนี้. 34

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจดั กิจกรรมปฏบิ ัติธรรมวนั ธรรมสวนะวดั สุวรรณาราม พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ขา้ ร่วม ฟงั พระธรรมเทศนา ประธานฝายฆราวาสถวายกณั ฑ์เทศน์ ประธานฝา ยฆราวาสและตวั แทนหนว่ ยงานถวายสงั ฆทาน ประธานฝายฆราวาสและผู้เขา้ รว่ ม กรวดน้า� รับพร ถ่ายภาพรว่ มกนั 35

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ อปั ปมาทกถา แสดงโดย พระศรภี ัททิยบดี วัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ วนั พุธที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ (๓ จบ) วยธมฺมา สงขฺ ารา อปปฺ มาเทน สมปฺ าเทถาติ. บดั นี้จกั ไดแ้ สดงพระธรรมเทศนา“อปั ปมาทกถา”พรรณนาเรอื่ ง“ความไมป่ ระมาท” เพ่ือเป็นเครื่องประดับสติปัญญา เพิ่มพูนอัปปมาทธรรม สัมมาปฏิบัติของท่านสาธุชน พุทธบรษิ ัททง้ั คฤหสั ถแ์ ละบรรพชติ ซึ่งได้ประกอบบุรพกจิ คอื กิจเบื้องตน้ แหง่ การบชู าพระ ไหว้พระรักษาศีลและได้ต้ังใจสดับพระธรรมเทศนาจนกว่าจะยุติด้วยเวลา ด�าเนินเทศน์ ตามพระพทุ ธสภุ าษติ ทอ่ี าตมภาพไดย้ กขนึ้ ไวเ้ บอ้ื งตน้ นน้ั วา่ “วะยะธมั มา สงั ขารา อปั ปะมาเทนะ สัมปาเทถะ” ซึ่งแปลเป็นใจความภาษาไทยว่า “สังขาร คือ สภาวะท่ีปจจัยปรุงแต่ง ทงั้ หลาย มคี วามเสอ่ื มสนิ้ ไปเปน ธรรมดา ทา่ นทงั้ หลาย จงยงั ประโยชนต์ นและประโยชนผ์ อู้ นื่ ให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท” หรือจะแปลว่า “ท่านทั้งหลายจงยังสัมมาปฏิบัติ คือ ความปฏิบัติชอบให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท” หรือจะแปลว่า “ท่านท้ังหลาย จงยังความไมป่ ระมาท คือ ความมีสติไมเ่ ผลอตัวลืมตนให้ถงึ พร้อม” นก้ี ็อกี นัยยะหนึง่ ญาติโยมสาธุชนทั้งหลาย ในวันนี้ อาตมภาพ จึงขอน้อมน�าหลักธรรม คือ ความไม่ประมาท ในข้อท่ีว่า “การยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อ่ืนให้ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาท” มาช้ีแจงแสดงให้ท่านท้ังหลายได้สดับตรับฟัง เพ่ือที่จะน้อมน�าไป ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ หเ้ หมาะกบั อธั ยาศยั ของแตล่ ะทา่ นแตล่ ะคน คา� วา่ “ประโยชน์ จะเปน ประโยชน์ ตนเองหรือประโยชน์ผู้อื่นก็ตาม” ท่านว่าเป็น “บัณฑิตธรรม คือ ธรรมะของบัณฑิต” ซง่ึ วา่ ดว้ ยประโยชนใ์ นปจั จบุ นั และประโยชนใ์ นภายภาคเบอ้ื งหนา้ โดยมพี ระบาลรี บั รองไวว้ า่ “ทฏิ เฐ ธมั เม จะ โย อตั โถ โย จตั โถ สมั ปะรายโิ ก อตั ถาภสิ ะมะยา ธโี ร ปณ ฑโิ ตติ ปะวจุ จะต”ิ ซง่ึ แปลความวา่ “ธรี ชน ทา่ นเรยี กวา่ เปน บณั ฑติ เพราะมายดึ ไวไ้ ดด้ ว้ ยประโยชนท์ ง้ั ๒ คอื ประโยชนใ์ นปจ จบุ ันและก็ประโยชนใ์ นอนาคต” ความจริงแล้วมนษุ ยท์ อ่ี ุบตั ิขึ้นมาในโลกน้ี ยอ่ มมพี นื้ เพจรติ อธั ยาศยั แตกตา่ งกนั ไป พระพทุ ธองค์ จงึ ทรงอปุ มาใหเ้ หน็ เปน็ เหมอื นดอกบวั 36

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ๔ เหลา่ เพราะฉะนน้ั การทพ่ี ระพทุ ธองคจ์ ะทรงสอนใหค้ นทกุ คนหลดุ พน้ จากสงั สารวฏั เกดิ แก่ เจบ็ ตาย เหมอื นกนั ทง้ั หมด จงึ ไมใ่ ชว่ สิ ยั ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ แตว่ า่ โดยเหตทุ ที่ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ มงุ่ จะชว่ ยเอาสตั วท์ อ่ี บุ ตั มิ าใหไ้ ดร้ บั ประโยชน์ ตามกา� ลงั ความสามารถของตน พระองคจ์ งึ ทรง จ�าแนกค�าสอนไวเ้ ป็น ๓ ระดบั ดว้ ยกนั คอื ๑. ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะประโยชน์ คือ ประโยชนท์ ี่บุคคลพงึ ไดใ้ นปัจจุบนั ๒. สัมปรายกิ ัตถะประโยชน์ คือ ประโยชนใ์ นภายภาคเบื้องหนา้ ซึง่ เปน็ ส่วนของ การพัฒนาจติ ใจ ๓. ปรมตั ถะประโยชน์ คอื ประโยชนอ์ ย่างย่ิงน้ัน กค็ อื มรรค ผล นิพพาน ค�าว่า “ประโยชน์” หมายถึงอะไร ประโยชน์ในที่น้ี หมายถึง ความสะดวก ความสบาย ความสขุ ประโยชนก์ บั ความสขุ ตามความหมาย กเ็ นอื่ งเกย่ี วพนั ถงึ กนั และกนั กลา่ วคอื ผมู้ คี วามสุข ความสบาย กเ็ นอ่ื งมาจากประโยชน์ หรือวา่ เนือ่ งมาจากผลประโยชนน์ ่นั แหละ ผมู้ ีผลประโยชน์ ก็ย่อมไดร้ บั ความสุข ความสบาย เรอ่ื งผลประโยชนจ์ ึงจัดว่า มคี วามส�าคัญ อย่างยิ่ง ดังนั้นแล้วบุคคลผู้มีส่วนในการจัดการประโยชน์ ไม่ว่าประโยชน์ตนหรือประโยชน์ สว่ นรวมกต็ าม ยอ่ มเปน็ ผมู้ สี ว่ นสา� คญั ในอนั ทจี่ ะสรา้ งสรรค์ ความเจรญิ มนั่ คงหรอื ความเสอื่ ม มาสู่หมู่คณะก็ได้ เพราะผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน เขาว่า แม้ศัตรูก็กลายเป็นมิตร ผขู้ ดั ผลประโยชนก์ นั แมเ้ ปน็ มติ รกก็ ลายเปน็ ศตั รกู นั ผมู้ ปี ญั ญาจงึ ควรทจี่ ะพฒั นาชวี ติ ของตน ท้ังในส่วนท่ีเป็นปัจจุบัน ท้ังในส่วนท่ีเป็นอนาคต โดยอาศัยคุณธรรมเป็นแนวก�าหนด ให้ด�าเนินตามข้อต้น ได้แก่ ประโยชน์ในชีวิตปัจจุบัน เน้นถึงการพัฒนาตนเองเป็นส�าคัญ กล่าวให้ส้ัน ๆ ก็คือ การเรียน การศึกษา การแสวงหาทรัพย์สินเงินทอง การต้ังตัว ให้เป็นหลักเป็นฐาน การเล้ียงดูบุตรหลาน ภรรยาสามี บ่าวไพร่ให้เป็นสุข ท้ังน้ีก็เพ่ือ ความอยดู่ กี นิ ดจี ะไดอ้ ยู่ไม่ร้อนนอนไม่ทกุ ข์ บุคคลจะประสบผลติ ผลดังกลา่ วได้ ทา่ นวา่ จา� ตอ้ งทอ่ งคาถาหัวใจเศรษฐีคือ “อุ อา กะ สะ” ให้ข้ึนใจให้ช�่าชองคล่องปาก ศึกษาให้เข้าใจ และเมื่อรู้ความหมายแล้ว ก็ตั้งใจ ประพฤติปฏิบัติตามด้วยดี เม่ือเป็นเช่นนี้ ความอยู่ดีกินดีก็จะบังเกิดมีอย่างแน่นอน โดยไม่ต้องสงสยั แต่ถา้ ทา่ นทั้งหลาย เพยี งสนใจทอ่ ง แตไ่ มส่ นใจทา� กจ็ ะได้แต่เพยี งความจ�า ไม่สามารถที่จะท�าให้อยู่ดีกินดีได้ ไม่มีใครจะอยู่ดีกินดีได้เพียงท่องคาถา แต่โบราณท่านให้ ภาวนาแลว้ มุ่งแนวประพฤติปฏบิ ัติเป็นสา� คญั อยา่ งค�าแรก คอื 37

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ๑. “อุ” ก็มาจากค�าว่า “อุฏฐานสัมปทา” แปลว่า ถึงพร้อมด้วยความหม่ัน “อฏุ ฐานะ” แปลวา่ การลกุ ขน้ึ ตรงกนั ขา้ มกบั การนอน “นอนนานงานนอ้ ย ใชบ้ อ่ ยจงึ หมด” การลกุ ขน้ึ ทา� การงาน กห็ มายถงึ ความหมน่ั ความขยนั กลา่ วคอื ไมเ่ กยี จครา้ น คนเกยี จครา้ น ก็คือ คนที่เอาแตน่ อน อา้ งหนาว อา้ งรอ้ น อ้างหวิ กระหาย เชา้ - สาย - บ่าย - เย็น แล้วก็ ไมย่ อมทา� งาน เขาวา่ “คนเกยี จครา้ นเกดิ มาเปน กาฝากสงั คม” ยงิ่ ถา้ เกดิ มาบนกองเงนิ กองทอง ด้วยแล้ว ย่ิงถูกความรวยความมั่งมีมอมเมาให้เพลิน อาจจะกลายเป็นคนเสียคนได้เรียกว่า เห็นงานยาก งานหนกั งานใหญ่ เป็นของเหลอื วสิ ัย แม้งานงา่ ย ๆ งานเล็ก ๆ งานนอ้ ย ๆ ก็เห็นว่า เป็นงานหนัก สุดท้ายก็กลายเป็นคนงอมืองอเท้า ไม่ท�าอะไรให้เป็นช้ินเป็นอัน เรยี กว่า ชอบแต่ความสะดวกความสบาย คอยเลี่ยงคอยหลบท่ียาก หนาวกน็ อน ร้อนกห็ นี หลบที่หนักไปหาที่เบาหวังแต่ความสุข ไม่นึกถึงความทุกข์อันจะตามมา เป็นคนชอบผล แต่เบ่ือจะกระท�าเหตุ เมื่ออยู่ในวัยที่อาศัยพ่อแม่ ก็อาศัยแบบกาฝากอาศัยต้นไม้ ธรรมดา กาฝากเพยี งแตเ่ กาะกนิ ตน้ ไม้ทอ่ี าศัยฝา ยเดยี ว ไม่หยั่งรากโอบอมุ้ ต้นไม้ทตี่ นอาศัยอยู่และไม่ ปลอ่ ยรากลงสู่พนื้ ดนิ เพ่ือทจี่ ะตงั้ ตัว เมอื่ ตน้ ไม้ทตี่ นอาศยั ตาย ตนเองกพ็ ลอยตายตามไปด้วย สว่ นคนขยนั ทา่ นจดั วา่ เปน็ คนรกั งาน ถอื งานเปน็ ชวี ติ จงึ มงุ่ มนั่ ทา� งาน สยู้ ากกอ่ นเพอ่ื งา่ ยในภายหลงั ฝาทุกข์ไปสู่ความสุขข้างหน้า กล้าต่อสู้กับอุปสรรคนานาประการ เม่ืออยู่ในวัยที่ต้องอาศัย พ่อแม่ ย่อมอาศัยอยู่ดุจไม้ไทรอาศัยไม้อื่นอยู่ ท่านว่า ธรรมดาไม้ไทรเมื่ออาศัยต้นไม้อ่ืน ก็จะพยายามหย่ังรากโอบอุ้มต้นไม้ที่ตนอาศัยอยู่ และก็จะปล่อยรากจนต้ังตัวได้ เม่ือต้นไม้ ท่ีตนอาศัยตาย แต่ตนเองหาตายตามไปไม่ คนที่มีนิสัยหมั่นขยันก็ฉันน้ันเหมือนกัน ขณะอาศัยพ่อแม่ก็เช่ือฟังต้ังอยู่ในโอวาท พยายามศึกษาเล่าเรียนและท�างานแบบว่า อยา่ งหนกั เอาเบาสู้ เพราะยดึ ภาษติ สอนใจไวว้ า่ “ปไู มม่ หี วั ตว้ มเตย้ี มมนั พาตวั ไปได้ งไู มม่ ตี นี ปา ยปนี ตน้ ไมไ้ ด้ ไกไ่ มม่ ถี นั มนั เลย้ี งลกู ใหญส่ บื พชื พนั ธใ์ุ หเ้ ราได้ คนเราทงั้ สนิ้ อยา่ หมนิ่ ลบคม ชายชาตอิ ดุ มอาจมไี ด้ บางคนยากไรเ้ มอ่ื ไดเ้ สาะหาตง้ั ตวั ไดม้ าเหน็ อยมู่ ากมาย” การทา� งาน ทกุ สาขาอาชพี ด้วยความหมน่ั ขยนั เรยี กวา่ มคี วามบากบ่นั ไม่ทอดธรุ ะเปนลักษณะของ “อ”ุ ทีเ่ รยี กว่า “อุฏฐานสัมปทา” ๒. “อา” มาจากคา� วา่ “อารกั ขสมั ปทา” แปลวา่ ถงึ พรอ้ มดว้ ยการรกั ษา ตามหลกั ทางศาสนาก�าหนดให้รักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ ไม่ใช่ว่าได้มาเท่าไรก็จ่ายไปทั้งหมด ยงั มสี �านวนพดู วา่ “รายได้ไมส่ �าคัญเท่ากับรายเหลือ บางคนมรี ายได้เปน จา� นวนมากขาด แต่ยังไม่มีส่วนเหลือ บางคนมีรายได้ไม่มากแต่ยังมีส่วนเหลือ” การที่เป็นเช่นน้ีก็เพราะ 38

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ความเป็นผู้เข้าใจในการจัดสรรปันส่วน หรือการรักษาบริหารทรัพย์สินสมบัติ การรู้จัก จัดสรรปนส่วนค�านวณรายจ่ายให้พอเหมาะพอดีกับรายรับดังท่ีกล่าวมาช่ือว่า “อา” “อารกั ขสมั ปทา” จงึ มลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กบั การสะสมดนิ ของปลวก ปลวกซงึ่ เปน็ สตั วต์ วั เลก็ ๆ สะสมดินทลี ะนิด ๆ ติดต่อกันไม่ขาดสาย ท่สี ดุ ก็กลายเป็นจอมปลวกขนาดใหญ่ แมแ้ ตช่ า้ ง กย็ งั ท�าอะไรไม่ได้ ในบทกลอนสภุ าษติ สอนหญิงเตอื นใจไวว้ า่ “มีสลึงพงึ บรรจบให้ครบบาท อยา่ ให้ขาดสิ่งของต้องประสงค”์ น้ีคอื “อารกั ขสัมปทา” ๓. “กะ” มาจากคา� ว่า “กลั ยาณมติ ตตา” คอื มคี นดีเปน มติ รสหาย มนุษย์เรานั้น จะอยู่ล�าพังคนเดียวหาได้ไม่ จ�าจะต้องร่วมกับคนอื่นในฐานะต่างกัน เช่น ร่วมความคิด รว่ มกจิ กรรม รว่ มผลประโยชน์ การรว่ มกบั คนอน่ื นน้ั สา� คญั ทสี่ ดุ กค็ อื “รว่ มความคดิ ” ถา้ รว่ ม ความคดิ กบั คนทไ่ี มด่ ี วถิ ชี วี ติ กไ็ มพ่ งึ ราบรน่ื เขา้ รกเขา้ พงเขา้ ปา ไป เมอื่ รว่ มคดิ กบั คนดวี ถิ ชี วี ติ กิจกรรมผลประโยชน์ก็พลอยดีไปด้วย การร่วมคิดกับคนชั่ว ท่านจึงอุปมาเหมือนกับ ใบไม้ หอ่ ปลาเนา่ ตามธรรมดาใบไมไ้ มม่ ปี ญั หาอะไร กลา่ วคอื ไมเ่ หมน็ แตท่ เ่ี หมน็ กเ็ พราะไปเกย่ี วพนั กับปลาเน่า ส่วนการร่วมคิดกับคนดี ก็มีอุปมาเหมือนกับ ผ้าท่ีห่อกฤษณาหรือของหอม ตามธรรมดาผ้าไม่ได้หอม แต่เพราะเก่ียวพันกับของหอม จึงพลอยหอมไปด้วย เร่ืองเพื่อน เรอื่ งมติ รนี้ จงึ มคี วามสา� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ จะทง้ิ กไ็ มไ่ ด้ จะขาดกไ็ มด่ ี เพอื่ นหรอื มติ รจงึ มอี ยู่ ๒ ประเภท ดว้ ยกนั คอื มิตรแท้กับมติ รเทยี ม หรือว่า มิตรจอมปลอม มีผลต่อความเส่อื มและความเจรญิ ของการดา� รงชวี ิต เมือ่ ไดก้ ัลยาณมิตร คือ มติ รท่ีดี ชีวิตก็ปลอดภยั ไรป้ ัญหา เมอื่ ไดม้ ติ รปฏริ ูป คอื มติ รเทยี ม ชวี ติ กซ็ บู ผอมตรมตรอม ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งเลอื กกนั เสยี กอ่ นทจี่ ะสนทิ สนมคนุ้ เคยรว่ ม ความคดิ รว่ มกจิ การงาน รว่ มผลประโยชน์ โบราณทา่ นวา่ “เพอื่ นกนิ หางา่ ยเพอ่ื นตายหายาก” “เพอื่ นกนิ สน้ิ ทรพั ยแ์ ลว้ แหนงหนี หางา่ ยหลายหมน่ื มมี ากได้ เพอื่ นตายถา่ ยแทนชวี าอาตม์ หายากฝากผไี ขย้ ากแทจ้ กั หา” เพราะฉะนน้ั ผทู้ จี่ ะคบควรพจิ ารณาใหถ้ ว้ นทวั่ อยา่ งทโ่ี บราณ ท่านกล่าวไว้ว่า “คบคนให้ดูหน้า ดูท้ังหน้านอก ดูทั้งหน้าใน ดูท้ังหน้าที่ จึงจะรู้ว่าเปน กลั ยาณมิตรท่ีแท”้ น้คี อื ค�าวา่ “กะ” “กัลยาณมติ ตตา” ๔. “สะ” มาจากค�าว่า “สมชีวิตา” คือ เล้ียงชีวิตพอสมควรแก่ก�าลังทรัพย์ ทห่ี ามาได้ ขอ้ นมี้ หี ลกั คา� สอน คอื เรอื่ งมาจากสภุ าษติ สอนหญงิ วา่ “มนี อ้ ยใชน้ อ้ ยคอ่ ยบรรจง อยา่ จา่ ยลงใหม้ ากจะยากนาน ไมค่ วรซอ้ื กอ็ ยา่ ไปพไิ ลซอื้ ใหเ้ ปน มอ้ื เปน คราวทง้ั คาวหวาน เมอื่ พอ่ แมแ่ กเ่ ฒา่ ชรากาล จงเลย้ี งทา่ นอยา่ ใหอ้ ดรนั ทดใจ” เพราะฉะนนั้ ญาตโิ ยมทง้ั หลาย เม่อื ตอ้ งการส่งิ ใด กค็ วรคา� นงึ ถึงกา� ลังทรพั ย์ ความจา� เปน็ และประโยชนจ์ ากสิง่ นัน้ ๆ ไม่ควร 39

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ทา� ในลกั ษณะทวี่ า่ “เหน็ ชา้ งขก้ี จ็ ะขเ้ี อาอยา่ งชา้ ง” ควรจะดา� รงชวี ติ ตามควรแกฐ่ านะของตน ไมใ่ หฝ้ ด เคอื งจนเกนิ ไป และกไ็ มใ่ หฟ้ มุ เฟอ ยจนเกนิ ฐานะของตนเอง เรยี กวา่ ใหร้ จู้ กั ประมาณ “มญั ตญั ตุ า สทา สาธ”ุ เพราะการรจู้ กั ประมาณใหส้ �าเรจ็ ประโยชนท์ ุกเมื่อ “ถา้ แคบนัก มักคับขยับยาก ถ้ากว้างมากไม่มีอะไรจะใส่สม ถ้าสูงนักมักจะลอยไปตามลม ถ้าต�่านัก มกั จมลงบาดาล” นค้ี อื “ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะประโยชน์ คอื ประโยชนใ์ นปจ จบุ นั ทที่ า่ นทงั้ หลาย จะต้องนา� ไปประพฤติปฏบิ ตั ใิ หไ้ ด”้ ขอ้ ตอ่ มา คอื “สมั ปรายกิ ตั ถะประโยชน์ กค็ อื ประโยชนใ์ นภายภาคหนา้ ” เมอื่ เรารู้ ประโยชนใ์ นปจั จบุ นั แลว้ เรากม็ าดปู ระโยชนใ์ นภายภาคหนา้ วา่ มอี ะไรบา้ ง คา� วา่ ภายภาคหนา้ เป็นระบบคุณธรรมที่จะอ�านวยผลสืบเน่ืองไปถึงภพหน้า ชาติหน้า คือ หมายความว่า ทรัพย์สมบัติทั้งหมด ท่ีมนุษย์ใช้ความเพียรพยายามหามาในปัจจุบันน้ัน ย่อมเป็นปัจจัย เออ้ื อา� นวยชว่ ยใหม้ คี วามสขุ ในชวี ติ ปจั จบุ นั เทา่ นนั้ เมอื่ ตายแลว้ ทกุ อยา่ งตอ้ งทอดทงิ้ ไวใ้ นโลกน้ี ไมม่ ใี ครสามารถจะนา� ตดิ ตวั ไปได้ ดงั ในคา� ทวี่ า่ “ยศและลาภหาบไปไมไ่ ดแ้ น่ มเี พยี งแตต่ น้ ทนุ บุญกุศล ทรัพย์สมบัติทิ้งไว้ให้ปวงชน แม้ร่างตนเขายังเอาไปเผาไฟ” ในการเป็นอยู่ มนุษย์ไม่ได้มีชีวิตเพียงช่วงเดียว หรือว่าชาติเดียวเท่านั้น ตราบใดที่ท่านท้ังหลายยังมีกิเลส เป็นเหตุใหท้ �ากรรม เมอ่ื ท�ากรรมแล้วกย็ ่อมไดร้ ับผลของกรรม ตอ้ งกลบั มาเวยี นวา่ ยตายเกิด เปน็ วงั วนอยใู่ นวัฏฏจักรหรือสังสารวัฏรา่� ไป โดยนยั ยะน้ี สมเด็จพระชนิ สหี ์สมั มาสัมพทุ ธเจา้ จงึ ทรงแสดง สมั ปรายกิ ตั ถะประโยชน์ ไว้ เพอ่ื ใหบ้ คุ คลไดพ้ ฒั นาชวี ติ และยกระดบั จติ ของตวั เอง ให้สูงขึ้น โดยเน้นถึงความปลอดภัยของตนเองและสังคมส่วนรวมเป็นท่ีต้ัง พระองค์ให้ ประพฤตปิ ฏบิ ัติหลกั ธรรมดังน้ี ประการแรก ก็คือ “สัทธาสัมปทา” ความถึงพร้อมด้วยศรัทธาเสียก่อน คือ ความเชอื่ ในสิ่งทคี่ วรเชอ่ื เชื่อในหลกั ๔ ประการ คอื ๑) กัมมสัทธา เช่ือในความมีอยู่ของกรรม ซ่ึงหมายถึง เจตนาท่ีบุคคลกระท�า ท้งั ดีและไมด่ ี ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ๒) วิปากสัทธา เชื่อผลของกรรม คือ บุคคลกระท�ากรรมแล้ว ผลของกรรม จะตอ้ งเกดิ ขึ้นตามสมควรแก่เหตุ ถ้าทา� เหตุดผี ลกด็ ี ทา� เหตุช่วั ผลกช็ ว่ั ๓) กมั มสั สกตาสทั ธา เชอ่ื วา่ สตั วท์ ง้ั หลายเปน ผมู้ กี รรมเปน ของ ๆ ตน ตอ้ งรบั ผล ของกรรม มกี รรมเปน็ กา� เนดิ มกี รรมเปน็ เผา่ พนั ธ์ุ มกี รรมเปน็ ทพ่ี ง่ึ อาศยั ใครทา� กรรมอนั ใดไว้ ดหี รือชั่วกต็ าม จะต้องเป็นผรู้ ับผลของกรรมนั้นอยา่ งแน่นอน 40

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ๔) ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า คือ เช่ือในภูมิปัญญา ของพระองค์ว่า ยกตัวอย่าง อย่างเร่ืองกรรมไม่ใช่เร่ืองท่ีไม่มีเหตุ ไม่มีผล องค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ตรัสไว้ ย่อมมีเหตุ มีผล อย่างแน่นอน บุคคลควรถือ เป็นจุดยืนในการพัฒนาชีวิตและยกระดับจิตให้สูงขึ้น เรียกว่า “สัทธาสัมปทา” เปน็ ประการแรก ประการที่ ๒ “สีลสัมปทา” หมายถึง ความถงึ พร้อมดว้ ยศลี ค�าวา่ “ศลี ” คือ เจตนาทง่ี ดเวน้ จากการกระทา� อนั มลี กั ษณะทา� ตนเองใหผ้ อู้ น่ื ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น กลา่ วคอื การควบคุมกาย วาจา ใหเ้ ปน็ ปกติ เพราะความปกตทิ างกาย วาจา ของตน มผี ลทา� ใหใ้ จสงบ เยอื กเยน็ ปราศจากเวร ปราศจากภยั ทง้ั ปวง รวมถงึ ความเปน็ คนมรี ะเบยี บวนิ ยั อกี ดว้ ย เรยี กวา่ มีแบบแผน แบบชีวิตท่ีถูกต้อง ความประพฤติตามท�านองคลองธรรม ท่านว่า ชีวิตมนุษย์ เปน็ อยูไ่ ดเ้ พราะสมบตั ิ แต่ความเป็นมนษุ ย์ด�าเนินอยูไ่ ดด้ ว้ ยคุณสมบตั ิ “ศีล ได้ชื่อวา่ เปน คณุ สมบตั ขิ องมนษุ ย”์ เพราะศลี รกั ษาความเปน็ มนษุ ยไ์ วไ้ ด้ หากไมม่ ศี ลี กไ็ มต่ า่ งอะไรกบั สตั ว์ ประเภทอื่น ๆ ศลี สามารถทา� ให้คนธรรมดาเปน็ พระสงฆ์ สามเณร คนมีศีลจึงเปน็ ท่ีเคารพรกั นับถือไว้วางใจ ไมก่ อ่ เวร ก่อภัย ใหแ้ กต่ นเองและผู้อ่ืนหรอื วา่ สังคม ประการที่ ๓ “จาคสัมปทา” ความถึงพร้อมด้วยจาคะ ค�าว่า “จาคะ” ในที่นี้ มงุ่ การสละวตั ถสุ งิ่ ของ อนั หมายถงึ การแสดงออกถงึ อธั ยาศยั ทโ่ี อบออ้ มอารี เออ้ื เฟอ เผอื่ แผ่ มาในแงข่ อง ไมตรีอยา่ ร้รู ้าง สรา้ งกศุ ลอยา่ รโู้ รย โดยความหมาย กค็ ือ แบง่ กันกนิ แบ่งกันใช้ เขามีเขาก็ให้เรา เรามีเราก็ให้เขา เข้าท�านองที่ว่า “ให้ท่านท่านจะให้ตอบสนอง นบท่าน ทา่ นจกั ปองนอบไหว้ รกั ทา่ นทา่ นควรครองความรกั เรานา สามสงิ่ นเ้ี วน้ ไวแ้ ตผ่ ทู้ รชน” ญาตโิ ยม ทั้งหลาย ถึงจะร่�ารวยอย่างไรก็ตาม ในโอกาสหน่ึงก็อาจจะขาดแคลนได้ การช่วยเหลือ เก้ือกูลกันจึงเป็นกุศลที่จะอ�านวยผล เป็นเกาะ เป็นท่ีพึ่ง ของตนในโอกาสต่อไป กับท้ัง ยังเป็นเหตุปัจจัยให้สร้างมิตรไมตรีในการด�ารงชีวิต เพราะในการด�ารงชีวิต มิตรไมตรี เปน็ ส่งิ ส�าคัญประการหนึง่ ประการที่ ๔ “ปญ ญาสมั ปทา” ความถงึ พรอ้ มดว้ ยปญ ญา คา� วา่ “ปญ ญา” ในทน่ี ้ี บง่ ชถี้ งึ ความรวู้ า่ อะไรเปน บาปอะไรเปน บญุ อะไรเปน คณุ อะไรเปน โทษ อะไรเปน็ ประโยชน์ ไมเ่ ป็นประโยชน์ อะไรเปน็ กุศลเปน็ อกุศล อะไรเปน็ ทางเสอื่ มอะไรเปน็ ทางเจริญ เปน็ ปัญญา ในชน้ั คมุ้ ครองรกั ษาตนเองได้ กลา่ วใหส้ นั้ ๆ กค็ อื ความรนู้ น่ั เอง ความรทู้ า่ นวา่ เปน็ แสงสวา่ ง ของชีวิต เพราะเป็นเคร่ืองอ�านวยช่วยประคองตัวให้ด�าเนินชีวิตไม่ผิดพลาด ถ้าญาติโยม 41

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ จะอปุ มากบั รถยนต์ ความรทู้ า่ นวา่ เหมอื นไฟหนา้ รถใชเ้ ปน็ แสงสวา่ งสอ่ งทางเดนิ รถ ทา� ใหร้ วู้ า่ ตรงไหนเป็นทางโค้ง ตรงไหนเป็นทางตรง ตรงไหนเปน็ ทางท่ีควรจะเลย้ี ว ตรงไหนเป็นทาง ที่ควรจะถอยของรถฉันใด ชีวิตคนก็ฉันนั้น คนจะต้องมีความรู้มีภูมิปัญญา ความรู้จะช่วย ส่องเหตุส่องผล ส่องผิดส่องถูก ส่องทิศส่องทาง จะคอยก�าจัดความมืดให้แก่ชีวิต ก็คือ ปญั ญาความรู้ การท่บี คุ คลจะบรรลผุ ลประโยชน์ดังกล่าว ดว้ ยการภาวนาคาถาหัวใจเศรษฐี อยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ หาสา� เรจ็ ประโยชนไ์ ม่ หากแตจ่ ะตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ หพ้ รอ้ มมลู บรบิ รู ณด์ ว้ ย ถึงจะอ�านวยประโยชน์ให้ส�าเร็จได้ เพราะค�าว่า สัมปทา หมายความว่า ความถึงพร้อม หรือความสมบูรณ์ จะต้องปฏิบัติ เช่น มีความหมั่นขยัน เม่ือมีความหมั่นขยันแล้ว กต็ อ้ งถงึ พรอ้ มดว้ ยการรกั ษา เมอ่ื มกี ารรกั ษาทดี่ ี กต็ อ้ งรจู้ กั คบหากลั ยาณมติ ร กค็ อื มติ รทด่ี งี าม และทส่ี า� คญั กค็ อื เลยี้ งชวี ติ ใหพ้ อเหมาะ พอควรแกท่ รพั ยส์ มบตั ทิ ห่ี ามาได้ เมอื่ พรอ้ มมลู บรบิ รู ณ์ ดว้ ยคณุ ธรรมทัง้ ๔ ขอ้ นี้ วถิ ชี ีวิตในปัจจุบัน ก็จะด�ารงมนั่ คงเปน็ หลกั ฐาน แต่การดา� รงชวี ิต ให้เป็นสุขในปัจจุบันน้ีเท่าน้ันยังไม่พอ บุคคลจะต้องประกอบสร้างสรรค์ชีวิตให้มีค่า พฒั นาตนเองให้สูงส่งขนึ้ ไปอีกดว้ ย การบา� เพ็ญประโยชน์ในภายภาคหนา้ เพือ่ พฒั นาตนเอง และสงั คม อบรมจติ ของตนใหส้ มบรู ณด์ ว้ ยศรทั ธา ความเชอ่ื ความเลอื่ มใส ในพระพทุ ธศาสนา รจู้ กั ใหท้ านรกั ษาศลี เจรญิ ภาวนาตามหลกั บญุ กริ ยิ าวตั ถุมพี สั ดสุ งิ่ ของตอ้ งรจู้ กั จา� แนกแจกจา่ ย ท�าลายความตระหน่ีถี่เหนียว ไม่เห็นแก่ได้ถ่ายเดียว ต้องแลเหลียวถึงส่วนรวม เรียกว่า “มีความรู้ท่วมหัวต้องช่วยตัวเองและสังคมให้อยู่รอดปลอดภัย” ไม่ควรใช้ความรู้ ให้เป็นอันตรายแก่ตนเองและส่วนรวม ผู้ประกอบด้วยความหมั่นขยัน การรู้จักรักษา คบหากลั ยาณมติ ร เลยี้ งชวี ติ พอประมาณ มศี รทั ธารกั ษาศลี ยนิ ดใี นการสละทานและสมบรู ณ์ ด้วยความรู้ดังกล่าวมา ในทางพระพุทธศาสนา ท่านให้สมญาว่า “บัณฑิต” ผู้ด�าเนินชีวิต ด้วยปญญา และท่ีสา� คัญ ก็คือ ด�าเนนิ ชีวติ ด้วยความไมป่ ระมาท ไม่พล้ังเผลอ มีสติรอบคอบ ทกุ หน้าทก่ี ารงาน กิจท่ที �า คา� ทีพ่ ูด ความสขุ ความเจรญิ ยอ่ มจะเกดิ ขึน้ แกส่ งั คมโดยแน่นอน แสดงพระธรรมเทศนา อปั ปมาทกถา วา่ ดว้ ยการทา� ประโยชนต์ นเองและประโยชน์ ผู้อ่ืนให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท ก็พอสมควรแก่เวลา จึงขอสมมุติยุติลงคงไว้แต่เพียง เทา่ น้ี เอวัง กม็ ีด้วยประการฉะน้ี 42

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ ภาพการจัดกจิ กรรมปฏบิ ตั ธิ รรมวนั ธรรมสวนะวัดชนะสงคราม พระประธานภายในพระอโุ บสถวัดชนะสงคราม ประธานฝายฆราวาสจดุ ธปู เทยี นบชู าพระรตั นตรัย ประธานฝา ยสงฆ์นา� พทุ ธศาสนิกชนทา� วตั รเช้า ประธานฝา ยฆราวาสและผเู้ ข้ารว่ ม ร่วมกันทา� วัตรเช้า ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ร่วมกนั ท�าวตั รเชา้ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ร่วมกันท�าวัตรเชา้ 43

ธรรมะจากธรรมาสน เลม ๓ นางวสิ าขากถา แสดงโดย พระราชธีรคณุ วัดสระเกศ เขตปอ มปราบศัตรพู าย กรงุ เทพฯ วันองั คารท่ี ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ (๓ จบ) ยถาป ปุปฺผราสมิ หฺ า กยริ า มาลาคเุ ณ พหู เอวํ ชาเตน มจเฺ จน กตฺตพฺพํ กสุ ลํ พหนุ ตฺ ิ ฯ บดั นี้ จดั แสดงพระธรรมเทศนาพรรณนาเรอื่ ง “นางวสิ าขามหาอบุ าสกิ า” เพอื่ เปน็ เครอื่ งประคบั ประคองฉลองศรทั ธา ประดบั ปญั ญาบารมี เพม่ิ พนู กศุ ลบญุ ราศี แกท่ า่ นสาธชุ น พทุ ธบริษทั ทัง้ หลาย วันนี้เป็นวันพระ แรม ๑๔ ค่�า เดือน ๕ พุทธบริษัทท้ังหลายได้เข้าวัดเพื่อบ�าเพ็ญ บุญกุศลเป็นประจ�าทุกวันพระ การปฏิบัติเช่นนี้เป็นการรักษาดีเดิมและเพ่ิมเติมดีใหม่ การรกั ษาดเี ดมิ หมายความวา่ ความดอี นั เปน็ พนื้ ฐานนนั้ มอี ยแู่ ลว้ ในจรติ อธั ยาศยั เรามารกั ษาไว้ และในขณะเดยี วกนั กเ็ พม่ิ เตมิ ดใี หม่ ๆ ใหแ้ กช่ วี ติ ไมว่ า่ จะเปน็ ทาน ศลี ภาวนา อนั เปน็ บนั ได ไต่ไปสวรรค์ หรอื ศีล สมาธิ ปัญญา อนั เปน็ บนั ไดไตใ่ ห้ถึงซงึ่ พระนพิ พาน เราทา่ นทง้ั หลาย ได้มาเข้าวัด ถามว่า เข้าวัดมาวดั อะไร เฉลยวา่ วดั ๕ วดั คอื ๑. วัดศรัทธา ๒. วดั สามารถ ๓. วดั บารมี ๔. วดั ศกั ดิศ์ รี ๕. วดั ศกั ดส์ิ ิทธิ์ ๑.วัดศรัทธา เป็นการวัดความเชื่อมั่น ความเลื่อมใส ในพระรัตนตรัยของ เหล่าพุทธบริษัทว่า ศรัทธายังต้ังม่ันหรือศรัทธาเร่ิมคลอนแคลน เป็นศรัทธาเลอะเทอะ หรอื เปน็ ศรทั ธายกระดบั หรอื เปน็ ศรทั ธาตกระดบั ศรทั ธายกระดบั นนั้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวแ้ ลว้ “สทธฺ า สาธุ ปตฏิ ติ า” ศรทั ธาตง้ั มน่ั แลว้ ยงั ประโยชนใ์ หส้ า� เรจ็ คอื มคี วามเชอื่ มน่ั วา่ ทา� ดไี ดด้ ี ท�าไม่ดีได้ไม่ดี นรกสวรรค์มีจริง นิพพานมีจริง แม้ใครจะมาชักน�าให้เราไข้วเขวไปทางใด เราก็ไม่ไขว้เขว มีความเช่ือมั่น อย่างน้ีเรียกว่า ศรัทธายกระดับและศรัทธาติดระดับ ไม่ใช่ศรทั ธาตกระดบั บางทา่ นพอมีขา่ วอะไรชวนใหไ้ ขว้เขวนิดหนอ่ ย เลกิ นบั ถือ เลกิ เล่อื มใส เลิกศรทั ธา อย่างนี้เรียกวา่ ศรัทธาตกระดบั 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook