101 มอื ซ้อนกันก็ร้สู กึ อนุ่ ดี แตถ่ ้าหนา้ รอ้ น จะรสู้ กึ วา่ อากาศถ่ายเทดีไมค่ อ่ ยอดึ อดั ดทู ค่ี วามเหมาะสม ในชว่ งทเ่ี ราสภาวะนน้ั ๆอยา่ งเวลานง่ั บางคนกข็ วาทบั ซา้ ย เพราะเคยฝึกอยูบ่ ่อยหรือจะนง่ั แบบเรยี งขากถ็ อื ว่า น่งั ไดเ้ หมอื นกันอยูต่ ลอด ระยะเวลาทนี่ ่ัง อยา่ งเวลานงั่ แลว้ มีพองยบุ เราดพู องยุบ หรือดอู าการพองยุบ เรากต็ อ้ งร้สู กึ วา่ พองยบุ ตลอด หรือไม่มีพองมียุบ เรากำ� หนดนงั่ ก�ำหนดถูกก็ จะรตู้ วั วา่ เรานงั่ อยู่ แลว้ กน้ ยอ้ ยของเราทง้ั สอง คอื ถกู พนื้ บางครง้ั ลกั ษณะของ การถกู ไมใ่ ชถ่ กู หนอเฉยๆนะ บางครงั้ รสู้ กึ มนั ออ่ น มนั นม่ิ ตรงทถี่ กู อาการพวก นี้เราจบั ได้ พอจบั ไดด้ ี รายละเอยี ดพวกนี้มนั ไมท่ �ำให้จติ ส่งออกนอก ก็จะอยู่ กบั อาการเหล่าน้ี หรอื บางครง้ั อาการอุ่นๆร้อนๆเย็นๆที่ก้นยอ้ ย ทีเ่ รานง่ั ทีถ่ กู พนื้ กม็ ี อนั นคี้ ือรายละเอยี ดเวลาท่ีเราน่ังหนอ ถูกหนอ แทนพอง แทนยบุ ถ้า พองยบุ ไม่ปรากฏ อนั น้ีวิธหี นึง่ ทีนบ้ี างผู้ บางคน อาจจะเรียกวา่ พอนงั่ ไปแล้ว มนั ชอบคิดไปก่อน บางคนก็พอน่ังไม่อยกู่ บั พองกบั ยุบ ไปคดิ พอมันไปคดิ จะ ท�ำอย่างไรดี จะก�ำหนด พองยุบหรือ ก�ำหนดความคิดดี ถ้าบอกว่าอารมณ์ ไหนชัดเจน ก็ต้องก�ำหนด บางคนก็ไปก�ำหนดความคิด ถ้าเราไปเร่ิมต้นใหม่ กำ� หนดอารมณห์ ลกั กอ่ น จะดแี ตถ่ า้ กำ� หนดความคดิ กอ่ น ไดม้ ยั๊ ได้ ไมถ่ อื วา่ ผดิ แต่ถา้ จะใหจ้ ิตต้งั มั่นได้ดี หนอ่ ยหนงึ่ จบั หลักให้ได้กอ่ น นั่งหนอถูกหนอ พอง หนอยุบหนอ ถ้าใส่หนอได้ก็ใส่ ถ้าใส่ไม่ได้ก็ไม่ต้องใส่ แล้วทีนี้ถ้าเกิดมีความ คดิ แทรก จรเข้ามา ก�ำหนดไดแ้ ลว้ ทีนี้ พอจับหลักได้มนั่ คง อารมณท์ จี่ รเขา้
102 มากำ� หนดได้สบาย คิดหนอ คิดหนอ หรืออาจจะมฐี านอนื่ มีเวทนา เกดิ ข้ึน เราก็อาจจะกำ� หนด สุขหนอ ทุกข์หนอ เจ็บหนอ ปวดหนอ หรอื เฉยหนอ น่งิ หนอ ตามความรสู้ กึ ของเราใหท้ นั ถา้ เราตามความรสู้ กึ อาการเหลา่ นท้ี นั เราก็ จะเห็นความดบั หรอื ความขาดไป ของความรู้สกึ นกึ คดิ หรือความจำ� อารมณ์ ตา่ งๆที่มันมีหนา้ ทรี่ ู้ หนา้ ท่จี ำ� หน้าที่คิด หน้าท่สี ง่ั สม หน้าท่ีรับ หนา้ ทต่ี ดั สิน จติ มันก็จะรสู้ ภาพเหลา่ น้ีตามความเปน็ จรงิ
ถ้าเราตามความรู้สกึ อาการเหลา่ 103 น้ที ัน เรากจ็ ะเห็นความดบั หรือ ความขาดไปของความรู้สกึ นกึ คิด { }หรอื ความจำ� อารมณต์ ่างๆ
104 กำ� หนดแตล่ ะคร้ังยับยัง้ กเิ ลส การกำ� หนดรแู้ ตล่ ะครงั้ บางคนกลวั วา่ จะมสี มาธมิ ย๊ั จรงิ ๆสมาธนิ ะ่ มี ทกุ ครง้ั ทโ่ี ยคาวจร หรอื โยคผี เู้ ขา้ ปฏบิ ตั ิ ตง้ั สตกิ ำ� หนด สมาธมิ ี เรยี กวา่ วริ ยิ ะมี สติ มี สมาธิมี สมั ปชญั ญะมี องค์ของสติปัฏฐานท้งั ๔ สมาธริ ะดับไหน เปน็ สมาธิ ระดบั ขณกิ สมาธิ สมาธชิ วั่ ขณะมกี ำ� ลงั มากมย๊ั มกี ำ� ลงั ไมม่ าก เมอ่ื กำ� ลงั ไมม่ าก กเ็ ตรยี มกำ� หนดแลว้ กำ� หนดอกี เตรยี มระลกึ รใู้ หก้ ำ� หนดตอ่ เนอ่ื ง จงึ จะไมม่ ชี อ่ ง วา่ งหรอื ชอ่ งโหว่ เมอ่ื ไมเ่ กดิ ชอ่ งวา่ ง ชอ่ งโหว่ อารมณแ์ ทรกหรอื อารมณจ์ รกจ็ ะ ไมผ่ ดุ ขนึ้ มา เรากจ็ ะเหมอื นจติ มนั ไมไ่ ปไหน มนั กอ็ ยกู่ บั รปู นาม ทกี่ �ำลงั เกดิ ดบั ขอ้ ดขี อขณกิ สมาธคิ อื ไมล่ กึ เกนิ ไมเ่ ฉยเกนิ ไมน่ งิ่ เกนิ อยลู่ กั ษณะพอดที เี่ ราจะ รบั รสู้ ภาพทแ่ี ทจ้ รงิ ของรปู นาม ของสงั ขาร ทปี่ รงุ แตง่ ไปเรอื่ ย เราจะเหน็ ความ เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา เมอื่ เหน็ ความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทำ� ให้โยคหี รือ โยคาวจร ผู้เข้าปฏิบตั คิ ลายจากความยดึ พอเห็นด้วยปัญญาแลว้ วา่ ส่ิงทเี่ รารู้ อยู่ เห็นอยู่ กำ� หนดอยู่ หรือแยบคายอยู่ เปน็ สิ่งทีไ่ ม่เท่ียง มันเปน็ ทกุ ข์ คือทน อยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ มันเป็นอนตั ตา คือบงั คับบัญชาไมไ่ ด้ นั่นคือสภาพท่ีแท้ จริงทีเ่ ราเห็น เห็นบอ่ ยๆเขา้ บอ่ ยๆเขา้ จติ มันกเ็ ฉยๆแล้ว มันเฉยๆ เกิดความ ร้สู ึกไม่ยนิ ดยี ินรา้ ย ทีม่ ันจะฟุ้งไปเร่อื งนัน้ น้ี มันก็ไม่คดิ ไม่ปรงุ ไมแ่ ตง่ เพราะ มนั เห็นความจริงแล้วเกิดแลว้ กด็ ับ มีแลว้ ก็หายไป มีแล้วก็เส่ือมไป ไม่เหน็ มี อะไร นอกจากความเกดิ และความดับ จติ มันเกดิ ปญั ญาขนึ้ มา พอเกิดปัญญา ก็ละวางการยึดมั่นถือม่ันในความเป็นอะไรบ้าง บางคร้ังเราก็ยึดม่ันในความ
105 เป็นคน เปน็ สตั ว์ ในความเป็นอัตตาบ้าง ถอนทา่ นบอกวา่ ถอนสักกายทิฏฐิ สตั ตปู ลทั ธิ หรอื ถอนสมมตุ บิ ญั ญัตทิ ี่มี เพราะส่งิ ทเ่ี ราเหน็ น้ันเป็นเพยี งรูปกับ นาม กายกับใจ หรอื เป็นเพยี งธาตุขันธ์ อายตนะที่อาศัยกนั เกิดขน้ึ ตัง้ อยู่ แลว้ กเ็ สอื่ มไป เปน็ แบบนตี้ ลอดเวลา เราจะหลบั หรอื ตนื่ ถา้ รปู นามมอี ยกู่ เ็ ปน็ แบบ นตี้ ลอด เรยี กวา่ สงบ สงบแบบปญั ญานำ� คอื ปญั ญาทเี หน็ สภาพตามความเปน็ จรงิ แลว้ สมาธิกต็ ามมาดว้ ย ทุกครั้งที่มีปญั ญา มีสติ สมาธกิ ต็ ามมาด้วย พอ เห็นตามความเปน็ จริงแล้วก็คลายความยดึ มน่ั ถือมน่ั ด้นิ รน ถา้ เห็นจรงิ เห็น แจง้ เหน็ ประจกั ษใ์ นอรยิ ะทง้ั ๔ กย็ ง่ิ เหน็ สงั โยชน์ ตา่ งๆไดต้ ามลำ� ดบั อยา่ งเหน็ ทกุ ข์ เรากำ� หนด เราเหน็ แลว้ เรากก็ ำ� หนดรทู้ กุ ข์ กำ� หนดแตล่ ะครงั้ คอื รทู้ กุ ขน์ ะ มนั เปน็ ผลไปแล้ว มันปรากฏแลว้ หนา้ ทีเ่ ราคอื ก�ำหนดตามทเี่ ป็น ไมใ่ ช่เราจะ ไปออกแบบมนั ไม่ใชจ่ ะไปบังคบั ให้เป็นไปตามอำ� นาจของเรา บังคับข่เู ข็นให้ เป็นไปตามเราไมไ่ ด้ อนั นี้คอื ส่ิงหนง่ึ เมือ่ รูปหรือนามท่ีปรากฏก็คอื เรากำ� หนด รู้ทุกข์ ก�ำหนดพองยุบ ก�ำหนดชาเหน็บเจ็บปวด ก�ำหนดคิดหนอๆ ก�ำหนด เห็นหนอๆๆ ได้ยินหนอๆๆ กล่ินหนอ รสหนอ ถูกหนอ เย็นร้อนอ่อนแข็ง เป็นต้น ก็ชอ่ื วา่ ก�ำหนดรทู้ ุกข์ กำ� หนดละ กำ� หนดแต่ละครงั้ ช่ือว่าก�ำหนดละ ด้วย ละอะไรละเหตุที่เกดิ ทุกข์ เมือ่ เรามสี ติเรากจ็ ะละสาเหตุทท่ี ำ� ใหเ้ กิดทุกข์ สาเหตุท่ีพระพุทธเจ้ากำ� หนดไวม้ ี ๓ อยา่ ง คือตัณหา สาม ตัณหาสามอยา่ งคอื กามตัณหา ภวตณั หา วิภาวตัณหา ก�ำหนดแต่ละครัง้ กำ� หนดละ อยา่ งความ
106 ใคร่ ความพอใจ ความติดใจในรูปเสียงกลนิ่ รส ในการสมั ผัสถกู ต้อง เรยี กว่า กามคณุ อารมณ์ มันเปน็ เหมือนกบั บ่วงของมาร ท่จี ะครอง คล้องใจเราไว้ ให้ ตดิ ยึดกับรูปเสียงกล่นิ รสเหลา่ นน้ั มนั คล้องเอาไว้ ทนี เี้ มอื่ เรากำ� หนดกเ็ หมือน กบั เม่ือเรามีสติ สมาธิ สัมปชญั ญะ มปี ญั ญา มคี วามเพยี ร มสี ติสมาธปิ ญั ญา เม่ือองคแ์ ห่งสตปิ ฏั ฐาน ๔ เข้ามาแทนท่ี เมอ่ื เราก�ำหนดไปปุ๊บ ก็ละได้ทันที
107 ชว่ั ขณะนนั้ แหละ่ แตถ่ า้ เราเผลอไมก่ ำ� หนดไมแ่ ยบคายมนั กม็ าอกี กส็ ลบั ไปมา แบบนี้ สลับกันไปวนิ าทีนีท้ ัน วนิ าทีตอ่ ไปไมท่ นั สลบั ไปมา
108 ความอยากละไมย่ าก หากกำ� หนดรู้ การก�ำหนดละภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากส�ำเร็จ เรอื่ งนัน้ เร่ืองน้ี ความอยากมีอยากเปน็ กเ็ ปน็ เหตุใหเ้ กิดทุกข์ โดยเฉพาะทุกข์ ทางใจเพราะความอยากมี มนั ทุกขใ์ จเวลาทีเ่ ราอยากมแี ล้วมนั ไมเ่ ป็น มันไมม่ ี ไม่เป็น อันน้ี ทุกข์เพราะอยากมีอยากเป็นก็พัฒนาไปเร่ือยๆเม่ือเป็นแล้วมัน กอ็ ยากมอี ยากเปน็ อยากให้มนั สูงขน้ึ ถ้าเปน็ ใจก็อยากให้สขุ มากขน้ึ ถา้ เป็น หนา้ ทก่ี ารงานกอ็ ยากเจรญิ ใหม้ ยี ง่ิ ขนึ้ ไมม่ จี ดุ จบ มนั กท็ ะเยอทะยานอยากขนึ้ ไปเรื่อยๆ หรือเป็นเทวดาช้ันต�่ำก็อยากเป็นเทวดาช้ันสูง จากเทวดาก็อยาก เปน็ พรหม ไปเรอื่ ยๆ ไมม่ ีจดุ จบ อันน้คี อื ความทะยานอยาก ถ้าอยากมี อยาก เปน็ หรอื มแี ลว้ เปน็ แลว้ มนั ไมจ่ บ ทนี กี้ ารกำ� หนดแตล่ ะครงั้ ชว่ ยละความรสู้ กึ ท่ี มีความทะเยอทะยานอยากแบบน้ี ทม่ี ีคือละตัณหา ตณั หา ๓ ละกามตัณหา ภวตัณหา วภิ วตัณหา บางครัง้ ในชีวิตประจ�ำวัน เราอยากมีข้าวของ เครือ่ งใช้ มแี ลว้ เปน็ แลว้ กอ็ ยากไดอ้ กี มนั กไ็ มจ่ บ เปน็ ไดห้ ลายอยา่ ง มนั เชอื่ มโยงกนั หมด ตณั หา อนั นเ้ี ปน็ สาเหตขุ องความทกุ ข์ ของความเครยี ด ของความเจบ็ ปว่ ยทาง จติ ใจ ของคนยคุ สมยั ทเี่ รยี กวา่ เทคโนโลยมี นั เจรญิ แตก่ เิ ลสไมไ่ ดล้ ดลง มนั กย็ งั มี ความทะเยอทะยานเรอื่ ยๆขนึ้ ไป ตวั ที่ ๓ กค็ อื วภิ วตณั หา ความทะเยอทะยาน เปน็ ประเภททไ่ี มอ่ ยากมี ไมอ่ ยากเปน็ อยากมกี เ็ ปน็ ทกุ ข์ ไมอ่ ยากมกี เ็ ปน็ ทกุ ข์ อีก มีแล้วไม่อยากมีก็เป็นทุกข์ เราไม่อยากเกิดก็ใช่ว่าเราจะไม่ทุกข์นะ มันก็ ทุกขไ์ ม่อยากเกิดอีก ไมอ่ ยากมีอีกแลว้ มีแล้วเป็นภาระ จะสลัดมนั ออกกย็ าก
109 กเ็ ปน็ ทุกขอ์ กี ไมไ่ ดง้ ่ายเลย จะสลดั สละออก ทำ� ใหท้ กุ ข์ ความทะเยอทะยาน ความอยากมีก็อยากมีแต่พอมีแล้วก็อยากจะสลัดท้ิง อยากจะสลัดออกให้ได้ เคา้ เรยี กว่า ปฏินสิ สัคคะ สลดั มันออก มันก็ไมย่ อมออก สลัดคืนมันไปซะ ให้ มันไปอยู่ในท่เี ดมิ มนั สลดั ไม่ได้งา่ ย นี่คือวภิ วตณั หา บางคนบอกวา่ ปรารถนา นพิ พานนะ่ เปน็ หรอื เปลา่ ถา้ มนั เกดิ อยากเกนิ เหตมุ นั กท็ กุ ขเ์ หมอื นกนั มนั เกนิ พอดี แต่ถ้าท�ำให้มันเป็น มัชฌิมาปฏิปทา มีหน้าท่ีละมันไป ละความอยาก อยากไปนิพพานก็พยายามอยากถึง อยากได้ อยากไป อยากพบ อยากเจอ นิพพานลบอยากออกนะ ถ้าลบอยากออก พอตัวอยากมาก็ลบ พอก�ำหนด มันละตัวอยากออก พออยากออกตัวน้ันถูกละไป ก็ได้นิพพาน พบนิพพาน เจอนพิ พานแลว้ มันอยใู่ กลๆ้ นี่แหละ มันไม่ได้อยไู่ กล พอเรากำ� หนดทนั มันก็ ใกลไ้ ปเรอื่ ย เหมอื นทกุ กา้ วทกี่ า้ วไป มนั ไปเพอื่ พบเพอื่ เจอเพอ่ื ถงึ เพอื่ ไดส้ มั ผสั นพิ พาน แตถ่ า้ อยาก มนั จะมแี ตอ่ ยากมนั ไมถ่ งึ กเ็ ลยทะเยอทะยานอยาก ไมไ่ ด้ อยูด่ ้วยปัญญานะ ไม่ไดล้ ะแตม่ นั เป็นความอยากอีกอยา่ งหน่ึง อยากอยู่เฉยๆ นงิ่ ๆ มันเป็นตัณหา โมหะ ความหลง ถา้ เป็นแบบนั้น พวกสัตวป์ ระเภทต่างๆ มนั ไมไ่ ดท้ ะเยอทะยานอยากกบั มนษุ ยม์ นา มนั แสดงวา่ มนั ตอ้ งหานพิ พานเจอ แน่ มนั ตอ้ งพบนพิ พานกอ่ นเรา หรอื ไปกอ่ นเรา ขนาดเราพยายามแลว้ พยายาม อีก ยังไมไ่ ดพ้ บไดเ้ จอ ยงั ไม่ถึง แตท่ ุกยา่ งกา้ วทุกขณะท่ีเรากำ� หนดเป็นไปเพ่ือ นพิ พานอยแู่ ลว้ แตก่ ำ� หนดแตล่ ะครง้ั เพอ่ื ละตณั หาทงั้ ๓ ทเี่ ปน็ เหตแุ หง่ ทกุ ขท์ ่ี
110 เรียกวา่ สมทุ ัย การก�ำหนดทกุ ข์ ถ้าคนปฏิบตั ิสายหนอ แต่ละหนอ กเ็ หมือน กบั ละตณั หา ๓ ถ้ากำ� หนดทันหนอนะ ถา้ เลยหนอก็เป็นสัตว์ เปน็ เรา เปน็ เขา เปน็ บุคคล เปน็ ตัวกูของกู เยอะแยะไปหมด ถ้าจบแคห่ นอ กแ็ คน่ ้นั แตถ่ ้าเลย หนอกอ็ หงั การ มมงั การ ตวั กขู องกมู าทนั ที ทนี กี้ ำ� หนดแตล่ ะครง้ั เปน็ ไปเพอ่ื ทำ� จะบอกวา่ เปน็ นพิ พานใหแ้ จง้ นโิ รธเปน็ ไปเพอ่ื ทำ� นโิ รธใหแ้ จง้ ฉะนน้ั คนทบี่ วช มาในพระพทุ ธศาสนา บวชเพอื่ หานพิ พาน หรอื เพอื่ ทำ� พระนพิ พานใหแ้ จง้ การ ก�ำหนดแต่ละคร้ังจะต้องมีสติ ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานหรือผู้เจริญสติปัฏ ฐานจงึ จะเป็นไปเพอ่ื นิโรธ ถา้ เราแยกนโิ รธ มันมีนิโรธทเ่ี ป็นโลกยี ะ แต่เปน็ ไป เพอ่ื โลกตุ ระนะ ถา้ ตทงั คนโิ รธ เรากำ� หนดแตล่ ะครงั้ กอ่ ใหเ้ กดิ ตทงั คนโิ รธ ทำ� ให้ นโิ รธนแี้ จง้ หรอื กเิ ลสตณั หามนั ดบั มนั ดบั ไป ชว้ั ขณะทเ่ี รากำ� หนดอยู่ ถา้ เราไม่ กำ� หนดมนั กก็ ลบั มาใหม่ พอกำ� หนดทนั กห็ ายไป พอเผลอกม็ าใหม่ เปน็ แบบนี้ ตลอด สลบั ไปมา แตถ่ า้ เรากำ� หนดตอ่ เนอ่ื งแตล่ ะขณะ เปน็ ตทงั คนโิ รธ เมอื จติ มสี มาธมิ ากขนึ้ เปน็ วกิ ขมั ภนนโิ รธ คอื ขม่ ไว้ หรอื สกดั ไวไ้ ดน้ านขน้ึ ถา้ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั ิ คือเอาสมาธนิ ำ� หรือวิปสั สนาตามหลงั กเ็ หมอื นกับได้ฌาน หรอื ขม่ ด้วยกำ� ลงั ฌาน ก�ำลงั สมาบัติ ข่มไว้กบั กำ� ลงั สมาธิ แตส่ ำ� หรบั ผู้ทวี่ ปิ ัสสนานำ� สมาธิตาม เหมือนกันวา่ ละไดด้ ้วยปัญญา ปญั ญาที่เห็นรูปนามตามความเป็นจริงแล้วทำ� ตอ่ เนอื่ ง เหมอื นกนั สกดั กนั้ ไวไ้ ดน้ านจนกเิ ลสสงบราบคาบไป มนั ไมฟ่ ู ไมฟ่ ขู นึ้ มา หรอื บางคนออกจากกรรมฐานกย็ งั ไมร่ สู้ กึ ยนิ ดยี นิ รา้ ย จติ ใจตนเองเหมอื น
111 กบั คนทไ่ี มม่ กี เิ ลสแลว้ กม็ ี บางคนกเ็ ขา้ ใจแบบนนั้ วา่ เราหมดกเิ ลสแบบนน้ั เมอื่ กระทบแลว้ ไม่รู้สึก ชอบชังหลงไปกับส่ิงนั้นสิ่งน้ี บางคนบอกวา่ ดูหนังละครก็ รู้สึกเฉยๆเม่ือก่อนอินตาม คิดไปก่อน ตอนน้ีดูไปแล้วก็อย่างนั้นๆหรือดูชีวิต แต่ละคนก็รสู้ กึ ว่า จะมกี เิ ลสไปทำ� ไม คนเราเกิดมามีรปู นาม ไม่รจู้ ะแก่งแยง่ ไปทำ� ไม จติ เหมือนมเี มตตากรณุ า มีมทุ ติ า อเุ บกขาคอื วางเฉยไม่ยนิ ดียนิ ร้าย มีหิริ โอตตัปปะ มีคุณธรรมเกิดขึ้นมากมาย จนบางคร้ังผู้ปฏิบัติสงสัยว่าเรา บรรลุหรอื ยัง เพราะภาวะทางจติ ใจไม่เคยเอบิ อ่ิม หรือเตมิ เตม็ ไปขณะน้ี ซึง่ ผู้ ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากำ� หนดตอ่ เนอื่ งแลว้ ความรสู้ กึ แบบนมี้ นั มี มนั มมี าชว่ งสนั้ บา้ ง ยาวบา้ ง บางคนสภาวะแบบนอี้ ยหู่ ลายเดอื น หรอื บางคนอยเู่ ปน็ ปี หรอื หลาย ปี จนเขา้ ใจวา่ ตนเองบรรลุธรรมข้ันสงู สดุ แล้ว
112
ทุกกา้ วทกี่ ้าวไป มันไปเพ่อื 113 พบเพอ่ื เจอเพื่อถงึ เพ่ือได้ สมั ผัสนิพพาน แตถ่ า้ อยาก { }มนั จะมีแต่อยาก มนั ไม่ถงึ
114 ระวงั กิเลสจะเล่นซอ่ นหา คนบางคนพอถกู ด่าจงั ๆ กิเลสถงึ โผล่ เหมอื นที่เคยพดู ให้ฟงั มโี ยมผู้ หญิงคนหนง่ึ แกปฏิบตั นิ าน มา ๓๐ - ๔๐ ปี ปฏบิ ตั ิมาตั้งแต่เด็ก เข้าวัดปฏิบตั ิ ตามยายเข้าวดั พอโตมาเปน็ หนมุ่ สาวก็ยังปฏิบัตอิ ยู่ มีครอบครัวก็ตาม ตอนนี้ เหมือนกบั วา่ ว่างเวน้ จากครอบครัวแล้วมาปฏบิ ตั ิ แล้วก็คิดว่าตนเอง ปฏบิ ัติ อะไรๆ กว็ างไดห้ มดแลว้ สามลี กู เตา้ ทรพั ยส์ นิ แกว้ แหวนเงนิ ทอง จติ ใจไมย่ นิ ดี ยนิ รา้ ย ไมส่ นใจอะไร ทนี พ้ี อไปเจอพระลองของ พระกเ็ ลยทดสอบแกกน็ บั ถอื พระรปู นน้ั แตไ่ มค่ ดิ วา่ พระรปู นน้ั จะพดู แบบนนั้ แกกเ็ ลา่ สภาวะทกุ อยา่ งพดู ไป เรอื่ ย เปน็ ชัว่ โมง แกกพ็ ดู อยคู่ นเดยี ว พระก็นง่ั ฟัง พระก็พูดวา่ “อตี อแหล” เทา่ นนั้ แหล่ะ ลกุ ขนึ้ ทนั ทเ่ี ลย ไมร่ วู้ า่ ตวั เองช้หี นา้ พระต้งั แตเ่ ม่ือไหร่ ถึงไดร้ ้วู า่ กเิ ลสซ่อนอยูน่ านแลว้ ถ้าคนไมม่ ปี ัญญากจ็ บเกมสเ์ ลยแพ้ คยุ ต้ังแต่ หลายปี ซอ่ นตรงไหนกเิ ลส อนั นเ้ี ปน็ วกิ ขมั ภนนโิ รธ ดบั ไปแบบโลกยี ะอยู่ เปน็ ประเภท ท�ำนิโรธให้แจ้ง ท�ำนิพพานให้แจ้งยังไม่ถึงที่สุด กิเลสหลบไปเท่าน้ันเอง ทีนี้ นโิ รธทเี่ ป็นโลกุตระ เรียกวา่ สมุจเฉทนโิ รธ คือ ดับไปโดยเด็ดขาด ทำ� ใหแ้ จ้ง โดยเดด็ ขาด ต้งั แต่โสดาบัน โสดาปตั ติมรรคเกิดข้นึ ตดั เลย ทำ� ใหแ้ จ้ง แล้วก็ เปน็ สกทาคามี เป็นอนาคามี เป็นพระอรหนั ต์ อันนขี้ ้ันโลกตุ ระแลว้ ถา้ ดบั ได้
115 หรอื ตัดได้ ไม่เกดิ อีกนะ ถึงแม้จะพูดยังไงก็ไมส่ ามารถท�ำใหเ้ กิดไดอ้ กี แลว้ จะ หลอกลอ่ ยังไงก็ยัง มนั ไม่เกดิ อกี หลวงพ่ออาสภะทา่ นบอกว่า อุปมาอุปไมย เหมอื นกบั วา่ กเิ ลสทล่ี ะไดแ้ ลว้ เหมอื นกบั วา่ สญั ญาตวั นนั้ จำ� ไมไ่ ดม้ นั ลมื ไป มนั หายไปเลย โลภยังไง โกรธยังไง หลงแบบไหน มนั ไม่มี มันกเ็ ลยไมร่ ้วู า่ โลภคือ อะไร หลงคอื อะไร มันไมม่ ีเลย มันไมแ่ สดงแล้วแต่ถ้ามันมีอยู่ มนั กจ็ ะแสดง ความกิเลสตัวนั้น เหมือนมันหายไปแล้ว ข้อมูลเหล่าน้ันมันถูกดึงออกไปไม่ เหน็ อกี แลว้ อันนคี้ อื นโิ รธอกี ตัวท่ีเรยี กวา่ ๓ ตวั สุดท้าย อันน้เี รากต็ อ้ งปฏิบัติ การกำ� หนดแต่ละคร้ังกเ็ พื่อนิโรธทง้ั ๕ อย่าง แตล่ ะขณะทเ่ี รากำ� หนดมีคร้งั ที่ ๑ คร้งั ที่ ๒ เหมือนเรากา้ วๆไป อย่าคิดวา่ ก้าวสดุ ท้ายคือความส�ำเรจ็ ถ้าเราไม่ กา้ วตงั้ แตก่ า้ วที่ ๑ เราก็ไม่มีความสำ� เรจ็ หรอก เหมอื นเราเรียน กขค ABC ผล จากนน้ี ่นั แหละ่ ทำ� ใหเ้ ราส�ำเรจ็ ปรญิ ญาเอก แต่เราก็ยังใช้อยู่ ก.ไก่ ข.ไขก่ ย็ ังใช้ อยู่ ส่อื สารท้ังค�ำพูด หรือ เขียน พมิ พ์ กแ็ ล้วแต่ ข้อความเป็นประโยคกย็ ังใช้ อยู่ ก็ยงั ใชอ้ ยู่ไม่ได้ท้งิ ไปไหนแต่เรากร็ ู้วา่ ประโยชน์แต่ละอย่าง ก็จะทำ� ใหเ้ รา รู้วา่ สื่อถงึ อะไร ประโยชน์มากนอ้ ย เหมอื นกัน ทกุ คร้งั ที่เรากำ� หนด กเ็ ป็นไป เพื่อทำ� นโิ รธให้แจง้ ก้าวที่ ๑ กา้ วที่ ๒ กา้ วที่ ๓
116
กเิ ลสทลี่ ะไดแ้ ลว้ 117 เหมอื นกบั ว่าสัญญาตัวนั้น จำ� ไม่ได้ มนั ลืมไป { }มนั หายไปเลย
118 หนอแตล่ ะหนอเตมิ เตม็ มรรคใหม้ กี ำ� ลงั มากพอ การกำ� หนดรแู้ ตล่ ะหนอ มนั มคี วามอศั จรรยใ์ นตวั เปน็ ไปเพอื่ ทำ� นโิ รธ ให้แจ้ง ท�ำอริยสจั ๔ ใหป้ รากฏ กำ� หนดแตล่ ะครัง้ กำ� หนดให้รทู้ ุกข์ ละสมทุ ัย เหตุให้เกิดทุกข์ แล้วก็ก�ำหนดแต่ละคร้ังท�ำนิโรธให้แจ้ง คือความดับทุกข์ ทำ� ความดบั ทกุ ขใ์ หแ้ จง้ ตลอดรบั รองทกุ ขม์ นั นบั วนั แตจ่ ะหายไปเรอ่ื ยๆแตบ่ าง คนบอกวา่ ย่ิงก�ำหนดยิ่งทกุ ข์ ยิง่ กำ� หนดย่งิ ปวด หลวงพอ่ บอกว่าก�ำหนดแล้ว จะดับ โยมไม่เห็นเป็นแบบนั้น มันคนละอย่าง นด้ี ับตัณหา ดบั ทุกข์ อนั นั้น ย่ิงเห็นทุกข์ชัดเจน ย่ิงจะไม่อยากเกิดมาในวัฏสงสารอีก เห็นทุกข์ได้ก�ำหนด ทุกข์ ทีน้ีก�ำหนดแต่ละคร้ังมรรคมีองค์แปดให้เจริญขึ้น ธรรมะมีองค์แปด ประการให้เจริญข้ึน สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมัน- ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ เจริญขึ้น มรรคมีองค์แปดประการ เจริญ เม่ือมรรคเจริญถึงท่ีเป็นอริยมรรค โสดาปัตติมรรค สกาทาคามิมรรค อนาคามมิ รรค อรหนั ตมรรค มรรคพวกน้เี ป็นอรยิ มรรค เป็นปัญญาที่มีกำ� ลงั สูงที่สุด เราจะเห็นนิพพานอย่างแท้จริงก็น่ันแหล่ะคือ เมื่อเอาสังโยชน์ออก หมดแลว้ เอาสงั โยชนอ์ อกบางอยา่ งกเ็ รม่ิ เหน็ แลว้ วา่ เรม่ิ เหน็ ทางทสี่ ดุ ของทาง มันมแี ลว้ ไม่ตอ้ งเวยี นว่ายตายเกิด อยา่ งโสดาบนั ปิดอบายภมู ิได้ แต่ไปเกดิ ยงั สคุ ตภิ ูมิได้ ไมเ่ กนิ เจ็ดชาติ อย่างสกทาคามี ทำ� ราคะ โทสะ โมหะ ใหเ้ บาบาง ลงไป มาเกิดเป็นมนุษยอ์ ีกก็เพียงแคช่ าติเดยี ว หรือพระอนาคามี เรยี กวา่ ตัด ราคะ โทสะได้แลว้ ไปแล้วไมก่ ลับมาเกดิ เปน็ มนษุ ย์อกี ไปเกิดท่ีชัน้ สทุ ธาวาส
119 เมื่อเกิดแล้วก็นิพพานอยู่ช้ันนั้น ไม่ต้องมาเกิดเวียนไปเวียนมาให้ทุกข์กาย ทุกข์ใจ อยบู่ นสวรรค์ชั้นน้ันสุขสบายดี บางคนมคี วามเพียรแก่กล้ากย็ งั ไม่ทัน ถึง ก็นพิ พานแล้ว บางทา่ นกงึ่ หนง่ึ ถงึ กึ่งหนึ่งของอายกุ ็นิพพานแล้ว บางทา่ น ก็อ้าวเลยไปหน่อย ถงึ นพิ พาน บางท่านก็อยจู่ นครบเลย สมมตุ อิ ายุ ๘๐๐๐ ล้านปกี ็ครง่ึ หน่งึ หรอื อยู่จนครบ ๘๐๐๐ ลา้ นปี อนั นี้ยกตัวอย่างนะ ของพระ อนาคามี ทนี ส้ี ว่ นพระอรหนั ตล์ ะ่ กไ็ มม่ โี มหะกน็ พิ พานอยา่ งเดยี ว บางคนบอก วา่ ไมม่ ที ีไ่ ปเลย วา่ งเปล่าเลย ไมอ่ ยากไปเลย มนั ไม่มีอะไรเลย แต่นพิ พานถา้ เราพจิ ารณาตามทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ตรสั นพิ พานนะ่ ไมใ่ ชส่ งั ขารเปน็ วสิ งั ขาร เพราะ มันมีปัจจัยปรุงแต่งมันก็ต้องแปรปรวน เปล่ียนแปลงตลอดเวลา ถ้านิพพาน เปน็ ธรรม มนั เป็นธรรมทใี่ มม่ ปี จั จัยปรุง แตธ่ รรมท่วั ไป มันเปน็ สังขตธรรมก็มี ปจั จยั ปรงุ ฉะนนั้ สงั ขตธรรมกจ็ ะมคี วามแปรปรวนปรากฏ แสดงวา่ นพิ พานมี อยเู่ ปน็ ภาวะทไี่ มม่ ปี จั จยั ปรงุ ถา้ มนั ยงั มปี จั จยั ปรงุ แตน่ ไ่ี มม่ ี เพราะถา้ มมี นั กจ็ ะ ปรงุ ไปเรอื่ ย สมมตุ สิ งบสนั ตสิ ภาวะ เปน็ สภาวะความสงบกจ็ ะสงบอยแู่ บบนน้ั สงบเย็น เปน็ สขุ ก็สขุ อยู่แบบนนั้ อนั นีค้ ือภาวะทเี่ รยี กวา่ อสังขตธรรม ธรรม ท่ไี มม่ ปี จั จยั ปรุงหมายเอานพิ พานนน่ั เอง พอรูแ้ บบนกี้ ็ร้สู ึกวา่ ไดส้ มั ผสั บา้ งก็ดี จะไดเ้ บาบางความเรา่ รอ้ นบา้ งกด็ ี แตถ่ า้ บอกนพิ พานสญู นพิ พานวา่ งเปลา่ ไป แลว้ จะไดอ้ ะไร บางคนกย็ งั ตดิ ความอยากอยู่ ยงั อยากไดอ้ ยากมอี ยากเปน็ แต่ พอไปถงึ จรงิ ๆ แลว้ จะรเู้ อง
120 พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญนิพพานสุข ความสุขทั้งหลายท่ีได้มามันก็ ธรรมดา แตน่ ิพพานเปน็ บรมสุข เราก็ตอ้ งมาดูตัวน้ี นพิ ฺพานํ ปรมํ สขุ ํ นพิ พาน เปน็ สขุ อยา่ งยงิ่ หรอื เปน็ บรมสขุ สขุ ในมนษุ ยส์ มบตั ิ กไ็ มไ่ ดอ้ ะไร มนั กแ็ บบนนั้ ๆ สุขในสวรรค์ก็ธรรมดา สุขในพรหมโลก ก็ไม่เห็นจะสุขอะไรมากมาย สมาธิ แตน่ พิ พานะสขุ เปน็ บรมสขุ แสดงวา่ สขุ ตรงน้ี ในสมยั ทพี่ ระพทุ ธเจา้ มาตรสั รู้
121 เทา่ นน้ั เอง ทรงนำ� มาเปดิ เผย สว่ นนอกนน้ั กอ็ าจจะไดส้ มั ผสั เพยี งแค่ สขุ ทไ่ี ดไ้ ป เกดิ ในพรหมโลก แตส่ ขุ ทไ่ี ปถงึ นพิ พานยงั ไมเ่ คยเจอ เรากต็ อ้ งพยายาม ตอนนก้ี ็ ฟงั เสยี งฝนตก กเิ ลสจะไดน้ พิ พานไปเรอื่ ยๆในชว่ งตอ่ ไปใหพ้ วกเรานง่ั สมาธติ อ่
122
มนั มปี ัจจัยปรุงแตง่ 123 มนั ก็ต้องแปรปรวน { }เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
124 ๕ รทู้ ัน เปน็ เสบียง ไม่เสี่ยงไปอบาย
125 พระโยคาวจร โยคีผู้เข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานช่วงต่อไปเป็นช่วง ฟงั ธรรม ชว่ งปฏบิ ตั ิธรรมร่วมกัน ให้พวกเรานงั่ สมาธแิ ลว้ ก็ฟงั ธรรมะบรรยาย ไปดว้ ย วันน้ีก็เปน็ วนั อาทติ ยท์ ่ี ๑๗ กรกฎาคม ตรงกบั ปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ อีกไม่กีว่ นั ก็เป็นวนั เขา้ พรรษา วันที่ ๑๘ เปน็ วนั โกน ๑๙ เป็นวันอาสาฬหะ วนั ท่ี ๒๐ ก็เป็นวันอธษิ ฐานเข้าพรรษาของพระคุณเจ้า ไมไ่ ด้เทย่ี วจาริกไปใน ท่ีแห่งอ่ืน ก็อธิษฐานจิตจะหยุดอยู่ไม่เท่ียวไป นอกจากมีกิจจ�ำเป็นท่ีเรียกว่า สตั ตาหะ กะระณยี ะ คอื กิจ ๗ อย่าง หรอื ไปไดไ้ มเ่ กิน ๗ วนั พ่อแม่ป่วย ครู อุปัชฌาย์อาจารย์ หรือมรณะภาพ หรือญาติโยมนิมนต์ก็ไปฉลองศรัทธาไม่ เกิน ๗ วนั ในระหวา่ งพรรษา ฉะนัน้ สว่ นญาตโิ ยม บางคนก็อธษิ ฐานเหมือน กนั จะไมไ่ ปไหนในชว่ งเขา้ พรรษาจะตง้ั ใจ เวน้ ชวั่ ประพฤตดิ ี ทำ� จติ ใจใหผ้ อ่ งใส หรอื บางคนพยายามตง้ั ใจภาวนายงิ่ ขน้ึ ในชว่ งฤดเู ขา้ พรรษา กเ็ ปน็ ฤดทู ำ� ความ เพียร เป็นฤดูก็ต้ังใจเว้นความชั่ว ประพฤติความดีให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม การประพฤตปิ ฏิบตั ิ ของพระโยคาวจร หรือของโยคี ญาติโยมผู้เข้ามาปฏิบัติ ก็ไม่ได้เลือกช่วงเทศกาลหรือไม่เทศกาลมาปฏิบัติ กลับไปวัด กลับไปบ้านก็ ยงั ปฏบิ ัตเิ ป็นปกติ เพราะในช่วงพรรษา กท็ �ำใหม้ ากยิง่ ขึน้ หน่อย ก็เป็นเรื่อง ที่ดี ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรอ่ื งไมด่ ี เพราะเรามีโอกาส เพราะปีนก้ี ร็ ู้สกึ วา่ มวี ันหยุดหลาย วัน ติดต่อกนั มา ตรงเสารอ์ าทิตย์ พรงุ่ น้ีก็วันจันทร์ วนั อังคารเป็นอาสาฬหะ เปน็ วนั หยดุ อกี วนั เขา้ พรรษากห็ ยดุ อกี หยดุ ตดิ ตอ่ กนั คนกไ็ ดโ้ อกาสประพฤติ
126 ปฏิบัตินับว่าเป็นก�ำไร บางคนรู้สึกว่าเป็นก�ำไรท่ีเราเองได้มีโอกาส ใช้เวลาท่ี มีน้ันให้เกิดประโยชน์ด้วยการเจริญภาวนา คือถ้าเราอยู่ด้วยความประมาท เวลาท่ีผ่านไป ก็เหมือนกับเป็นเวลาที่ ไม่แน่นอน ค�ำว่าเวลาท่ีไม่แน่นอนก็ เหมอื นกับทมี่ าที่ไป เราไม่แนน่ อน คอื คตไิ มแ่ น่นอน ถ้าคนท่ีอยู่ด้วยความไม่ ประมาท แม้เวลาส้ัน น้อยนิดก็เหมือนมีท่ีไปแน่นอน ไปไหน ไปสู่ที่ๆ ท่าน เรยี กว่า ทีๆ่ ไม่ตาย คนทปี่ ระมาทพระพทุ ธเจา้ บอกวา่ เหมอื นคนท่ีตาย คน ประมาทเหมอื นคนตายแลว้ คนผไู้ มป่ ระมาทยอ่ มไมต่ าย กแ็ สดงวา่ ไปสทู่ ๆี่ ไม่ ตาย ท่ๆี ไมเ่ กิดอีกกไ็ มม่ ตี ายอกี ท่ๆี น้ันเรียกว่านิพพาน ฉะนัน้ ก็จะแตกตา่ ง กนั เหมอื นการมชี วี ติ อยโู่ ดยเฉพาะในแตล่ ะวนั ทผ่ี า่ นไป ถา้ เรามโี มหะคอื ความ หลง เหมอื นคติ ถา้ เราพดู ดี ท�ำดี ก็ท�ำให้มีโอกาสไปในที่ดี ท่ีท่านเรียกว่าสุคติ ถา้ เราเผลอไปพดู ไมด่ ที ำ� ไมด่ ี เขา้ บอ่ ยๆ คตทิ ไ่ี ปกอ็ าจจะไมค่ อ่ ยดี เรยี กวา่ ทคุ ติ ทุ แปลว่าช่ัว ยาก ล�ำบาก คอื ไปแลว้ นอกจากจะมีความทุกข์ กย็ งั มคี วามยาก ลำ� บาก ซึ่งท่านเรยี กวา่ อบาย ที่ๆ หาความเจรญิ ทางศีล สมาธิปญั ญาได้ยาก มาก ทต่ี รงนนั้ เลยเรยี กว่า ทไี่ ปทไี่ มด่ ี ทคุ ติ เรียกว่าอบายภมู ิ อย่างนรก เปรต อสูรกาย สตั วเ์ ดรจั ฉาน ภพภมู ทิ ีเ่ รียกวา่ อบายภมู ิ แต่ถ้าเป็นท่ๆี ไปดี แปล ว่าดี งาม ง่าย หรอื ว่าแปลว่าไปแล้วกอ็ าจจะเปน็ ท่ๆี เราเจริญดว้ ยทาน ศีล ภาวนา เป็นทีๆ่ ทำ� ใหเ้ ราพฒั นาทางดา้ นจิตใจได้ พฒั นาอารมณ์ ให้เราเป็นผู้ มอี ารมณ์ท่ีดี อารมณแ์ จ่มใสสดชนื่ อนั น้ันคอื ทๆ่ี ไปท่ีดี เรยี กว่าสุคติ อย่างที่
127 คนประมาทเหมือนคนตายแลว้ คนผไู้ มป่ ระมาทย่อมไมต่ าย ก็แสดงวา่ ไปสูท่ ีๆ่ ไมต่ าย ที่ๆ ไมเ่ กดิ อกี ก็ไม่มีตายอกี ทๆี่ น้นั เรยี กวา่ นิพพาน
“128 “ ถ้าเราจะหนีส่ิงเหลา่ น้ี (สงั สารวฏั ) ก็ตอ้ งเดนิ ตามทางท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไดต้ รัสบอก ตรัสสอน แนะน�ำเอาไว้ เราเกดิ มาเปน็ มนษุ ย์ กส็ คุ ตนิ ะ เปน็ เทวดา เปน็ พรหม เกดิ ในชน้ั พรหม กถ็ อื วา่ เป็นสุคติ ซึ่งสุคติ เหล่านี้บางครั้งก็ไม่แน่นอน คติเหล่านี้ไม่แน่นอน เพราะ โมหะยังมีอยู่ เพราะยังมีชาติคือความเกิดอยู่ ความเจ็บไข้ได้ป่วยก็มี มันส่ิง เหล่านี้มันตามมา เรียกว่าภาวะของการเกิด ฉะน้ันถ้าเราจะหนีส่ิงเหล่านี้ก็ ต้องเดินตามทาง ท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสบอก ตรัสสอน แนะน�ำเอา ไว้ ในช่วงเข้าพรรษากอ่ นเขา้ พรรษา มวี ันหยุดพอสมควร บางคนก็ใชโ้ อกาส อันนใี้ หเ้ กิดประโยชน์ หรอื บางคนมีเวลามากก็ตดั สินใจ เรยี กว่าทำ� อย่างพระ พระหยุดอยู่ จ�ำพรรษาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน เดี๋ยวน้ีญาติโยมก็เอาบ้าง คือหาโอกาสให้กับตัวเอง ได้อยู่ได้หยุดอยู่ปฏิบัติเรียกว่า ถ้าเป็นทางโลกก็ เรยี กวา่ ถา้ เรยี กกบั สมบตั กิ ค็ อื สมบตั ภิ ายนอกกค็ อื ตอ้ งใชเ้ วลาแสวงหาเหมอื น กัน แต่สมบัติเหล่าน้ันไม่จีรังยั่งยืน พอเราละจากอัตภาพน้ีไปสู่อัตภาพใหม่ บางครงั้ เอาไปดว้ ยไมไ่ ด้ อยา่ งของทเ่ี รามแี มแ้ ตเ่ สอ้ื ผา้ ทเี่ ราสวมใส่ เครอื่ งประดบั ตา่ งๆทรพั ยส์ นิ แกว้ แหวนเงนิ ทองทเี่ รามี บางครงั้ สง่ิ เหลา่ นก้ี ไ็ มอ่ าจจะตดิ ตาม เราไปดว้ ยได้ แตส่ ง่ิ ทเ่ี ราสง่ั สมจะเปน็ บญุ หรอื เปน็ บาปกลบั สามารถตดิ ตามเรา ไปได้ มันตดิ ตามเราไดถ้ า้ อปุ มาอุปไมยกเ็ หมือนกบั ความจ�ำ ท่มี ันไมล่ บเลอื น
129
130 จ�ำท้ังดีและไม่ดี บางคร้ังเวลาจะผ่านไปนานเราก็ยังจ�ำ เราก็ติดไปด้วย บาง ครงั้ เวลาหลบั กเ็ หมอื นลมื แตพ่ อตน่ื กจ็ ำ� ได้ กต็ ดิ ตามเราไป แตถ่ า้ เปน็ ทรพั ยส์ นิ เงินทอง มนั อาจจะเขา้ ไปในน้ันไมไ่ ด้ เขา้ ไปในจติ ในใจไม่ได้ ต้องสวมต้องใส่ ตอ้ งมีทเี่ กบ็ ท่ีน�ำไป บางครง้ั บางคราวกเ็ ป็นแบบนัน้ แต่ถามวา่ จ�ำเปน็ ม๊ยั มัน จ�ำเป็นเพราะการมีชีวิตในโลกน้ี ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์ภายนอกหรือภายในมัน ก็จ�ำเป็น แต่จ�ำเป็นคนละเวลา แต่คนที่ฉลาดก็เรียกว่า สามารถที่จะเปลี่ยน จากทรัพย์ท่เี ปน็ เพยี งภายนอกให้เป็นภายในบา้ ง ตรงนีป้ ญั ญาดตี รงน้ี แตถ่ ้า บางคนก็ติด ก็จมอยู่แบบน้ัน อาจจะมีความสุขแค่ได้หา แต่ไม่ได้มีความสุข จากการท่ีไดใ้ ช้ เหมือนกับใช้เพ่ือหาใหค้ วามทุกขก์ บั ตนเอง เราคดิ วา่ มคี วาม สขุ ไดม้ าแลว้ กไ็ ปซ้ือสิง่ ทีม่ อมเมา ท�ำใหเ้ ราขาดสติ แล้วกท็ ำ� ลายสขุ ภาพด้วย หรือไปกิน ไปเที่ยว ไปเล่น ในส่งิ ทีม่ นั ไม่กอ่ ให้เกิดบญุ กศุ ล เรียกว่า เราก็ใช้ ไป ใช้ทรัพย์ท่ีหามาแทบตายเพื่อแบบนั้น ไปซ้ือไปหาไปใช้เพ่ือความสุข แต่ บางครง้ั กย็ งั ไมใ่ ชค่ �ำตอบเปน็ ความสขุ หรือไม่ บางครง้ั กย็ งั ตอบไมไ่ ด้ มนั เปน็ เพียงแค่ความรูส้ กึ ชั่วขณะเทา่ น้ันเอง แตเ่ วลาผา่ นไปกบ็ อกวา่ ไมใ่ ช่ เพราะสง่ิ เหล่าน้ันไม่ใช่ความสุขที่แท้จริงเ ป็นเพียงแค่ช่ัวขณะเท่าน้ันเอง บางคนจึง รูจ้ ักใช้ทรัพยท์ ่แี สวงหามาด้วยความยากล�ำบาก คือ ทรพั ย์ภายนอก เหมือน กับว่าเราเจ็บไข้ได้ป่วยก็อาจจะต้องใช้มัน เป็นปัจจัยสิ่งแลกเปลี่ยน กับคนท่ี พึงประสงค์ ที่ประสงค์ แล้วก็ดูแลสุขภาพ หรือบางคร้ังก็เปล่ียนเป็นอาหาร
131 ที่อยู่อาศัย เปลี่ยนเป็นท่ีอ�ำนวยความสะดวก บางคนเปล่ียนแล้วก็ติดยึดม่ัน หมายกับส่ิงเหล่านั้นก็มี แต่บางคนมีสติปัญญา ก็ไม่ทุกข์กับสิ่งเหล่าน้ัน คือ ใช้หรือจา่ ยด้วยความรู้สึก ทเี่ ป็นนาย กจ็ ะสบายหนอ่ ยมอี ิสระกับส่งิ เหลา่ นนั้ มีหนา้ ที่ใช้ให้พอเหมาะ พอควร ก็เรียกวา่ มคี วามสขุ หรอื ใชจ้ า่ ยในทางทีม่ นั จะก่อให้เกิดบญุ กุศลสตปิ ญั ญา คือนำ� ทรพั ยภ์ ายนอกมา เปลย่ี นแปลงใหเ้ ป็น สินทรัพย์ภายใน จากส่ิงท่ีเราเอาไปไม่ได้เป็นสิ่งท่ีเราน�ำไปได้ ตราบใดที่เรา ยังท่องเท่ียวในสังสารวัฏเราก็ต้องมีเรือ มีแพ มีเสบียงส�ำหรับการเดินทาง เพราะเรายงั ตอ้ งเดนิ ทาง ถา้ เรายงั เดนิ ทางอยู่ ส่งิ เหล่านีม้ ันจำ� เปน็ แต่ว่าเรา กต็ อ้ งใชใ้ ห้เป็น เหมอื นใชเ้ ป็นแลว้ ก็เกิดประโยชน์สูงสดุ บางคนใหท้ านอยา่ ง เดียว ก็ไมไ่ ดเ้ ป็นปัจจัยเพ่อื พระนิพพาน หรอื บางคนรักษาศลี อยา่ งเดียว กไ็ ม่ ไดเ้ ปน็ ปจั จยั เพอ่ื นพิ พาน หรอื บางคนนง่ั สมาธอิ ยา่ งเดยี วกไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ ปจั จยั เพอ่ื นิพพานเพราะมันไมม่ เี หตุ ฉะนัน้ มันต้องมปี ัญญาเหตุ จะต้องมวี ิปสั สนาเหตุ หรืออโมหะเหตุ การทเี่ รามาเจรญิ วิปสั สนา ก็คอื มาสร้างเหตเุ หลา่ นี้ กท็ ำ� ให้ ทานท่เี ราทำ� เปน็ ปจั จยั เพอื่ ไปส่คู วามเปน็ อมตะเพราะเราท�ำทานด้วยความ ไม่ประมาท มันเข้าหลัก รักษาศีลด้วยความไม่ประมาท ท�ำสมาธิด้วยความ ไม่ประมาท เปน็ เรื่องของปัญญา ทีนี้ทำ� ใหท้ านนน้ั มันเปลย่ี นหรอื แปรสภาพ ไปเป็นปจั จัย เกอ้ื กูลและอุดหนุนเพื่อใหเ้ ราได้ประพฤตปิ ฏิบัติ ไดเ้ ดนิ จงกรม นงั่ สมาธิ ไดเ้ จรญิ วปิ สั สนากรรมฐาน ทานไมเ่ ปน็ อะไรแลว้ เรอื่ งปากทอ้ ง เรอื่ ง
132 ปานะ ทอ่ี ย่อู าศัย บางครั้งก็เป็นปัจจัยไม่วา่ จะโดยตรงหรือโดยอ้อม ถา้ เรามี ปญั ญากท็ ำ� สิ่งเหล่านี้ใหเ้ ป็นไปได้ประโยชนใ์ ช้สอยก็เยอะขน้ึ ถ้าเปน็ สงิ่ ของก็ ใช้ได้อย่างเดียว แต่ประโยชน์ในน้ันเยอะ แต่เราใช้เพียงนิดหน่อยเท่านั้นเอง เราไมร่ ู้จกั คณุ คา่ เหล่านนั้ เพราะขาดคุณค่า ฉะนน้ั การส่ังสมปัญญา ส่ังสมสติ ปญั ญาชว่ ยใหน้ ำ� พาสง่ิ ที่ไร้คา่ บางครั้งให้มีคุณค่า หรอื ชว่ ยทำ� ใหส้ ่งิ ไรส้ าระให้ เป็นสาระ หรือทำ� สง่ิ ทไี่ มเ่ ป็นปัจจัยเพ่ือพระนพิ พาน กส็ ามารถเปน็ ปจั จยั เพ่อื พระนิพพานได้ ฉะนั้นเวลาทำ� ทาน ทานที่ทำ� ก็มอี านิสงส์มากกว่าอีก ทำ� ด้วย ศรัทธาอย่างเดียว ท�ำด้วยการเจริญสติด้วย วิปัสสนาด้วย เราสามารถระวัง รักษาจิตต้ังแต่เราเร่ิมคิดที่จะท�ำ ขณะที่ท�ำอยู่ ก็ยังรักษาจิตให้ท�ำด้วยดี ท�ำ ไปแล้วนึกถึงเมื่อไหร่ เหมือนบุญเกิดได้ตลอดเวลาไม่ได้ท�ำให้ความดีท่ีท�ำน้ัน จืดจางไป ยังความดียงั มคี วามเขม้ ข้น มีความดอี ยเู่ สมอ จะตา่ งอนั น้ีของคน ที่ตั้งอย่ใู นความไมป่ ระมาท ผู้ท่ีเจริญไดด้ แี ลว้ ส่วนผทู้ ี่ทำ� ด้วยความประมาท เพราะอาจจะท�ำเสียไม่ได้ก็ได้ ท�ำเพราะถูกบังคับให้ท�ำ บางครั้งท�ำเพราะ
“ 133 “ฉะนนั้ การสัง่ สมปญั ญา ส่ังสมสติ ปญั ญาชว่ ยใหน้ �ำพาส่ิงทไี่ รค้ า่ บางครั้ง ให้มีคุณค่า หรอื ช่วยท�ำให้ส่ิงไร้สาระให้ เปน็ สาระ หรือทำ� ส่ิงทไี่ มเ่ ป็นปจั จัยเพื่อ พระนิพพาน ก็สามารถเปน็ ปัจจยั เพอ่ื พระนพิ พานได้
134 เกรงใจ หรือตอนทีท่ ำ� นนั้ เพราะมศี รัทธาแตห่ ลงั จากนน้ั อาจจะไมไ่ ดศ้ รัทธา ก็ ไม่ไดท้ �ำก็ได้ หรอื ท�ำไปแล้วอาจจะเสียดาย อนั น้ันเสยี ดาย เสยี ดายว่าเอ้ ทำ� ไปท�ำไม หรือในระหว่างที่ทำ� นั้นอาจจะอารมณ์เสีย หงุดหงิด รำ� คาญ หรือ ท�ำไปแลว้ ก็เกดิ ความไม่สบายใจขน้ึ มา กับสิ่งที่ตนเองทำ� กม็ ี ฉะนนั้ สิง่ เหล่านี้ มันเปน็ ตัวแปรทส่ี �ำคัญ ถา้ เราไมเ่ ขา้ ใจสิ่งเหลา่ นน้ั มนั กจ็ ะท�ำให้สิ่งทเี่ ราทำ� มนั เหมือนกับแทนท่จี ะบริบูรณ์สมบรู ณ์ แตม่ ันกลับไมบ่ ริบรู ณ์สมบูรณ์ มนั มีผล
135 แตอ่ าจจะทำ� ให้มีผลน้อยลงเพราะมันอาจมปี ัจจยั อ่ืนแทรกขึ้นมา เขา้ มา แต่ ผทู้ เ่ี จรญิ สตปิ ัญญา อยู่เนืองๆ บอ่ ยๆ แล้วจะเข้าใจสภาพ เหลา่ น้ันตามความ เป็นจริง ค�ำว่าตามความเป็นจริงเหมือนกับวา่ ทอ้ งมนั หิวเราก็มีอาหาร หรอื บางครัง้ มนั กไ็ ม่ได้ทันที มันต้องรอ ตอ้ งคอย มันกเ็ ป็นเรื่องของอารมณ์จติ ใจ เหมอื นกนั ถา้ รอไมไ่ ด้ คอยไมไ่ ด้ จติ ทดี่ อี ยอู่ าจจะเปน็ จติ ทไี่ มด่ แี ลว้ หรอื พอได้ ดงั่ ใจ จติ กฟ็ ูเกนิ มนั กฟ็ เู กนิ ไป พอฟูมากไปพอไมไ่ ดก้ จ็ ะทุกข์มากอกี คอื ชอบ กบั ไม่ชอบ มันจะมารบกวนอยตู่ ลอด Designed by bearfotos / Freepik
136 รกั ษาจิตข้นึ ลงตรงไปพระนิพพาน ฉะน้ันสิ่งเหล่านี้ก็เหมือนกับขึ้นและลงอยู่ตลอด มันไม่ค่อยปกติ แต่ ถ้าเราระวังรักษาจิตเราได้ดีแล้ว เราจะท�ำกุศล ท�ำแบบยกตัวอย่าง ท�ำทาน ก็จะทำ� ใหท้ านเราสมบรู ณ์ บรบิ ูรณ์สมบูรณ์ สมบรู ณด์ ว้ ยเจตนาทัง้ ๓ อย่าง ปจั จยั อนื่ อาจจะเปน็ วตั ถทุ าน วตั ถสุ มบตั ิ ไมเ่ ปน็ วตั ถวุ บิ ตั ิ คอื ของทไ่ี มบ่ รสิ ทุ ธ์ิ แลว้ นำ� มา ไปลกั ขโมยเคา้ มา เรยี กวา่ ไมไ่ ดม้ าดว้ ยความสจุ รติ อานสิ งสก์ ล็ ดลง เหมือนกัน เพราะมีปัจจัยหลายอย่าง หรือตัวผู้ท่ีท�ำทานมีศีลหรือไม่มีศีลก็มี อีก ในระหว่างนัน้ มศี ีลมัย๊ ก็เปน็ ตวั แปรอีกอยา่ งหนง่ึ แล้วก็ผ้ทู ร่ี ับเปน็ ปถุ ุชน ที่เป็นกัลยาณปุถุชนมั๊ย มีศีล มีธรรม หรือว่าเป็นอริยบุคคล ตั้งแต่โสดาบัน อรหันต์ ผู้หมดกิเลส กุศลก็แตกต่างกันไป หรือเป็นปุถุชนที่ไม่มีศีล มีธรรม เลย กล็ ดลง มนั มหี ลายสง่ิ หลายอยา่ ง ถา้ เราดแู ลเรอื่ งจติ ใจได้ มนั กจ็ ะเปน็ เรอื่ ง ดี ฉะนน้ั เวลาท่เี ราท�ำทาน กจ็ บแลว้ จบอีก ก็เป็นอบุ ายอย่างหนึง่ ให้เราตัง้ จิต อยกู่ ับส่ิงเหลา่ นน้ั อยู่กบั วตั ถุทานเหล่านั้น ต้ังจติ ให้มน่ั คงกบั ส่งิ เหล่านั้น บาง คนก็จิตจดจ่อกับส่ิงเหล่านั้น ท�ำด้วยสติ ท�ำด้วยสมาธิท�ำด้วยศรัทธาปัญญา แต่พอท�ำไปแล้วอีกอย่างหนึ่งก็มี แต่ตอนน้ันก็อาจจะบริบูรณ์สมบูณณ์ในช่ัว ขณะทท่ี �ำอยู่ แต่ถ้าเรามสี ติ เราก็สามารถที่จะระลึกรู้ หรือเทา่ ทนั จติ ของเรา ท่ีมันคิดนึกถึง แทนทม่ี ันจะตกไปในฝ่ายกศุ ล ฝ่ายอกุศล มันก็ยงั อยใู่ นกุศลได้ อยู่ นแี้ หล่ะคือขอ้ ดขี องการภาวนา เจริญสตทิ เี่ ราฝกึ อยู่บ่อยๆ เรากต็ อ้ งหมน่ั สังเกต ทีน้ีเวลาเรารักษาศีลเองก็เหมือนกัน เรารักษาศีล บางคนรักษาเพื่อ
137 ฉะน้ันเวลาท่เี ราทำ�ทาน กจ็ บแลว้ จบอกี ก็เป็นอุบายอย่างหนง่ึ ใหเ้ รา ตง้ั จติ อยู่กบั สิ่งเหลา่ น้นั อยูก่ ับวตั ถทุ านเหลา่ นั้น ต้งั จิตใหม้ ั่นคงกับสง่ิ เหลา่ นน้ั บางคนก็ จติ จดจ่อกับสิ่งเหล่านัน้ ทำ�ดว้ ยสติ ทำ�ดว้ ย สมาธิ ทำ�ด้วยศรทั ธาปัญญา
138 เป็นนู่นนี่ ก็มี แต่ไม่ได้รักษาด้วยความรู้สึกว่ารักษาเพ่ือขัดเกลา คือเหมือน กับก�ำจัดกิเลสอย่างหยาบที่มันจะล่วง กายวาจา แต่มุ่งไปทางอื่น อย่างคน รักษาศลี เพอ่ื ให้ตนเองได้นน่ั ได้น่ี หรือไดเ้ ป็นนู่นเปน็ น่ี บางครัง้ ศีลเพ่อื ศลี ก็ คือเหมือนกับขัดเกลา เหมือนเรามีไม้กวาดที่กวาด มีแล้วก็ต้องกวาด กวาด ขยะ แต่เรามีแล้วไม่ได้ก�ำจัดขยะเหมือนไม้กวาดท่ีเรากวาดถนน กวาดใบไม้ ศีลก็จะขจัดสิ่งสกปรกเหล่านั้นออกไป ถ้าได้ระดับกลางก็เป็นเรื่องสมาธิ ถ้า ระดับอนุสัยกิเลสเป็นเรื่องปัญญา ที่ละเอียดเป็นขั้นเป็นตอน ฉะนั้นมีหลาย ขนั้ ถ้าในขน้ั ศีลถา้ เรามีสติก็จะระวังไดด้ ีข้นึ ทำ� ใหเ้ รารกั ษาศลี น้ันบรสิ ุทธิ์ ศีล ที่เป็นขอ้ ๆกร็ กั ษาง่ายดว้ ย รกั ษาให้บรสิ ทุ ธ์ิ หมดจด จากโลภ โกรธ หลงได้
139 แตก่ อ่ นเราไม่รไู้ ม่เหน็ มนั ก็ ดขี นึ้ มาในระดับหนง่ึ ฉะนน้ั เราก็ ตอ้ งพยายาม ฝึกจิต ฝึกใจ แล้วนำ�ไปประยกุ ตใ์ ช้ ทัง้ ชีวิตใหค้ รอบคลุม ด้วย ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีก็อยู่ท่ีเราเจริญสติ อย่างเวลาเราท�ำทาน เรารักษาศีล เรา ก็มีสติด้วย อย่างเวลาเราภาวนา ถา้ ทำ� สมถภาวนาเรากม็ งุ่ เน้นไปกดข่มกเิ ลส นิวรณต์ ่อไป บางคร้งั เรากไ็ ม่เห็นความจริง แต่พอเราไมก่ ดไมข่ ่ม กิเลสกโ็ ผล่ หน้าออกมาตลอดให้เราได้รู้เอง บางคร้ังเราก็ไม่ได้พยายาม พอไม่พยายาม ที่จะก�ำจัด มันก็เหมือนกับเห็นแล้วแต่ไม่ได้เอากิเลสออก แต่ก่อนเราไม่รู้ไม่ เห็นมนั ก็ดีข้นึ มาในระดับหนึง่ ฉะนั้นเราก็ต้องพยายาม ฝกึ จติ ฝกึ ใจ แล้วนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้ทั้งชีวติ ให้ครอบคลุม เรามาภาวนาตรงนี้ เหมือนทพ่ี ูด เหมอื น มาชาร์จแบตตาร่ีให้มันเต็ม น�ำไปใช้ได้อีกนาน หลายวันหลายช่ัวโมง แต่ถ้า เราไม่หม่ันชาร์จไว้มันก็จะหมดไปเรื่อยๆ ฉะนั้นถ้าเราฉลาดเราก็ต้องจัดสรร
140 เวลาใหก้ บั ตนเอง เพราะถา้ เรารูส้ ึกว่า กเิ ลสมันยงั มีอ�ำนาจเหนือจติ ใจเราอยู่ เราก็ต้องพยายามเสริมภูมิคุ้มกันให้กับสติปัญญาให้มันมีก�ำลังมากข้ึน จะได้ กำ� ราบกเิ ลสอยา่ งสงู กเิ ลสอยา่ งกลาง กเิ ลสอยา่ งละเอยี ดกก็ ำ� ราบดว้ ยปญั ญา กจ็ ะเปน็ ขัน้ เป็นตอนวธิ ีท่ีเราเดนิ เรานงั่ เรากำ� หนด แต่ละครง้ั แต่ละครา บาง คนอาจจะไมเ่ ห็นประโยชน์ แต่จรงิ ๆ มนั เปน็ ประโยชนท์ ัง้ นัน้ เปน็ เหตปุ ัจจัย เก้ือหนุน เก้ือกูลกันไปหมด เหมือนกับอวัยวะในร่างกายเรา เวลาขยับตัวก็ กระเทอื นไปหมดเลย เวลาเรากระดิกนว้ิ เลน่ เรากระเทอื นไปท้งั ตัว มันไม่ได้ กระเทือนเพยี งแค่กระดกิ นวิ้ แค่นน้ั มนั กระเทอื นไปทกุ สว่ น มันกระเพ่ือมไป หมดเลย จติ ใจเราเวลาคดิ นกึ มนั กก็ ระเพอื่ มไปทว่ั เหมอื นกนั ทเี่ ราเรยี กวา่ มนั
141 เกดิ ดบั นบั ลา้ นๆครง้ั เรยี กวา่ หลายลา้ นครงั้ แตล่ ะวนิ าที แตล่ ะขณะ มนั เยอะ มาก เป็นทอดๆกนั ไป ฉะนนั้ สง่ิ เหล่าน้ี ถา้ มันกระเพอ่ื มไปในทางดี ก็เหมือน กับมีผลดี มันขยับเขยื้อนเหมือนกับเราออกก�ำลังกายบางครั้งเราก็ได้รับผล เหมอื นกับมรี ่างกายที่แขง็ แรงที่ไดร้ ับผลตรงนั้น มนั กช็ ่วยอกี ทางหนงึ่ หรอื ไม่ ได้รบั อาหาร หรือ อาหารที่ไมม่ ปี ระโยชน์ มันกไ็ ม่ช่วยเหมือนกัน มันช่วยได้ ระดบั หนง่ึ ทไ่ี มช่ ว่ ยในอกี ระดบั ซง่ึ สงิ่ เหลา่ นต้ี อ้ งเกอ้ื กลู กนั ไมใ่ ชม่ สี งิ่ นนั้ ไมม่ สี งิ่ น้ี ถา้ เราไมเ่ ขา้ ใจสภาพธรรมตามความเปน็ จรงิ เรากจ็ ะมองดา้ นเดยี วกเ็ หมอื น กบั เรามองเป็นเหน็ แก่ตัว เหมอื นกับว่า ไม่ไดม้ เี หตอุ น่ื มนั ก็มีเพียงเรามีเพยี ง อตั ตา แตพ่ อมองตามความเปน็ จริง ก็ออ้ มันอาศยั กันอยู่ Designed by Jannoon028 / Freepik
142 ตัวไม่มี มีแต่ธาตุ รา่ งกายประกอบไปด้วย ธาตุทง้ั ส่ี ดินนำ�้ ไฟลม ธาตุแขง็ อ่อน ทอี่ ย่ใู น ร่างกายเรามันเปน็ ดนิ ทีเ่ ราเหน็ อยา่ งหยาบๆ ที่มองเห็น ขน ผม เล็บ เหมือน กบั เปน็ ธาตุ อาโปธาตกุ เ็ ปน็ ธาตนุ ำ�้ ทเ่ี ชอ่ื มมนั ประสานหรอื มนั เอบิ อาบเซบิ ซาบ อยใู่ นรา่ งกายเรา อาโป ทำ� ให้ธาตุทง้ั ๓ อยา่ งทเี่ ราเห็นสวดกนั อยา่ งหยาบๆ ที่ร่างกายเรามีน้�ำ มีองค์ประกอบอยู่ที่ไหน เหงื่อไคลเรา น้�ำเลือด น้�ำหนอง อจุ จาระ ปสั สาวะ นำ้� มกู นำ�้ มนั กล็ ว้ นเปน็ ธาตนุ ำ้� ทเี่ หน็ หยาบๆ ธาตลุ ม ลมใน รา่ งกายเรา ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก ทำ� ใหเ้ รามชี วี ติ อยู่ หรอื ลมทพี่ ยงุ กาย เราให้คงอยู่ หรือลมท่เี กิดจากการคเู้ หยยี ด ท่ีเกิดจากลมท่อี ยูใ่ นล�ำไส้ ท่อี ยู่ใน ชอ่ งวา่ งตา่ งๆอยไู่ ดเ้ ยอะแยะไปหมดเลย อยภู่ ายในตวั เรา มนั ไมไ่ ดม้ คี วามเปน็ ตวั เราเลย ธาตไุ ฟละ่ อย่างบางครง้ั มนั ร้อน มนั อนุ่ น่นั คอื สว่ นประกอบของ ธาตไุ ฟ หรอื ธาตทุ ่เี ผาอาหารให้เกิดตา่ งๆ ก็คือธาตุไฟ สรปุ แล้วในความเป็น ตัวเราก็เกิดจากดินน�้ำลมไฟ เราจะไปหาสาระหรือความเป็นประโยชน์ บาง คร้ังมันหายาก ถา้ เราไม่ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ถ้าคนไม่มีปญั ญาก็อาจจะปล่อย ใหม้ นั แตกสลายไปตามปกติ แต่พระพุทธเจ้าท่านบอกวา่ กายนี้ ไม่นานมนั ก็ ผุพงั ไป โดยสภาพของมัน ถงึ เราจะใช้หรือไม่ใช้มันกต็ อ้ งเปน็ ของมันแบบน้นั ต้องกลบั สู่ธรรมชาติ จากดินน�้ำลมไฟ ก็ตอ้ งเปน็ แบบน้ัน แตส่ ่งิ ทม่ี าอาศัยคอื
143 พระพุทธเจ้าท่านบอกวา่ กายน้ี ไม่นานมันก็ผพุ งั ไป โดยสภาพของ มนั ถงึ เราจะใช้หรือไมใ่ ชม้ นั กต็ ้อง เป็นของมันแบบน้ัน ตอ้ งกลบั สู่ ธรรมชาติ จากดนิ นำ้ �ลมไฟ ก็ตอ้ ง เปน็ แบบน้ัน
144 จิต หรอื บางคนกอ็ าศยั อยู่ ทอี่ าศัยรวมกันเปน็ ตวั เรา เป็นอตั ตา แต่แท้ท่จี รงิ มันเป็นอนัตตา พอเรามารแู้ บบนี้ ไมม่ ีอะไรเที่ยงแทค้ งทน ไม่ใช่ตวั ตนของเรา เม่ือไม่ใช่ตัวตนของเราถ้าเรายึดไว้ ถือไว้ ไม่ใช้ประโยชน์มันก็มีแต่จะทุกข์ย่ิง ขนึ้ เทา่ นน้ั เอง อยา่ งบางคนพอปวด พอเจบ็ พอเม่อื ยกก็ ลวั แลว้ พอคิดหน่อย ก็กลวั แลว้ กลวั ไมไ่ ดบ้ ุญ กลัวบาปบ้าง ทำ� ไดไ้ มเ่ ต็มที่ เม่อื มคี วามคดิ กต็ ้องรจู้ ักกำ� หนด ปวดกต็ ้องรจู้ กั ก�ำหนด มันไมเ่ จ็บไม่ ปวดยังเดินได้ ช่วงท่ีมาฝึกเดินจงกรม เดินยังไง เดินอย่างมีสติ ทั้งอิริยาบท ใหญ่ อิริยาบทยอ่ ย บญุ กิริยาวัตถุ บญุ อย่างอน่ื นั้นทำ� ให้สมบรู ณไ์ ปด้วย ไมไ่ ด้ แยกกนั นะ แตพ่ อเราเรยี นทฤษฎี เหมอื นแยกกนั อยู่ แตแ่ ท้ทจ่ี ริงไมไ่ ด้แยกกัน อยู่ เหมอื นอาศัยกันและกัน เวลากระเพอื่ มอยา่ งก็กระเพอ่ื มไปดว้ ย ท�ำงาน ร่วมกัน หรอื บางครง้ั เหมอื นขดั กันดึงกนั แต่ก็ชว่ ยกนั เหมือนอปุ มาร่างกาย ประกอบด้วยธาตุทง้ั ส่ี บางครั้งอณุ หภูมมิ ันรอ้ นรา่ งกายกร็ อ้ นไปด้วย ใจเราก็ รอ้ น ธาตไุ ฟเหมอื นมเี หตปุ จั จยั เหมอื นกบั ขม่ ธาตอุ นื่ เรากจ็ ะรสู้ กึ วา่ ตวั เรารอ้ น ไปหมดเลย มันรอ้ นตอนน้นั ไมร่ วู้ ่ามนั แขง็ อ่อน นิม่ ตรงไหน ไม่รูห้ รอก หรอื มันเอบิ อาบเซบิ ซาบตรงไหนก็ไมร่ หู้ รอก มนั ก็ขม่ กนั ร้อนมากๆ อย่างบา้ นเรา รอ้ นชืน้ มเี หงือ่ ไคลออกมาเต็มไปหมด บางคร้ังนงั่ ไปนานๆ ก็แข้งทัง้ ตัว อนั นี้ ยกตวั อยา่ ง บางคนก็มีลม เกดิ ลมในทอ้ งในไส้ จกุ เสยี ดแน่นตงึ ตรงนั้น นน่ั คือ เร่ืองของลม ไม่ใช่เรื่องของเรา ถ้าเราดูดีๆแต่เวลามันกระทบอย่างหนึ่ง มัน ก็มีผลกับอีกอย่างหน่ึงหรือบางคร้ังมันก็คอยข่มกันไปมา แล้วแต่เหตุปัจจัย สนับสนุน แต่มนั กอ็ ยกู่ ันได้ก็แล้วแต่นะ แต่เม่ือไหร่มนั จากกนั ความเป็นตัว
145 เราก็ไม่มี ท่านอุปมาอุปไมยเหมือนกับว่า อุปมาเหมือนกับรถ รถมันมีส่วน ประกอบมากมายฉะน้ันสมมุติว่ารถ แต่พอแยกช้ินส่วนแล้วมันก็ไม่มี ความ เปน็ รถกไ็ ม่มีแลว้ ว่างเปล่า เหมอื นตวั เราพอแยกกไ็ ม่มใี หเ้ ห็น ไมม่ ีให้ยดึ ให้ สำ� คญั มน่ั หมาย แต่เราต้องร้จู กั ความจริงทง้ั ๒ สว่ น สว่ นที่เปน็ สมมตุ ิ สว่ นท่ี เป็นจริง ส่วนสมมุติเราก็ต้องรู้ให้แท้จริง จะได้ใช้ได้อย่างถูกต้อง ดูแลรักษา เพื่อที่จะใช้ประโยชน์ได้สูงสุด อย่างรู้ตามความเป็นจริงคือรู้ให้ถึงที่สุดในขั้น ปรมตั ถ์ ว่ามันเปน็ เพียงส่ิงท่เี ก้ือหนนุ กนั และกัน จะไดท้ ำ� ลายความยึดม่ันถือ มั่น เมื่อเวลาผ่านไปเมอ่ื เราไม่ใช้ก็เส่ือมตามสภาพ ทกุ วนิ าที
146 ไม่สะดุดอัตตา ปญั ญาจะเบง่ บาน เมอื่ รจู้ กั ใชก้ เ็ กดิ ประโยชนเ์ หมอื นวตั ถสุ งิ่ ของ เมอื่ ใชก้ เ็ กดิ ประโยชนถ์ า้ ไม่ใชก้ เ็ หมือนไมม่ ีประโยชน์ เกะกะ เหมือนจอบเสียมเก็บไว้ก็เกะกะ ไม่ไดข้ ดุ ถาก เผลอๆไปเหยยี บกเ็ จบ็ เหมอื นกบั สะดดุ อัตตาตนเองเพราะเรายึดเราถอื แต่ถ้าเราใช้สตปิ ัญญามันกไ็ มส่ ะดดุ อตั ตา เพราะรู้ความจริงท้งั ๒ ด้าน ด้าน สมมตุ ิ ดา้ นความจรงิ อนั ถอ่ งแท้ กจ็ ะสลายความจรงิ ยดึ เปน็ นนู่ น่ี เรยี กวา่ เปน็ ความรใู้ นดา้ นวปิ สั สนาปญั ญา เรากพ็ ยายามฝกึ พยายามปฏบิ ตั ิ ในชว่ งทเี่ รามี เวลา มโี อกาสอยา่ งน้ี สว่ นในโอกาสอนื่ ๆ เราก็ท�ำหนา้ ทไี่ ปตามปกติ แต่ชว่ งท่ี มีเวลาภาวนาตรงนี้ เรากใ็ ช้เวลามนั ก็จะเกอ้ื กูลกัน เกือ้ กูลอดุ หนนุ แลว้ เอาไป ใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด ช่วงต่อไปนง่ั สมาธิสักหน่อย กลบั ไปทีอ่ ารมณห์ ลัก อารมณ์เดิม อาการเคลือ่ นไหวของท้องทพ่ี องยุบ ใจทร่ี ู้สตกิ ็ตาม อากัปกิริยา ของร่างกายกพ็ ยายามมสี ติกร็ ู้ จะซา้ ยขวา ยดื หด ยงั ไงกร็ ะลกึ รู้ เราบริกรรม ได้ กบ็ รกิ รรม บรกิ รรมไมไ่ ดก้ ร็ อู้ าการตามไป เพราะแตล่ ะคนสภาวะบางอยา่ ง ฝกึ ฝนอบรม ทักษะมี อาจจะมไี ม่เท่ากนั แตบ่ างคนกพ็ ่ึงเริม่ บางคนก็ทำ� มา นานจนรสู้ ึกวา่ ภาษาชาวโลกเรยี กว่าชินแลว้ แต่ถา้ ภาษาทางธรรมะก็จะเป็น อกี อย่างหนงึ่ เรยี กว่าจนเปน็ วสี สุดท้ายเปน็ ความชำ� นาญ จะเขา้ ออก จะยงั ไงกเ็ ป็นปกติ จะช�ำนาญในฌานในญาณกเ็ ปน็ ปกตไิ ปเอง
“ 147 “ถ้าเราใชส้ ติปญั ญามันก็ไมส่ ะดุดอตั ตา เพราะรูค้ วามจริงท้งั ๒ ด้าน ดา้ นสมมตุ ิ ดา้ นความจริงอันถอ่ งแท้ กจ็ ะสลาย ความจรงิ ยดึ เปน็ นู่นน่ี เรยี กว่าเปน็ ความรู้ในด้านวปิ ัสสนาปญั ญา
ประวตั ิ พระครูภาวนาวราลังการ ว.ิ (สมศักด์ิ โสรโท) ดช. สมศกั ดิ์ วลิ ัย จำ�พรรษา ณ - จำ�พรรษา ณ วัดนาควชิ ยั ถอื ก�ำ เนิด ณ บ้านหนองศรีทอง วัดราษฎร์ผดุงธรรม จังหวัดมหาสารคาม ตำ�บลโพธไิ์ ชย อำ�เภอพนมไพร บา้ นตะลมุ พกุ ต�ำ บลหนองไม้งาม จงั หวัดร้อยเอ็ด เปน็ บุตรคนท่ี ๑ อ�ำ เภอบา้ นกรวด - สำ�เร็จการศกึ ษาปรยิ ตั ิ ในจำ�นวน ๖ คน ของนายเลอีื น สามัญบาลี มัธยมศึกษาปีที่ ๖ จงั หวัดบรุ ีรัมย์ ตามหลกั สตู รบาลสี าธิตศกึ ษา และนางออ้ ย วิลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย จากวัดอภสิ ทิ ธ์ิ (วัดกลาง) ปี พ.ศ. ๒๙ ๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ ๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ ตุลาคม ๒๕๐๖ ๒๕๒๘ - ๒๕๓๐ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๗ อปุ สมบท ณ วดั โคน - จ�ำ พรรษา ณ วัดใหม่อมั พร อำ�เภอประโคนชยั จงั หวัดบุรีรมั ย์ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา โดยมที ่านพระครูบรหิ ารกิจโกศล - ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาปรยิ ัติสามัญ เปน็ พระอุปชั ฌาย์ เทียบเท่ามัธยมศึกษาปที ่ี ๓ และ อดตี เจ้าคณะอำ�เภอบา้ นกรวด นกั ธรรมโท นักธรรมเอก เจา้ อาวาสวัดโคน ตามลำ�ดับ
149 จำ�พรรษา ณ ส�ำ นักวปิ ัสสนาวิเวก จ�ำ พรรษา ณ สำ�นกั สงฆ์สมมติ ร- อาศรม อำ�เภอเมือง จังหวดั ชลบุรี ท่าน ปราณี อำ�เภอบ้านบึง จังหวัดชลบรุ ี ทา่ นเดินทางกลบั เมืองไทยเพ่ืออุปฏั ฐาก เร่ิมปฏิบัตวิ ิปัสสนากรรมฐาน โดยมี ดแู ลหลวงพ่อใหญอ่ ยา่ งใกลช้ ิด สอน ครูบาอาจารย์องคแ์ รกคอื ดร. วิปสั สนากรรมฐาน และยังได้รบั ภารธุระ ด�ำ เนินการกอ่ สร้างวดั ภทั ทนั ตะอาสภา- พระอาจารย์ ภัททนั ตะอาสภมหาเถระ ราม เพือ่ เปน็ อนสุ รณ์แด่หลวงพอ่ ภทั ธัมมาจรยิ ะ อัครมหากมั มฏั ฐานาจรยิ (หลวงพอ่ ใหญ)่ จนกระท่งั เปน็ ผูช้ ว่ ย ทนั ตะอาสภมหาเถระ หลวงพอ่ ใหญส่ อนวิปัสสนากรรมฐาน สอบอารมณโ์ ยคี และเป็นพระ วิปสั สนาจารยใ์ นกาลตอ่ มา ๒๕๓๗ - ๒๕๔๑ ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔ ๒๕๓๓ - ๒๕๓๗ ๒๕๔๑ - ๒๕๔๓ - จำ�พรรษา ณ วดั อมรครี ี จำ�พรรษา ณ ประเทศ กรงุ เทพมหานคร สหรฐั อเมรกิ า ในฐานะพระธรรม ทูตเพอ่ื ไปเผยแผ่งานวิปสั สนา - ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม กรรมฐานใหแ้ ก่ชาวไทยและ สาขาหลักและวธิ ีสอนสังคมศกึ ษา ชาวต่างชาติ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั
ประวตั ิ (ตอ่ ) - ไดร้ บั สมณศักด์ิ พระครูภาวนาวราลงั การ จำ�พรรษา ณ วัดภัททนั ตะอาสภาราม เจา้ อาวาสวดั ราษฎร์ ชั้นโท อ�ำ เภอบา้ นบงึ จังหวดั ชลบุรี ท่านไดร้ ับการ ฝ่ายวปิ สั สนาธรุ ะ (จร.ชท.วิ) แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ เจ้าสำ�นกั วิปสั สนาสมมิตร-ปราณี และเจ้าอาวาสวัดภัททนั ตะอาสภาราม เพอื่ ปฏิบัติ - ได้รับรางวลั พุทธคุณปู การ ภารกิจในหนา้ ท่ีพระวปิ สั สนาจารยแ์ ทนหลวง ประเภทรชั ตเกียรตคิ ุณ จากคณะ พ่อใหญ่ จนกระท่งั เปน็ พระอาจารยใ์ หญ่ฝ่าย กรรมาธกิ ารศาสนา ศิลปะและ วิปสั สนาธุระของวดั ภทั ทันตะอาสภาราม วฒั นธรรม สภาผ้แู ทนราษฎร ๒๕๔๔ - ปัจจบุ นั ๒๕๕๓ ๒๕๕๒ ไดร้ บั รางวัลเสาเสมาธรรมจกั ร ประเภทการสง่ เสรมิ การปฏบิ ตั ิธรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152