Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore a2รัชกาลที่10ทรงพระเจริญ

a2รัชกาลที่10ทรงพระเจริญ

Description: a2รัชกาลที่10ทรงพระเจริญ

Search

Read the Text Version

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ฯ ธ ผทู้ รงเออื้ อาทรพสกนิกรไทยนจิ นริ นั ดร์ ผเู้ รยี บเรยี งนายประสาร ธาราพรรค์ วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี ไทยนอ้ มนบ กม้ กราบกราน มงิ่ ขวญั ชาติ เทดิ พระบาท ราชบพิธ อดศิ ร พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทร เทพยวรางกรู ศูนย์บวรไทย ขอพระองค์ ทรงปกเกศ ไทยทว่ั หล้า ปวงประชา สขุ ร่มเย็น นิรตั ติศยั พระมหา กรุณาธิคุณ ซาบซง้ึ ใจ เทดิ องค์ไท้ ขอพระองค์ ทรงพระเจรญิ ประสาร ธาราพรรค์ ประพันธ์

พระราชประวัติ พระราชสมภพ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรพระนามเดิมของพระองค์ เดิม ว่า “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธารง สุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร พระราชโอรสพระองค์เดยี วในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เม่ือวัน จันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เวลา 17:45 น. เสด็จพระราชสมภพ ตรงกับ วันจันทร์ ขึ้น 6 ค่า เดือน 9 ปีมะโรง จัตวาศก อธิกวาร จุลศักราช 1314 นับเป็นปีท่ี 7 แห่งการเสด็จขึ้น ครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 9 พระนาม \"วชิราลงกรณ\" น้ัน สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงตั้งถวาย มาจาก \"วชิรญาณะ\" พระนามฉายาท้ังในพระองค์เองและในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงผนวช ผนวกกับ \"อลงกรณ์\" จากพระนามเดิมในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า \"ทรงเครื่องเพชรนิลจินดา\" หรืออาจแปลว่า \"อสุนีบาต\" ขณะเม่ือทรงพระราชสมภพน้ัน ประชาชนชาวไทยท้ังประเทศที่เฝ้ารอคอยพระประสูติกาล ต่างปลาบปลื้มปีติ ชื่นชมโสมนัส แซ่ซ้องในพระบุญญาธิการ ดังที่ ศาสตราจารย์หม่อมราชวงศ์ สุมนชาติ สวัสดิกุล ได้บรรยายถึงบรรยากาศก่อนเวลาเสด็จพระราชสมภพ ตราบจนถึงนาทีอันเป็น มงคลฤกษ์ว่า “...วันนี้ ครึ้มฟ้าคร้ึมฝนต้ังแต่เช้า ฝนไม่ได้ตกมานาน นายแพทย์ผู้ถวายการประสูติเข้า ประจาท่ีสักครู่ก็ประสูติพระราชกุมาร เวลา 17 นาฬิกา กับ 45 นาที ในนาทีเดียวกันน้ันเอง ฝนที่ แล้งมาตลอดฤดูกเ็ ริ่มโปรยปรายละอองลงมา ดูคล้ายๆ ฟา้ ก็รเู้ ห็นเป็นใจกับการประสูติครั้งนี้ อารามดี ใจสมประสงค์ของดวงใจทุก ๆ ดวง นายแพทย์ท่ีถวายการประสูติ ซึ่งพร้อมที่จะบอกแก่ที่ประชุม ณ พระที่น่ังอัมพรสถานว่า พระราชโอรส หรือ พระราชธิดา กล่าวออกมาด้วยเสียงอันต่ืนเต้นกังวานว่า ผชู้ าย แทนท่ีจะว่า พระราชโอรส ฝนโปรยอยูต่ ลอดเวลา แตรสังข์ดุริยางค์เริ่มประโคม ทหารบรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมีปืนใหญ่ท้ังบกและเรือยิงสะเทือนเล่ือนลั่น เสียงไชโยโห่ร้องก็ดังอยู่สน่ัน หว่นั ไหว สมใจประชาชนแลว้ ...ดวงใจทกุ ดวงมีความสุข...” ในหนังสือ สี่เจ้าฟ้า ฉบับเรียบเรียงใหม่โดย ลาวัณย์ โชตามระ เล่าว่า สยามมกุฎราชกุมาร เป็นทูลกระหม่อมเจ้าฟ้าเพียงพระองค์เดียวที่ไม่มี ‘ชื่อเล่น’ เหมือนสมเด็จพระเชษฐภคินีหรือพระ

ขนิษฐาอีก 3 พระองค์ อาจเพราะเป็น ‘ทูลกระหม่อมชาย’ เพียงพระองค์เดียว คาว่า ‘ชาย’ จึง เป็นเสมือนช่ือที่ใช้แทนพระองค์ พระองคม์ พี ระเชษฐภคนิ ี คอื ทลู กระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรัตนราชกัญญา สิริวฒั นาพรรณวดี และ พระขนษิ ฐภคินีสองพระองค์คอื สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกมุ ารี พระราชพิธสี มโภชเดือนและขน้ึ พระอู่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธี สมโภชเดือนและข้ึนพระอู่ข้ึน ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ในระหว่างวันท่ี 14-15

กันยายน พ.ศ. 2495 โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ทรงเป็นประธานเจริญ พระพทุ ธมนต์ ในเย็นวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2495 เช้าวันรุ่งขึ้น (15 กันยายน) จึงมีพิธีสงฆ์และพิธีพราหมณ์ในห้องพิธี เร่ิมด้วยพอถึงพระฤกษ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงจรดพระกรรบิดกริบพระเกศา ทรงเจิม ทรงผูก ด้ายพระขวัญ พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถา พราหมณ์ประกอบพิธีลอยกุ้ง ปลาทอง มะพร้าวเงิน มะพร้าวทองลงในพระขันสาคร แล้วพระสงฆ์ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา พระมหาราชครูเชิญเสด็จ ข้ึนพระอู่และเห่กล่อมเปิดศิวาลัยไกรลาศตามประเพณีพิธีของพราหมณ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงวางพระราชภัณฑ์ลงในพระอู่ตามพระราชประเพณีแล้ว พระมหาราชครูเชิญ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณฯ ข้ึนพระอู่แล้ว พระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลี พระบาทเวียนเทียนครบรอบตามประเพณี สภาวัฒนธรรมแห่งชาติได้จัดขับไม้มโหรีขับกล่อมถวายพระ พรในวาระนด้ี ว้ ย ในการนม้ี ีการถ่ายทอดเสยี งในพระราชพิธที างวทิ ยไุ ปทว่ั ประเทศ การศกึ ษา

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เมื่อทรงเจริญวัยพระชนมายุได้ 4 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ทรงเข้ารับ การศึกษาชั้นอนุบาลท่ี 1 ณ โรงเรียนจิตรลดา เม่ือเดือนกันยายน พุทธศักราช 2499 ขณะนั้น โรงเรียนนี้ยังตั้งอยู่ ณ พระท่ีน่ังอุดร พระราชวังดุสิต ต่อมาในปีพุทธศักราช 2500 จึงย้ายไปอยู่ สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต ได้ทรงศกึ ษาอยใู่ นโรงเรียนจิตรลดา จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อน จะเสด็จไปทรงศึกษาต่อท่ีประเทศอังกฤษ หนังสือ สี่เจ้าฟ้า ฉบับเรียบเรียงใหม่โดย ลาวัณย์ โชตามระ ได้เล่าถึงเจ้าชายในช่วงวัยเยาว์ ที่ศึกษาอยู่ในเมืองไทยว่า พระองค์เสด็จไปโรงเรียนตรงเวลาเสมอ เพราะจะตื่นบรรทมแต่เช้า ประมาณ 7 นาฬิกา เช้าวันใดไม่ต้องทาการบ้าน เพราะทาเสร็จแล้วตั้งแต่ตอนเย็น ก็จะทรงมีเวลา เล่นได้นาน อาจจะทรงจักรยานรอบสระกลมใหญ่ หรือบางครั้งก็เสด็จไปแวะเย่ียมกรมราชองครักษ์ และกองทหารรักษาการณ์ เพื่อทรงตรวจเรื่องการกินอยู่ แล้วก็เลยทรงเล่นหมากฮอสด้วยจนเวลา ประมาณ 8 นาฬิกา จึงเสด็จข้ึนเพ่ือสรงน้า เสวย และเตรียมพระองค์เสด็จไปโรงเรียนจิตรลดา ที่ เริ่มเรียนตั้งแต่ 9 นาฬิกา หยุดพักกลางวัน และเริ่มเรียนในภาคบ่ายอีกครั้งจนถึงเวลา 15.55 นาฬิกาจากบันทึกในหนังสือระบุว่า ทูลกระหม่อมฟ้าชาย มักจะทาวิชาคานวณได้ดีกว่าวิชาอื่น ซึ่ง มักได้คะแนนเต็มเสมอ ด้านภาษาดีพอสมควร และวิชาที่โปรดมากอีกอย่างคือวาดเขียนและป้ันรูป เสด็จฯ ไปทรงศกึ ษาต่อในระดับประถมศึกษาท่ีโรงเรียนคิงส์มีด แคว้นซัสเซกส์ และศึกษาระดับ มัธยมศึกษาท่ีโรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซทประเทศอังกฤษ ต้ังแต่ พ.ศ. 2509 จนถึง พ.ศ. 2513 หลงั จากนน้ั ทรงศกึ ษาตอ่ วชิ าทหารทโ่ี รงเรียนคิงส์สกูล ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เสร็จแล้ว

ทรงการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์ (ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์ เวลส์ ประเทศออสเตรเลยี เมือ่ พ.ศ. 2519 เมอื่ นวิ ัตปิ ระเทศไทยทรงรับราชการทหารแล้วทรงศึกษาต่อที่โรงเรยี นเสนาธกิ ารทหารบก รุน่ ที่ 46 เมอ่ื พ.ศ. 2520 ทรงเข้าศกึ ษาในสาขาวิชานติ ิศาสตร์ รนุ่ ท่ี 2 มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช เม่ือ พ.ศ. 2525 ทรงสาเร็จการศึกษานิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) และ พ.ศ. 2533 ทรงไดร้ บั การศกึ ษา ณ วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักรแหง่ สหราชอาณาจักร เหรียญทร่ี ะลึกทรงจบการศึกษาตอ่ ท่ีโรงเรียนเสนาธกิ ารทหารบก รุ่นท่ี 46 เม่อื พ.ศ. 2521 ทรงตั้งปณิธานมุ่งม่ันศึกษาเพ่ือชาติและประชาชน พระองค์มีพระราชดารัสให้คาม่ันไว้ในงานสโมสรสันนิบาต ซ่ึงรัฐบาลจัดข้ึนเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ท่ีทรง ดารงพระอิสริยศักด์ิ ‘สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร’ เม่ือวันท่ี 29 ธันวาคม 2515 ณ ทาเนียบรัฐบาลว่า“ข้าพเจ้าทราบตระหนักว่า ข้าพเจ้ามีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อประเทศชาติอย่างสูง และการปฏิบัติราชการแผ่นดินน้ัน เป็นภาระสาคัญใหญ่ยิ่ง ที่ต้องอาศัยทั้งสติปัญญาและความรู้ความสามารถ อย่างพร้อมมูล“ข้าพเจ้าจะต้องเพียรพยายาม ศึกษาและปฏิบัติฝึกฝนตนเองต่อไปอีก อย่างมาก เพื่อให้ สามารถเหมาะสม กับหน้าที่ ตามที่ทุกคนมุ่งหวัง…“ในโอกาสอันพิเศษนี้ จึงใคร่ขอให้ท่านทั้งหลายได้เป็น กาลังใจสนับสนุนข้าพเจ้า และได้ตั้งความปรารถนาร่วมกันกับข้าพเจ้าที่จะมุ่งมั่นประกอบกรณียกิจ ด้วยความ สามัคคีพร้อมเพรียง และด้วยความสุจริตยุติธรรม เพื่อยังความเจริญมั่นคงและความร่มเย็นเป็นผาสุกให้ บังเกิดแก่ชาติ ประเทศ และประชาชนย่ังยืน สืบไป…”

ช่วงทรงพระเยาว์ทรงช่ืนชอบเคร่ืองยนต์กลไก เมื่อทรงพระเจริญวัยขึ้น ก็ยิ่งมีพระอุปนิสัยสมกับเป็นผู้ชาย โปรดเล่นเครื่องยนต์กลไกต่างๆ อย่างเด็กผู้ชายทั้งหลาย เช่น รถยนต์ เคร่ืองบิน รถถัง เรือ และโปรดทอดพระเนตรหนังสือต่างๆ ที่เกี่ยวกับการช่าง การก่อสร้าง และมีพระนิสัยใฝ่รู้ เมื่อทรงสงสัยสิ่งใดก็จะทรงตั้งปัญหาถามด้วย ความชื่นชอบเครื่องบินและรถถังในวัยเยาว์ จึงไม่น่าแปลกใจ เมื่อเติบใหญ่เข้าสู่วัยหนุ่ม ทูลกระหม่อมฟ้าชายจะทรงเลือกศึกษาต่อด้านการทหาร สถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ ข้นึ เป็นสยามมกฎุ ราชกมุ าร

เม่ือพระองค์มีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลง กรณฯ ข้ึนเป็นสยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 มีพระนามตามจารึกในพระ สุพรรณบัฏว่า \"สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตย สมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยาม มกุฎราชกุมาร\" นับเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่ 3 ของไทยนับเป็นกระบวนการสืบราชสันตติ วงศท์ ชี่ ัดเจนตามกฎมณเฑียรบาลวา่ ด้วยการสบื สันตติวงศ์ พ.ศ.2460 ในมงคลวาระนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ถวายสัตย์ปฏิญาณใน การพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซ่ึงแสดงถึงน้าพระราชหฤทัยท่ี ทรงมุ่งม่ันจะบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อชาติบ้านเมือง และประชาชนชาวไทย เป็นท่ีซาบซึ้ง ประทับใจพสกนิกรอย่างยิ่ง ดังความว่า“ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานกระทาสัตย์ปฏิญาณสาบานต่อ ประเทศชาติและประชาชนชาวไทยเฉพาะพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เฉพาะพระพุทธมหามณี รัตนปฏิมากรท่ามกลางสันนิบาตนี้ว่า ข้าพเจ้าผู้เป็น สยามมกุฎราชกุมาร จะรักษาเกียรติยศและอริย ศักดิ์ ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานไว้ด้วยชีวิต จะภักดีต่อชาติบ้านเมือง จะซ่ือสัตย์ต่อ ประชาชน จะปฏบิ ัตภิ าระหนา้ ที่ทุกอย่าง โดยเต็มกาลังสติปัญญาความสามารถ และโดยความเสียสละ เพ่อื ความเจริญสงบสขุ และความมั่นคงไพบูลย์ของประเทศไทย จนตราบเท่าชวี ิตรา่ งกายจะหาไม่”

ทรงผนวช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระทัยศรัทธาจะอุปสมบทใน บวรพระพุทธศาสนา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ทรงผนวชใน วันจันทร์ท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 เวลา 15.37 น. ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดา ราม โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และสมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก) ถวายอนุสาสน์ ผนวชแล้วเสด็จฯ ไปทาทัฬหีกรรม ณ พระอุโบสถพระพุทธรัตนสถาน เมื่อ เวลา 16.59 น. โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เสร็จแล้วเสด็จฯ ไปประทับ ณ พระตาหนักปั้นหย่า วัด บวรนเิ วศราชวรวหิ าร พระมหารัชมงคลดิลก (บญุ เรอื น ปุณฺณโก) เป็นพระอภบิ าล สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงทาหน้าที่พระอาจารย์ ถวายการอบรมพระธรรมวินัย ขณะท่พี ระภกิ ษุสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกมุ าร เสดจ็ มาประทบั ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ราชวรวหิ าร กรุงเทพมหานคร ในระหวา่ งวนั ท่ี 6-20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2521 ผนวชอยู่ 15 วนั จงึ ลาผนวช

อภเิ ษกสมรสและพระราชโอรสพระราชธดิ า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อภิเษกสมรสทั้งหมดสามคร้ังกับ พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กติ ยิ ากร), สุจาริณี วิวชั รวงศ์ (นามเดิม: ยวุ ธดิ า ผลประเสริฐ) และท่านผู้หญงิ ศรีรศั มิ์ สวุ ะดี ทรงมพี ระราชโอรสธดิ า 8 พระองค์ (ซ่ึงจานวนน้ีได้ตกพระโลหิต (แท้ง) ไปหน่ึงพระองค์) ดังน้ี ประสตู แิ ตพ่ ระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ (พระนามเดิม: หมอ่ มหลวงโสมสวลี กติ ิยากร; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2500), ธดิ าของหมอ่ มราชวงศอ์ ดลุ กิต์ิ กบั ท่าน ผูห้ ญิงพนั ธส์ุ วลี กิติยากร พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจา้ ชายไม่มีพระนาม (ตกพระโลหติ เม่ือพระ ชันษาในพระอทุ รได้ส่ีเดือน), รอ้ ยเอกหญงิ พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกิติยาภา (7 ธนั วาคม พ.ศ. 2521) ประสูติแต่สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (นามเดิม: ยุวธิดา ผลประเสริฐ; 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2505), ธิดาของธนิต กับเยาวลักษณ์ ผลประเสริฐ จุฑาวัชร วิวัชรวงศ์ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจุฑาวัชร มหิดล; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2522), สมรสกับริยา กอฟ วัชรเรศร วิวัชรวงศ์ (พระนามเดิม: หม่อม เจ้าวชั รเรศร มหิดล; 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) จักรีวัชร วิวัชรวงศ์ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจักรี วัชร มหิดล; 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526) วัชรวีร์ วิวัชรวงศ์ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวัชรวีร์ มหิดล;14 มิถุนายน พ.ศ. 2528) พันโทหญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารี รตั น์ (พระนามเดิม: หมอ่ มเจา้ บษุ ยน์ ้าเพชร มหดิ ล; 8 มกราคม พ.ศ. 2530) ประสูติแตท่ า่ นผ้หู ญิงศรรี ัศม์ิ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514), ธิดาของอภิรุจ กบั วนั ทนยี ์ สุวะดี พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (29 เมษายน พ.ศ. 2548)

ส่วนในเอกสารเฉลิมพระเกียรติของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร จะใหข้ อ้ มูลว่าพระองค์มีพระราชธิดาสองพระองค์ และพระราชโอรสหน่ึงพระองค์ คือ พระ เจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ และพระ เจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าทปี งั กรรัศมีโชตเิ ทา่ นั้น ความสมั พันธ์ภายในพระราชวงศ์ ทรงห่วงใยดูแลเอาใจใส่พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช พระราชบิดาโดยเสมอมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ เดียวใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ โดยมีเรือ่ งเล่าถงึ ความรักความอาทรของท้งั สามพระองค์ อีกทั้งยังมีภาพแห่งความ ประทับใจตลอดช่วงระยะเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมาในระหว่างเสด็จพระราชดา เนินไปประกอบพระราช กรณยี กิจ อย่างเม่ือวนั ศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 มีการเผยแพร่พระบรมฉายาลักษณ์ ในขณะ ท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ในวัยเยาว์ ทรงบังคม ทูลกระหม่อม พอ่ และสมเดจ็ แม่ ในระหว่างเสด็จฯไปทรงเปดิ งานกาชาด ประจาปี พ.ศ.2499

เม่ือวนั ท่ี 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2555 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศใน ขณะน้ัน) เสด็จพระราชดาเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ทรงบาเพ็ญพระราชกุศล ถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม ขณะเรือพระที่น่ัง สพุ รรณหงสเ์ คลอ่ื นผา่ นโรงพยาบาลศิริราช ได้ทรง ประทับยืนถวายความเคารพ พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ ซ่ึงประทับอยู่ที่ โรงพยาบาลศริ ริ าช อกี หนงึ่ ภาพประทับทม่ี กี ารเผยแพรต่ อ่ เป็นจานวนมากที่สุดภาพหนึ่ง คือเม่ือครั้งท่ีพระราชพิธี ฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี เดอื นมิถุนายน พ.ศ.2549 ในระหวา่ งท่ีทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะ ในงานพระราชทานเลี้ยง โอกาสท่ีนายจอร์จ ดับเบิล ยู บุช ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (ขณะน้ัน) และภริยา ได้เดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงดูแลฉลองพระองค์ถวาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย

เดชฯ ซ่ึงเป็นแบบอย่างของการดูแลซ่ึงกันและกันของพ่อ-ลูก ในวันที่ทรงเจริญพระชนมมายุมากข้ึน เฉกเช่นเดียวกบั เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ยังทรงพระเยาว์ นั้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็นผู้จัดฉลองพระองค์ให้พระราชโอรส ด้วยพระองคเ์ อง ทรงมีความรกั มพี ระทัยหว่ งใย สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ “สมเด็จแม่” อยา่ ง ที่สุด สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ พระองค์มีพระทัยห่วงใยรักพระ ราชมารดาอย่างย่ิง ขอยกเหตุการณ์ที่แสดงถึงความรักความห่วงใยพระราชมารดา อาทิ ครั้ง พระองคเ์ สด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงพระราชกรณยี กิจกับ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นเร่ืองเล่าจากข้าราชบริพาร หนึ่งในผู้ที่เคยเข้าถวายงานในฐานะช่างภาพ ที่เคยติดตามพระองค์ท้ัง สอง ได้เผยแพร่ภาพผ่านเฟซบุ๊กชื่อ Napan Sevikul (ผู้ท่ีเคยเข้าถวายงานในฐานะช่างภาพ) พร้อม ด้วยเร่ืองเล่า ว่า “ตามเสด็จฯ มีสนุกบ้างไหม? ถ้า “มีความสุข” ละก็ ตอบเลย ว่าทุกเวลานาที แต่

ถ้าสนุก ซ่ึงมักเป็นประสบการณ์ท่ีจดจาไม่มีวันลืม ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน เช่น บ่ายวันหน่ึง มีขบวน สมเด็จพระนางเจ้าฯ ตามหมายว่าเสด็จฯพระองค์เดียว โดยผู้ติดตามขบวน ได้การบอกเล่าแล้วว่า “เปียก” เพราะ “จะเสด็จฯ ตรวจป่า” (มีพระราชประสงค์ไปทอดพระเนตรพันธุ์ไม้แปลกๆ ในป่าพรุ เช่น หมากแดง หมากช้างร้อง หลาวชะโอน เฉพาะอย่างย่ิงย่านลิเพา) เปียกก็คือเปียก ..เปียกอยู่ บอ่ ยๆ จนเป็นเรือ่ งปกติของเมอื ง “ฝนแปด ..แดดส”่ี อยา่ งนราธิวาส (คิดเอง) แต่ “เปียก” วันน้ัน ไม่ เหมือนวันอ่ืน และ “เสด็จฯ ตรวจป่า” ก็ไม่ใช่ป่าเขาตันหยง หลังพระตาหนัก แต่เป็น “ป่าพรุ” ท่ี จนถึงวันน้ี ก็ไมแ่ นใ่ จว่าพรไุ หน? แต่เสน้ ทาง มีแต่การลุยน้าตงั้ แตร่ ะดับเข่า ไ ป จ น ถึ ง ร ะ ดั บ ค อ ขบวนรถ แล่นไปถึงขอบพรุ ก็ลงเดิน ย่าน้า .. เสียงคุยกันแต่แรกก็ชักจะเงียบ เพราะป่าพรุน้ัน เดิน เขา้ ไปกา้ วเดียว แสงกม็ ืดแลว้ ..? เสียงตบยุง เสียงตีแมลง ดังข้ึนเป็นระยะๆ .. เช่นเดียวกับความลึก ของน้า ท่ีมีน้าใสก็แต่ผิวๆ ต่าลงไปศอกเดียวก็เป็นโคลนเหนียวหนึบที่เกิดจากการทับถมของใบไม้นับ ร้อย นับพนั ปี .. เสื้อผ้า เร่ิมเปียก เสียงหัวเราะ มีเป็นคร้ังคราว เพราะหลายคน เร่ิมสูญเสียรองเท้า ไปกับเลน ท่ีชักขึ้นมาได้แต่เท้าเปล่า ไปได้สักพัก ก็เปียกปอนกันถ้วนท่ัวทุกคน ผู้ท่ีวางแผนดีก็อาจจะ เปียกน้อยหน่อย เพราะไต่เอาตามต้นไม้ล้มที่มีเป็นระยะๆ .. แต่ก็ไม่ค่อยรอดหรอก .. เพราะบางทีก็ เหน็ ล่นื ลงน้าไปทงั้ ตัว เจ้านาย ก็เปียกเท่าข้าราชบริพารนั่นแหละ แต่สมเด็จพระนางเจ้าฯ รับสั่งอย่างภาคภูมิใจว่า พระองค์ท่าน เปียกน้อยกว่าคนอ่ืนๆ เพราะ “องครักษ์ประจาตัวฉัน ไม่ยอมให้ฉันเปียกเลย ..ตรงไหน น้าลึกๆ ก็ยกฉันจนตัวลอยพ้นน้าเลย” (องครักษ์ประจาพระองค์ : ทรงหมายถึง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ท่ีโดยเสด็จพระราชดาเนินในวันนั้น) 3-4 ชั่วโมงในป่าพรุ เต็มไปดว้ ยเสียงย่านา้ เสียงหายใจหอบ (ของตัวเอง) และเสียงหัวเราะดังข้ึนเป็น ระยะๆ เมื่อคนใดคน หนึ่งในคณะ ก้าวพลาดลงไปในน้าท่ีกะความลึกไม่ได้ (เสียงหัวเราะจะดังเป็นพิเศษ เมื่อมีใครจมน้าลง ไปในระดับเกือบศีรษะ) ช่างภาพตามเสด็จฯ เอาชีวิตรอดกลับมาได้ พร้อมกล้องแห้งๆ แต่เสื้อผ้าสี น้าตาลที่ใส่ไปวันนัน้ หลายเป็นสดี าสนิทหมดทางซกั ]

นอกจากการประพฤติปฏิบัติตนของพระองค์ท่ีแสดงความรักความเอ้ืออาทรห่วงใยพระราช มารดาอย่างที่สุดแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 พระองค์ยังพระราชนิพนธ์ คาประพันธ์อันเป็นบทกลอนสุดซาบซ้ึงสะท้อนให้เห็นถึงความรักท่ี \"ทูลกระหม่อมชาย (สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณฯ)\" มีต่อ “สมเด็จแม่” อย่างล้นพ้น ทรงพระราชนิพนธ์เน่ืองใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันท่ี 12 สิงหาคม 2515 ในระหว่างท่ีทรงศึกษาวิชาการทหาร ณ โรงเรียนนายร้อยดันทรูน เครือรัฐออสเตรเลีย ขณะน้ันพระองค์เจริญพระชนมายุได้ 20 พรรษา ซึง่ บทพระราชนิพนธน์ ี้ บทกลอนถวายพระมารดา ทชี่ ่ือวา่ \"ชายรกั แม่ สุดหัวใจ\" วนั เฉลิม สมเดจ็ แม่ ได้แต่คิด ขอน้อมจติ ราลึกถงึ คะนึงหา พระคุณแม่ มากล้น เหลือคณนา ลูกเกิดมา โชคดี มแี ม่งาม ไปเมืองไหน ถูกถาม ถงึ นามแม่ วา่ สวยแท้ ราชินี แหง่ สยาม ควีนสิริกติ ์ิ จาข้นึ ใจ ในพระนาม ชมว่างาม เพริศพรงิ้ ยอดหญิงไทย แม่รักชาย ห่วงชาย ชายกร็ ู้ ชายจะสู้ สุดชีวา อย่าสงสัย จะทาตัว ให้สม แม่วางใจ จะรักไทย กู้ศักดิศ์ รี จกั รวี งศ์ จะรกั หญิง ที่เขา เข้าใจแม่ จะแนว่ แน่ พทุ ธศาสน์ ถอื พระสงฆ์ การสวดมนต์ ไหว้พระ จะดารง จะม่นั คง รกั ชาวไทย ไม่เสอื่ มคลาย ขอถวาย สมเด็จแม่ เพยี งแค่น้ี จงโชคดี มีสุข ทุกขจ์ ากหาย อยา่ คิดมาก ทาพระทัย ให้สบาย เรอ่ื งลกู ชาย แมอ่ ยา่ เศร้า เขารักดี ชายขอกราบ ลงที่ตกั พร้อมรักแท้ ชายรกั แม่ สดุ หัวใจ ชายไมห่ นี ชายจะเปน็ กาลังใจ ป้องไพรี มอบชีวี และเลือดเนอ้ื เพื่อแม่เอย …………………………………………………………. ทรงเยี่ยมเยือนใหค้ วามเคารพสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี สมเดจ็ ย่าโดยเสมอมา

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เคยรับส่ังถึงการอภิบาล พระราชนัดดาของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ดังนี้“..ไม่ได้แนะนาอะไรเป็นพิเศษ เพราะ ท่านไม่เคยรับสงั่ ถงึ ตาแหนง่ ถึงลาภ ถึงยศ ท่านเพยี งแตใ่ ห้เป็นคนดี รับผิดชอบในหน้าท่ี ในตาแหน่ง ของตนและไม่ให้ทาอะไรเป็นที่ขายหน้าหรือท่ีเสียอกเสียใจของพ่อแม่หรือบุพการีเสียใจ … ท่านไม่ได้ สอนแบบ Formal (ทางการ) อะไร อยากให้เป็นคนดี อยากให้มีชีวิตท่ีดี เพราะว่าไม่ว่าเราจะเป็น ตาแหนง่ อะไร ถ้าทาตัวดี ปฏิบัติหน้าท่ีของเรา เราก็เจริญต่อไป..” ต่อมาเมื่อวันท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2516 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ได้เข้าเฝ้า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพ่ือทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายดอกไม้ธูปเทียนแพ ในงานพระ ราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ณ วังสระปทุม ภายหลังเสร็จส้ินงานวันพระราชพิธีฯ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2515 ในช่วงที่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ยังทรงมีพระชนม์ชีพ หลายวาระ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ได้ตามเสด็จพระราชดาเนินไปปฏิบัติพระราช กรณยี กจิ หลายตอ่ หลายครงั้ ดว้ ย ทรงใหก้ ารเคารพเยีย่ มเยือนสมเด็จพระเจ้าพนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธวิ าส ราชนครินทร์ สมเดจ็ ปา้

ทรงให้ความเคารพนับถือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สมเด็จป้า) โดยเสมอมา อาทิ เม่ือปี พ.ศ.2550 ณ เสด็จพระราช ดาเนินไปทรงสรงน้าสงกรานต์ ศาลาทรงงาน วังเลอดิส ถึงแม้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงดารงพระอิสริยยศที่สูงกว่า ในฐานะสมเด็จพระยุพราช แต่ก็ได้ ประทับกับพื้น ซง่ึ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพระจริยวัตรอันงดงามของพระองค์ ท่ีทรงแสดงความเคารพ ตอ่ พระบรมวงศ์ชน้ั ผู้ใหญใ่ นเวลาทเ่ี ข้าเฝา้ ฯ เป็นการสว่ นพระองค์อยู่เสมอ ทรงมีความรกั ผกู พนั ห่วงใยสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯพระขนษิ ฐาเสมอมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯทรงมีความรักความเอ็นดูความ ผูกพันพระขณิษฐา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ฯ อย่างที่สุด ซ่ึงมีหลาย เหตุการณ์ มีการเผยแพร่พระฉายาลักษณ์เม่ือครั้งทรงพระเยาว์ ที่ประทับใจตราตรึงใจผู้พบเห็น อาทิ พระฉายาลักษณ์สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณฯ (พระอิสริยยศขณะน้ัน) ทอดพระเนตร และทรงลูบพระพักตร์พระขนิษฐา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาฯ (พระอิสริยยศ ขณะนั้น) ด้วยความรกั และทะนุถนอมย่ิง ขณะบรรทมในพระอู่

เม่ือท้ัง 2 พระองค์ทรงเจริญพระชันษา ต่างทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแบ่งเบาพระราช ภาระ ทลู กระหม่อมพ่อและสมเดจ็ แม่ ในด้านตา่ งๆตลอด หลายวาระก็มีพระบรมฉายาลักษณ์ที่สะท้อน ใหเ้ หน็ ถึงสายใยรกั ความผกู พนั ของ 2 เจ้าฟ้า ผเู้ ป็นม่ิงขวัญของปวงชนชาวไทย โดยเมื่อวนั ที่ 29 เมษายน พ.ศ.2556 สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร (พระอสิ ริยยศในขณะนน้ั ) พร้อมดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราช ดาเนนิ ไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ เพอื่ รว่ มพระราชพิธีขนึ้ ครองราชย์ของสมเด็จพระราชาธิบดวี ิลเลม- อเล็กซานเดอร์ แหง่ เนเธอรแ์ ลนด์ พระบรมฉายาลักษณ์ทที่ ัง้ 2 พระองค์ทรงโบกพระหตั ถแ์ ละแยม้ พระสรวญใหแ้ ก่ผู้มาเฝ้าฯ รับเสดจ็ ไดถ้ ูกขนานนามจากส่อื มวลชนตา่ งประเทศว่า “Siam Smile” หรือ “ยิ้มสยาม” ทรงมอี ัจฉรยิ ภาพทางดนตรี และทรงขบั ร้องเพลง “ลาวดวงเดือน” ถวายสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ “สมเด็จแม่”

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงมีความสามารถในการเล่น เคร่ืองดนตรีหลายชนดิ โดยทรงไดร้ ับการสง่ เสรมิ ความรู้ความสามารถทางด้านการดนตรีจากพระราช บิดา บ่อยครั้งจะทรงดนตรีร่วมกันเป็นการส่วนพระองค์ในพระราชฐานนั้นมีเป็นคร้ังคราว และหาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการท่ี 9 จะทรงรับแขกเป็นการส่วนพระองค์ที่พระตาหนักเรือนต้นใน บรเิ วณสวนจติ รลดา มีคร้ังหน่ึงซ่ึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จลงเสวยตอนค่า เป็นการเล้ียงต้อนรับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จกลับจากการศึกษาที่ประเทศออสเตรเลีย วันน้ันตรงกับวันดนตรีไทย อุดมศึกษาท่ีจังหวัดเชียงใหม่ นักเรียนและครูด้านดนตรีต่างก็ขึ้นไปจังหวัดเชียงใหม่กันหมด ต้องตาม นักเรียนนายเรือมาบรรเลงแทน ครูยรรยง แดงกูร และ ศ.เกียรติคุณ นพ.พูนพิศ อมาตยกุล ก็ถูก ตามเข้าไปช่วยกะทันหัน โดยมี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงซออู้ ครูยรรยง สีซอด้วง เป็นวง มโหรีที่ไม่เรียบร้อยนัก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ก็มีพระราชประสงค์ทรงฟังเพลง “ลาวดวงเดือน” ซ่ึงเป็นเพลงท่ีทรงโปรดมากรับสั่งกับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูรฯ ว่า “ชายร้องเพลงดาวดวงเดือนให้แม่ฟังหน่อย ร้องแบบที่แม่ชอบนะ แม่น้อยบรรเลง เพลงเข้า แล้วให้นอ้ งเล็กฟอ้ นด้วยนะ ….” ศ.เกียรติคุณ นพ.พูนพิศ อมาตยกุล น่ังอยู่หน้าวงดนตรี ได้ยินชัดทุกองค์ท่ีรับส่ัง สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ก็เสด็จมาประทับหน้าวงดนตรี รับส่ังเบาๆว่า “คอยบอกเน้ือรอ้ งดว้ ย จาไดไ้ มห่ มด เนื้อยาวต้ังหลายท่อน” และทรงร้อง 2 เท่ียวกลับ ตามแบบของ กรมหม่นื พิไชยมหนิ ทโรดม

ทรงประกอบภารกิจพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช เหตุการณ์สาคัญที่ประทับใจตราตรึงในหัวใจคนไทยทั้งชาติในพระราชกรณียกิจท่ี สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงประกอบภารกิจ คือ พระราชพิธีถวายพระ เพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ พุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 15.00 น .สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงบาเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุมาศ ในพระราช พิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ณ พระที่น่ังดุสิต มหาสาท พระบรมมหาราชวัง ในการน้ี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะพระ บรมศพ ทรงจุดธูปเทียนนมัสการบูชาพระพุทธรูปประจาพระชนมวาร ทรงประเคนพัดกรองท่ีระลึก งานออกพระเมรุแด่สมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะท่ีจะถวายพระธรรม เทศนา และพระราชาคณะที่จะสวดศราทธพรต 30 รูป พระสงฆ์ท่ีจะสดับปกรณ์ 89 รูป เท่าพระ ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ พระสงฆ์ท่ีจะสวดพระอภิธรรม 8 รูป บรรพชิตจีนและญวน 20 รูป พระราชาคณะถวายพระธรรมเทศนา ถวายไทยธรรมบูชากัณฑ์เทศน์ จากน้ันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทอดผ้าไตรถวายพระเทศนา พระสงฆ์สวดศราทธพรต พระสงฆ์ สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา บรรพชิตจีนและญวนสวดมาติกา สดับปกรณ์ และถวายอนุโมทนา ทรงจุดธูปเทียนที่แท่นเตียงพระสวดพระอภิธรรม แล้วเสด็จพระราช ดาเนินกลบั พระราชพธิ ีเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศ

วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 07:24 น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินไปในการเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศ ในการ น้ีทรงจดุ ธปู เทียนเครอื่ งราชสกั การะพระบรมศพและเครื่องนมสั การบูชาพระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร ทรงทอดผ้าไตร ก่อนอัญเชญิ พระบรมโกศพระราชาคณะ 30 รูป สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวาย อดิเรก ถวายพระพรลา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลื้องพระโกศทองใหญ่เชิญพระลอง ลงจาก พระแท่นสุวรรณเบญจดลไปประดิษฐานท่ีพระยานมาศสามลาคาน ท่ี ประตูกาแพงแก้วพระที่น่ังดุสิต มหาปราสาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ตามไปส่งท่ีชาลาพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท มุขเหนือ อัญเชิญพระบรมโกศด้วย พระยานมาศสามลาคานออกจากพระบรมมหาราชวัง ถวายนพปฎลมหา เศวตฉัตรคันดาลกางกั้น แล้วยาตราขบวนพระบรมราชอิสริยยศไปยังพระมหาพิชัยราชรถ หน้าวัด พระเชตุพนวิมลมังคลารามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดาเนินไปยังพลับพลายก หน้าวัดพระเชตุ พนวิมลมังคลาราม ทรงทอดผ้าไตร 20 ไตร ท่ีท้ายเกรินบันไดนาคพระมหาพิชัยราชรถ พระสงฆ์ สดับปกรณเ์ ที่ยวละ 5 รูป อัญเชิญพระบรมโกศ ข้ึนประดิษฐานในบุษบกพระมหาพิชัยราชรถ ยาตรา ขบวนแห่อัญเชิญพระบรมโกศ ไปยังพระเมรุมาศท้องสนามหลวง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ตาม เม่ือขบวนพระบรมราชอิสริยยศแห่อัญเชิญพระบรมโกศเข้าสู่ท้องสนามหลวง ขณะนั้นสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปประทับรอท่ีพลับพลายกนอกราชวัติพระเมรุมาศ เมื่อเทียบพระมหาพิชัยราชรถ อญั เชิญพระบรมโกศลงจากพระมหาพิชัยราชรถโดยเกรินบันไดนาคประดิษฐานพระบรมโกศบนราชรถ ปืนใหญ่เพ่ือตั้งขบวนพระบรมราชอิสริยยศ สาหรับเวียนพระเมรุมาศ เสร็จแล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จฯ ตามพระบรมโกศเวียนพระเมรุมาศ ครบ 3 รอบแล้ว สมเด็จ พระเจ้าอย่หู วั และพระบรมวงศานวุ งศเ์ สด็จฯ ไปประทับ ณ พระที่น่ังทรงธรรม เทียบราชรถปืนใหญ่ที่ เกรินบันไดนาคพระเมรุมาศอัญเชิญพระบรมโกศข้ึนประดิษฐาน ณ พระจิตกาธาน ปิดพระฉากและ พระวิสูตร ประกอบพระโกศจันทน์ ตั้งแต่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว เปิดพระฉากและพระวิสูตร สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนพระเมรุมาศ ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองทองน้อยถวายราชสักการะพระบรมศพ เสด็จลง จากพระเมรุมาศ เสด็จขึ้นผ่านพระที่นั่งทรงธรรมไปประทับรถยนต์พระท่ีนั่งหลังพระท่ีน่ังทรงธรรม เสด็จพระราชดาเนนิ กลบั พระราชพิธีทางการ

วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 17:15 น. สมเด็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จพระราชดาเนินไปยัง พระท่ีน่ังทรงธรรม ณ พระเมรุ มาศ ท้องสนามหลวง ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทรงธรรม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย สาหรับพระบรมศพทรง ธรรมท่ีพระเมรุมาศ สมเด็จพระสังฆราชถวายพระธรรมเทศนาจบ พระราชาคณะ 50 รูป สวดศ ราทธพรต ถวายไทยธรรมบูชากัณฑ์เทศน์และทรงทอดผ้าไตร ถวายพระเทศน์และพระสงฆ์ที่สวดศ ราทธพรตสดบั ปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ออกจากพระท่ีนั่งทรงธรรม เสด็จฯ ไปประทับที่ มุขหน้าพระท่ีน่ังทรงธรรม ผู้แทนจิตอาสาเชิญดอกไม้จันทน์ 9 พานผ่านพระที่นั่งทรงธรรม ถวาย ความเคารพแล้วเดินออกจากมณฑลพิธี จากนั้นเสด็จข้ึนพระเมรุมาศ ทหารกองเกียรติยศพระบรมศพ เป่าแตรนอน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนดอกไม้จันทนถวายพระเพลิงพระบรมศพ ชาว พนักงาน ประโคมกระทั่งมโหระทึก สังข์ แตรงอน แตรฝร่ัง ปี่ กลองชนะและปี่พาทย์ ทหารกอง เกียรติยศ 3 เหลา่ ทัพ ถวายความเคารพ วงดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี และยิงปืนเล็ก ยาว 9 นัด พร้อมกับทหารปืนใหญ่ยิงปืนใหญ่ถวาย พระเกียรติ 21 นัด เสด็จฯ ไปประทับมุขหน้า พระที่น่ังทรงธรรม จากนั้น คณะบุคคลต่างๆ จะได้ข้ึนถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระ เจา้ อยหู่ วั มีพระราชปฏิสนั ถารกับพระราชพธิ ีจรงิ (ส่วนพระองค)์

วนั เดียวกัน เวลา 22:30 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปยังพระท่ีนั่งทรงธรรม พระสงฆ์ สวดมาติกา ทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์ 30 รูป สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ออกจาก พระท่ีน่งั ทรงธรรรม สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เสด็จขึ้นพระเมรุมาศ พร้อมพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงจุดไฟ ที่ดอกไมจ้ นั ทน์เพอ่ื ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ อีกสักครู่ ประชาชนจึงเห็นควันลอยออกมาจากพระเมรุ มาศ จากนั้นสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปประทับมุขหน้าพระที่นั่งทรงธรรม เจ้าพนักงานปฏิบัติการ ถวายพระเพลิงพระบรมศพเสร็จแล้ว ทรงทอดผ้าไตรท่ีพระจิตกาธาน พระสงฆ์ 10 รูป สดับปกรณ์ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดาเนินกลับ พระราชพิธีเก็บพระบรมอัฐิ เชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราช

สรีรางคารกลับสู่พระบรมมหาราชวังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรทรง เกบ็ พระบรมอัฐพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 8:43 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จพระราชดาเนินไปยังพระเมรุมาศ พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จข้ึน พระเมรุมาศ เจ้าพนักงานภูษามาลาเปิดผ้าเยียรบับที่ถวายคลุมพระบรมอัฐิ ทรงจุดธูปเทียนถวายราช สักการะพระบรมอัฐิ ถวายสรงพระบรมอัฐิด้วยน้าพระสุคนธ์ทั่วแล้ว เจ้าพนักงานภูษามาลาถวายผ้า เยียรบับคลุมพระบรมอัฐิ ทรงจุดธูปเทียน เคร่ืองทองน้อยสาหรับพระบรมอัฐิบูชาพระสงฆ์ ทรงทอด ผ้าไตรถวายพระ 3 หาบ พระสงฆ์ข้ึนสดับปกรณ์พระบรมอัฐิ พระสงฆ์สดับปกรณ์ครบ 9 รูป แล้ว เจา้ พนักงานภูษามาลาเปิดผ้าคลุมพระบรมอัฐิทรงเก็บพระบรมอัฐิสรงพระสุคนธ์แล้วประมวลลงในพระ โกศทองคาลงยารวม 6 พระโกศทรงพระราชทานพระโกศพระบรมอัฐิแก่พระบรมวงศ์แล้ว ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้เจา้ พนกั งานภูษามาลาอญั เชญิ พระโกศพระบรมอัฐิลงจากพระเมรุมาศไปยังพระที่ นั่งทรงธรรม เสด็จฯ ตามประทับที่หน้าอาสน์สงฆ์เจ้าพนักงานภูษามาลาอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ ประดิษฐานในบุษบกเหนือพระแท่นแว่นฟ้า ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองราชสักการะพระบรมอัฐิแล้วทรง ประเคนโตกสารับภัตตาหาร 3 หาบ แด่พระสงฆ์ 9 รูป พระสงฆ์ 3 หาบ รับพระราชทานฉันเสร็จ แล้ว เสด็จฯ ไปถวายเครื่องสังเค็ดงานถวายพระเพลิงพระบรมศพแด่พระสงฆ์ 3 หาบและพระสงฆ์ 30 รูป พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ออกจากพระที่นั่ง พระสงฆ์อีก 30 รูป ขึ้นน่ังยัง อาสนส์ งฆ์ สวดมาติกา ทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์สดับปกรณ์พระบรมอัฐิถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ออกจากพระทน่ี ัง่ ตัง้ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศอญั เชิญพระโกศพระบรมอัฐแิ ละพระบรมราชสรีรางคาร เขา้ ไปยงั พระบรมมหาราชวังพระราชพธิ ีทรงบาเพญ็ พระราชกุศลพระบรมอฐั ิ วันเสาร์ท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 17:32 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จพระราชดาเนินไปยังพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ทรงจุดธูปเทียนถวายราชสักการะพระบรมอัฐิและพระอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุพการีท่ีประดิษฐานบน พระแท่นมหาเศวตฉัตรและทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ ซึง่ ประดิษฐาน ณ พระแท่นแวน่ ฟ้า แล้วทรงจุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูปประจา พระชนมวารสมเด็จพระบรมราชบุพการีและพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชฯ แล้วทรงประเคนพดั รองที่ระลึกงานทรงบาเพ็ญพระราชกุศลพระบรมอัฐิแด่พระราชาคณะที่ถวาย

พระธรรมเทศนา พระราชาคณะ 31 รูป ท่ีสวดพระพุทธมนต์ พระสงฆ์ที่รับอนุโมทนา 4 รูป พระสงฆ์ท่ีสวดมาติกาและสดับปกรณ์ 12 รูป ทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์สดับปกรณ์พระบรมอัฐิถวาย อนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา ออกจากพระที่นั่ง ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทรงธรรม ทรงศีล พระราชาคณะถวายพระธรรมเทศนาจบ ถวายอนุโมทนา (บนธรรมาสน์) พระสงฆ์ 4 รูปรับ อนุโมทนา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมบูชากัณฑ์เทศน์ และทรงทอดผ้าไตร ถวายพระเทศนแ์ ละพระสงฆ์ที่รับอนุโมทนา รวม 5 รูป ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา ออกจากพระที่ นั่ง ทรงทอดผ้าไตรพระสงฆ์ 12 รูป สวดมาติกา สดับปกรณ์พระบรมอัฐิและพระอัฐิสมเด็จพระบรม ราชบุพการที ่ีอัญเชิญออกมาในการพระราชกศุ ลน้ี ถวายอนโุ มทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา ออก จากพระท่ีนั่ง เสด็จพระราชดาเนินกลับพระราชพิธีเลี้ยงพระ และเชิญพระบรมอัฐิประดิษฐาน ณ พระ ที่นง่ั จักรีมหาปราสาทร้ิวขบวนที่ 5 เชิญพระโกศพระบรมอัฐิโดยพระท่ีน่ังราเชนทรยานไปประดิษฐาน ณ พระทน่ี ง่ั จักรมี หาปราสาท วันอาทิตย์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 10:43 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เสด็จพระราชดาเนินไปยังพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวงั ทรงจดุ ธปู เทยี นถวายราชสกั การะพระบรมอัฐพิ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดชฯ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระพุทธรูปประจาพระชนมวาร ที่หน้าพระแท่น มหาเศวตฉัตร พระสงฆ์ 30 รูป ที่สวดพระพุทธมนต์แต่วันก่อนถวายพระพร ทรงประเคนภัตตาหาร พระสงฆ์รับพระราชทานฉัน แล้วทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวาย พระพรลา ออกจากพระท่นี ั่ง ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทรงธรรม ทรงศีล พระราชาคณะถวายพระธรรม เทศนาจบแล้ว ถวายอนุโมทนา พระสงฆ์ 4 รูปรับอนุโมทนา ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมบูชา กัณฑ์เทศน์แล้วทรงทอดผ้าไตร ถวายพระเทศน์และพระสงฆ์ท่ีรับอนุโมทนา รวม 5 รูป สดับปกรณ์ ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา ออกจากพระท่ีน่ัง พระสงฆ์ 89 รูป เท่าพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ข้ึนนั่งยัง อาสน์สงฆ์สวดมาติกา ทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์สดับปกรณ์เป็นเท่ยี วๆ จบครบ 89 รูป (เท่ียวแรก 12 รูป สดับปกรณ์ แล้วถวายอนุโมทนา ถวายอดเิ รก ถวายพระพรลา เทยี่ วต่อไปเทยี่ วละ 11 รปู จานวน 7 เที่ยว ข้ึนสดับปกรณ์แล้วลงจาก พระทนี่ ่ัง)พระราชพธิ ีบรรจพุ ระบรมราชสรรี างคาร[แก้]ริ้วขบวนท่ี 6 ขบวนกองทหารม้า เชิญพระบรม

ราชสรีรางคารจากพระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยรถยนต์พระท่ีนั่ง ออกจาก พระบรมมหาราชวังไปบรรจุ ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และวัดบวรนิเวศราช วรวิหารวันเดียวกัน เวลา 17:28 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ไปยงั ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยมีพระบรมวงศานุวงศ์เฝ้าฯ รับเสด็จเจ้าพนักงาน ภษู ามาลาอัญเชญิ พระผอบพระบรมราชสรรี างคาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยพระราชยานจากพระศรีรัตนเจดีย์ มีตารวจหลวงนา ไปออกประตูเกยหลังวัดพระศรีรัตนศาสดา ราม อัญเชิญไปถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ รถยนต์พระท่ีนั่ง แล้วรถพระท่ีนั่งเคล่ือนเข้าร้ิวขบวนที่ 6ขบวนกองทหารม้านาและตามต้ังขบวน พร้อมอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารจากวัดพระศรีรัตนศาสดารามโดยรถยนต์พระที่น่ัง ออกจาก พระบรมมหาราชวังทางประตูวิเศษไชยศรีไปยังวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยขบวนทหารม้านา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประทับรถยนต์พระท่ีนั่ง ทรงอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร กองทหารม้าตาม เจ้าพนักงานภูษามาลาอัญเชิญพระบรมราช สรรี างคารจากรถยนต์พระท่ีนั่งเข้าประตูวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปยังพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ทรงวางพมุ่ ดอกไม้ ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองทองน้อยถวายราชสักการะ แล้วเสด็จ ฯ ไปยังพระอุโบสถ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองนมัสการบูชาพระพุทธอังคีรส พระ ประธาน พระอุโบสถ ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองทองน้อยถวายราชสักการะพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระราชสรีรางคารสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณีพระบรม ราชินี ในรัชกาลท่ี 7 และพระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระสงฆ์สวดมาติกา ทรงทอดผ้าไตรพระสงฆ์ 30 รูป สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก แลว้ ทรงบรรจุพระบรมราชสรรี างคารท่ี ฐานพุทธบลั ลงั กพ์ ระพทุ ธอังคีรส ชาวพนักงานประโคมกระท่ัง มโหระทึก สังข์ แตร กลองชนะ ทหารกองเกียรติยศถวายความเคารพ วงดุริยางค์บรรเลงเพลง สรรเสริญพระบารมี จบแล้วสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวางพวงมาลา ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย จากน้ันเสด็จพระราชดาเนินไปประทับรถยนต์พระท่ีน่ังในขบวนกองทหารม้าขบวนเดิม ทรงอัญเชิญ พระบรมราชสรีรางคาร อีกส่วนหน่ึงออกจากวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ไปยังวัดบวร นิเวศวิหาร โดยขบวนทหารม้านาและตามอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร โดยรถยนต์พระท่ีน่ังเข้า ประตูวัดบวรนิเวศวิหารไปยังพระอุโบสถ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองนมัสการบูชาพระ พุทธชินสีห์ พระประธานพระอุโบสถ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะพระบรมราช สรีรางคารพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ พระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ พระสงฆ์สวดมาติกา ทรง ทอดผ้าไตร พระสงฆ์ 30 รูป สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรกแล้วทรงบรรจุพระบรมราช สรีรางคารทฐ่ี านพุทธบัลลังก์พระพุทธชินสีห์ ชาวพนักงานประโคมกระทั่งมโหระทึก สังข์ แตร กลอง ชนะ ทหารกองเกียรติยศถวายความเคารพ วงดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี จบแล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวางพวงมาลา ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย แล้วเสด็จพระราชดาเนินไป ประทับรถยนตพ์ ระที่น่งั เสดจ็ พระราชดาเนนิ กลบั

พระเจ้าอยูห่ ัว รชั กาล ปจั จบุ ัน ทรงมงุ่ มัน่ เฉลมิ พระเกยี รติ พระทรงศรี พระราชพิธี ถวายพระเพลิง องค์จักรี ธ ยอมพลี อุทิศถวาย พระราชบิดา ทุกภารกิจ ธ ทรงงาน สุดกาลัง ทรงหว่ งทั้ง พสกนกิ ร ไทยทว่ั หล้า ที่มาพรอ้ ม รว่ มส่งเสดจ็ องค์ราชา มปี ัญหา ธ แก้ไข ให้โดยพลัน พระราชวงศ์ รัฐราษฎร์ และทุกฝ่าย ต่างมงุ่ หมาย ช่วยการงาน ธ มิ่งขวัญ งานสาเร็จ เสร็จสมบูรณ์ อเนกอนนั ต์ องคร์ าชัน ตรึงหวั ใจ ไทยทุกคน ประสาร ธาราพรรค์ ประพันธ์

ทรงราชย์ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคต ในวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เปน็ ทค่ี าดหมายว่าพระองค์จะสืบราชสมบัติต่อ ท้ังพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ก็ยืนยันว่าจะเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ แต่ทรงขอผ่อนผัน พล เอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี จึงเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์โดยตาแหน่งไป พลางกอ่ น วันท่ี 29 พ.ย. 59 เวลา 11.19 น. ระหว่างการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คร้ังที่ 76/2559 เป็นพิเศษ ณ รัฐสภา นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ประธานการประชุมแจ้งว่า นายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือด่วนท่ีสุดท่ี นร.0503/44549 มีเนื้อความโดย สรุปว่า พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งต้ัง สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 แล้ว ให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาเพ่ือทราบ และอัญเชิญองค์พระรัชทายาท ข้ึนทรง ราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป จากนั้นนายพรเพชรในฐานะประธานการประชุม ได้นาสมาชิกทุก คนในรัฐสภาลุกขึ้น แล้วชวนเปล่งเสียง“ขอพระองค์ทรงพระเจริญ”และให้เฉลิมพระปรมาภิไธย ว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร” อ่านว่า สม-เด็ด-พระ-เจ้า-อยู่-หัว – มะ-หา-วะ-ชิ-รา-ลง-กอน-บอ-ดิน-ทระ-เทบ-พะ-ยะ-วะ-ราง-กูน พระปรมาภิไธยภาษาอังกฤษ ว่า “His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangku เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2559 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชทานพระราชวโรกาส ใหพ้ ล.อ.เปรม ติณสลู านนท์ ผสู้ าเรจ็ ราชการแทนพระองค์, นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่ประธานรัฐสภา ประมุขฝ่ายนิติบัญญัติ พล เอกประยุทธ์จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประมุขฝ่ายบริหาร และวีระพล ต้ังสุวรรณ ประธานศาล ฎีกา ประมขุ ฝ่ายตลุ าการ เข้าเฝ้าฯ ณ พระที่นงั่ อัมพรสถาน พระราชวังดุสิตโดยนายพรเพชร วิชิตชล ชัย ได้กราบบังคมทูลเชิญข้ึนสืบราชสมบัติ จากน้ันพระองค์มีพระราชดารัสตอบรับการข้ึนทรงราชย์ ความวา่ แหง่ ชาตปิ ฏิบัตหิ น้าทป่ี ระธานสภานติ ิบัญญัติแห่งชาติ กราบบังคมทูลเชิญองค์รัชทายาท เสด็จ ฯ ขึน้ ทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ สืบราชสันตติวงศ์ ความว่า ขอพระราชทานกราบบังคมทูลทรง

ทราบ ฝ่าละอองธุลีพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ทาหน้าทีป่ ระธานรัฐสภา ขอพระราชทานพระราชวโรกาส กราบบังคมทูลในนามของปวงชน ชาวไทยวา่ โดยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบ ดนิ ทร สยามนิ ทราธิราช บรมนาถบพิตร ไดเ้ สดจ็ สวรรคต เม่ือวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2559 เวลา 15 นาฬิกา 52 นาที โดยท่ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2557 มาตรา 2 วรรค 2 ประกอบ กบั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 23 วรรค 1 ได้บัญญัติเรื่องการ สืบราชสันตติวงศ์ ว่า ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลง และในกรณีที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งต้ัง ทายาทไว้ ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 แล้ว ให้ คณะรัฐมนตรแี จ้งประธานรฐั สภาทราบ และใหป้ ระธานรฐั สภา เรยี กประชุมรัฐสภา เพื่อรับทราบ และ ให้ประธานรัฐสภาอญั เชิญองคร์ ชั ทายาทขน้ึ ทรงราชย์เปน็ พระมหากษัตริย์สืบไป และให้ประธานรัฐสภา ประกาศให้ประชาชนทราบ บัดน้ี คณะรัฐมนตรีได้แจ้งให้ประธานสภานิติบัญญัติทราบ ซ่ึงทาหน้าที่ ประธานรัฐสภาตามบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนญู ทราบ เม่ือวันท่ี 29 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559 ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงแต่งต้ัง สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นพระรัชทายาทตามกฎ มณเฑยี รบาลว่าด้วยการสืบราชสนั ตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 แล้ว ข้าพระพุทธเจ้าได้ดาเนินการ เรียกประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพ่ือรับทราบ ในคราวประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คร้ังที่ 76/2559 เป็นพิเเศษ เม่ือวันที่ 29 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559 และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้รับทราบการแต่งตั้งพระรัชทายาทแล้ว ข้าพระพุทธเจ้าประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่ ประธานรัฐสภา ในนามของปวงชนชาวไทย จึงขอพระราชทานอัญเชิญใต้ฝ่าละอองพระบาท ข้ึนทรง ราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบราชสันตติวงศ์สืบไป เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาลว่า ด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ช่ัวคราว พุทธศักราช 2557 มาตรา 2 วรรค 2 ประกอบกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 23 วรรค 1 ต้ังแต่วันพฤหัสบดีท่ี 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2559

ควรมิควร แล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า นายพรเพชร วิชิตชล ชัย ประธานสภานติ ิบญั ญตั ิแหง่ ชาติ ในการน้ี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร มีพระ ราชดารสั ตอบรบั การขน้ึ ทรงราชย์ ความว่า ตามที่ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่ ประธานรฐั สภา ไดก้ ลา่ วในนามของปวงชนชาวไทยเชิญข้าพเจ้าขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ถ้า เปน็ ไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร และ เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาลว่า ด้วยการสืบสันตติวงศ์กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยนั้น ข้าพเจ้าขอตอบรับเพ่อื สนองพระราชปณิธาน และเพือ่ ประโยชน์ของประชาชนชาวไทยทัง้ ปวง

จากน้ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 เสด็จฯ ไปประทับราบ ณ พระสุจหน่ี หน้าพระ บรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงกราบถวายบงั คม ทรงเปดิ กรวยกระทงดอกไม้ ธูปเทยี นแพ ทรงกราบราบ

พระเกยี รตยิ ศ ธรรมเนยี มพระยศของ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ธงประจาพระอสิ รยิ ยศ

ตราประจาพระองค์ ธงประจาพระองค์

ธงประจาพระองค์ขณะทย่ี ังทรงเป็นสยามมกุฎราชกุมาร พระราชอสิ รยิ ยศ สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 — 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515) สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (28 ธนั วาคม พ.ศ. 2515 — 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2559) สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู (1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 — ปจั จุบัน) เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ เครือ่ งราชอิสริยาภรณไ์ ทย พระองคท์ รงเปน็ ประธานของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ และได้รบั พระราชทาน เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ดังนี้ เคร่อื งขัตติยราชอิสริยาภรณ์อนั มเี กยี รตคิ ณุ รุ่งเรอื งยง่ิ มหาจักรบี รม ราชวงศ์ฝา่ ยหนา้ (ม.จ.ก.) เครื่องราชอสิ ริยาภรณอ์ นั เป็นโบราณมงคลนพรตั นราชวราภรณ์ (น.ร.)

เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชัน้ ปฐมจุลจอมเกลา้ วิเศษ (ป.จ.ว.) เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณอ์ นั เป็นท่ีเชิดชูย่ิงช้างเผอื ก ชนั้ สงู สุด มหาปรมาภรณช์ ้างเผอื ก (ม.ป.ช.) เคร่ืองราชอิสริยาภรณอ์ ันมีเกยี รติยศยิง่ มงกุฎไทย ช้นั สงู สุด มหาวชิรมงกุฎ(ม.ว.ม.) เครอ่ื งราชอิสริยาภรณอ์ นั เปน็ ทส่ี รรเสริญยิง่ ดเิ รกคณุ าภรณ์ ชนั้ 1 ปฐมดเิ รกคณุ าภรณ์ (ป.ภ.) เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์อนั เป็นสิริย่งิ รามกีรติ ลูกเสอื สดุดีชั้นพิเศษ เหรียญกลา้ หาญ เหรียญพทิ กั ษ์เสรชี น ชนั้ ท่ี 1 (ส.ช.1) เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.) เหรียญจกั รมาลา (ร.จ.ม.) เหรียญรตั นาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชน้ั 1 (ภ.ป.ร.1) เหรียญราชรจุ ิ ทอง รัชกาลที่ 9 (ร.จ.ท.9) เหรียญกาชาดสมนาคณุ ช้ันท่ี 1 เครื่องราชอิสริยาภรณต์ ่างประเทศ มาเลเซยี พ.ศ. 2543 Order of the Defender of the Realm ช้ัน Grand Commander เยอรมนี พ.ศ. 2527 เครอื่ งอิสริยาภรณ์คณุ ธรรมแห่งสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีชนั้ Knight Grand Cross

เนปาล พ.ศ. 2529 Order of Ojaswi Rajanya ชน้ั Member สเปน พ.ศ. 2530 Royal and Distinguished Spanish Order of Charles III ชน้ั Knight Grand Cross Family Order of Brunei 2nd Class - บรไู น พ.ศ. 2533 Darjah Kerabat Seri Utama Yang Amat Dihormati - D.K. (Seri Utama) ญ่ปี ุน่ พ.ศ. 2534 เครือ่ งราชอิสริยาภรณอ์ ันสูงส่งยิง่ ดอก เบญจมาศ ประเทศญปี่ ุ่น สหราช พ.ศ. 2539 Royal Victorian Order ชัน้ Honorary Dame อาณาจกั ร Grand Cross เดนมารก์ พ.ศ. 2544 เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ชา้ ง ชั้น อัศวนิ เนเธอรแ์ ลนด์ พ.ศ.2547 Order of the Crown ช้ัน Grand Cross รัฐตรังกานู Most Distinguished Family Order of Terengganu ช้ันทีส่ อง พระยศทหาร สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ฯ กองทพั บกไทย, กองทัพเรือไทย, กองทพั อากาศไทย และกองอาสารักษาดนิ แดน ปปี ฏบิ ตั หิ นา้ ที่ พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน พ.ศ. 2535 – ปจั จุบนั พ.ศ. 2535 – ปัจจบุ นั พ.ศ. 2535 – ปจั จบุ นั

ช้ันยศ พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ พระยศทางทหาร - พ.ศ. 2508 ร้อยตรี เหลา่ ทหารราบ เรอื ตรี พรรคนาวนิ เรืออากาศตรี เหล่าทหารนกั บนิ และนายทหารพิเศษประจากรมทหารราบท่ี 1 มหาดเลก็ รักษาพระองค์ นายทหารพเิ ศษประจา กองทัพเรือ และนายทหารพเิ ศษประจาโรงเรยี นนายเรอื อากาศ - พ.ศ. 2514: ร้อยโท เรือโท และ เรอื อากาศโทพ.ศ. 2518: รอ้ ยเอก เรือเอก และ เรือ อากาศเอก และ นายทหารประจากรมข่าวทหารบกกองทัพบก กระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2520: พันตรี นาวาตรี และ นาวาอากาศตรี - พ.ศ. 2521: รองผ้บู งั คับกองพนั ทหารมหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ - พ.ศ. 2523: พันโท นาวาโท และ นาวาอากาศโท และ ผู้บงั คับกองพัน กรมทหาร มหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และ นายทหารพิเศษประจา กรมนกั เรียนนายเรือ รักษาพระองค์ กรมยุทธศกึ ษา โรงเรยี นนายเรอื ประจากองบงั คับการกรม ทหารราบท่ี 3 รักษาพระองค์ กรมนาวิกโยธิน ประจากรมนักเรยี นนายเรอื อากาศ รักษาพระองค์ กรมยุทธศกึ ษา โรงเรียนนายเรอื อากาศ และ ประจากองพันทหารอากาศโยธินท่ี 1 รักษาพระองค์ พ.ศ. 2524: นายทหารพเิ ศษประจากรมทหารราบท่ี 11 รกั ษาพระองค์ - พ.ศ. 2525: นายทหารพิเศษประจากรมนกั เรียนนายร้อยรกั ษาพระองค์ โรงเรยี นนายรอ้ ย พระจลุ จอมเกล้า และ นายกองเอก กองอาสารกั ษาดนิ แดน สานกั อานวยการกองอาสารักษาดนิ แดน - พ.ศ. 2526: พันเอก นาวาเอก และ นาวาอากาศเอก - พ.ศ. 2527: ผู้บงั คับการ กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ - พ.ศ. 2529: ผ้บู งั คับการพิเศษ ประจากรมรบพเิ ศษที่ 1 กองพลรบพิเศษท่ี 1 หนว่ ย บญั ชาการสงครามพิเศษ - พ.ศ. 2530: พลตรี พลเรอื ตรี และ พลอากาศตรี และผ้บู งั คับการ กรมทหารมหาดเล็ก ราชวัลลภรกั ษาพระองค์ - พ.ศ. 2531: พลโท พลเรอื โท และ พลอากาศโท และผ้บู ญั ชาการ หน่วยบัญชาการทหาร มหาดเล็กราชวัลลภ รกั ษาพระองค์ - พ.ศ. 2534: นายทหารพิเศษประจากรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 12 รักษาพระองค์ กรมทหาราบท่ี 21 รักษาพระองค์ กรมทหารราบท่ี 31 รักษาพระองค์ กองพนั ทหารม้าท่ี 4 รักษาพระองค์ กรมทหารปนื ใหญท่ ี่ 1 รักษาพระองค์ และกองพันทหารชา่ งท่ี 1 รักษาพระองค์ - พ.ศ. 2535: พลเอก พลเรือเอก และ พลอากาศเอก ผบู้ ัญชาการ หน่วยบญั ชาการถวาย ความปลอดภัย สานักผบู้ ัญชาการทหารสูงสุด และ นายกองใหญ่ กองอาสารักษาดนิ แดน สานัก อานวยการกองอาสารกั ษาดินแดน - พ.ศ. 2547: นายทหารพเิ ศษประจากองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบท่ี 1 มหาดเล็ก รักษาพระองค์

- พ.ศ. 2548: นายทหารพิเศษประจากรมทหารชา่ งที่ 1 รกั ษาพระองค์ กองพนั ทหารชา่ งที่ 2 รักษาพระองค์ และกองพนั ทหารสอ่ื สารที่ 1 รกั ษาพระองค์ ประสบการณ์ทางด้านการทหาร - เดือนมกราคม ถงึ เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2519 ทรงเข้ารับการฝึกเพม่ิ เติม และศกึ ษางานดา้ น การทหาร ณ เครอื รัฐออสเตรเลีย ทรงเข้ารับการฝึกหลกั สตู รวชิ าอาวธุ พิเศษ การทาลายและยุทธวิธี รบนอกแบบ หลักสูตรต้นหนช้นั สูง หลกั สูตรการลาดตระเวน และตน้ หนชน้ั สูง รวมท้ังหลกั สูตรสง่ ทางอากาศ - พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2523 ทรงเข้ารบั การฝึกหลักสูตรการฝกึ บนิ เฮลคิ อปเตอร์ใชง้ าน ท่ัวไป แบบ ยู เอซ–1 เอซ ของบริษทั เบลล์ รวมช่ัวโมงบิน 54.36 ชัว่ โมง เดอื นกมุ ภาพันธ์ ถงึ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2523 ทรงเขา้ รับการฝกึ ตามโครงการชว่ ยเหลอื ทางทหาร กองทัพบก สหรฐั อเมริกา รวม 6 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรอาวุธประจากายและเครอ่ื งยิงลูกระเบดิ หลักสตู ร การปฏบิ ตั กิ ารพิเศษ หลกั สตู รการตอ่ ต้านการก่อการร้าย หลักสูตรการสงครามแบบกองโจร หลักสูตรการฝกึ การดารงชีพ และหลกั สูตรส่งทางอากาศ (ทางบกและทางทะเล) เดอื นมถิ นุ ายน ถงึ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2523 ทรงเขา้ รบั การฝึกหลักสูตรการฝกึ บินเฮลิคอปเตอรใ์ ช้งานทว่ั ไป แบบ ยู เอซ–1 เอซ กบั เฮลคิ อปเตอร์ใชง้ านท่ัวไป แบบ ยู เอซ–1 เอ็น ของบรษิ ทั เบลล์ รวมช่วั โมงบิน 259.560 ชั่วโมง - เดอื นกนั ยายน ถงึ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2523 ทรงเขา้ รบั การฝึกหลกั สูตรการฝกึ บนิ เฮลคิ อปเตอรโ์ จมตี ติดอาวธุ แบบ ยู เอซ–1 เอซ ของบริษัทเบลล์ จากกองทัพไทย รวมชั่วโมงบิน 54.50 ช่ัวโมง - เดือนธันวาคม พ.ศ. 252 ถึง พ.ศ. 2524 ทรงเขา้ รับการฝึกหลักสูตรการฝึกบินเคร่ืองบนิ ปีกติดลาตัว แบบ Sial–Marchetti SF 120 MT รวมชัว่ โมงบนิ 172.20 ชวั่ โมง - เดือนมีนาคม ถงึ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2524 ทรงเข้ารบั การฝกึ หลกั สูตรการฝึกบนิ เคร่ืองบนิ ปกี ตดิ ลาตวั แบบ Cessna T–37 รวมช่ัวโมงบนิ 240 ชว่ั โมง - เดอื นตุลาคม ถงึ เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2524 เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทอดพระเนตรกจิ การ ทางทหารและตารวจ ณ สหราชอาณาจกั ร ราชอาราจักรเบลเยียม ราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี สาธารณรฐั ฝรงั่ เศส และเครือรัฐออสเตรเลยี

- เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2525 ถึง พ.ศ. 2526 ทรงเข้ารบั การฝกึ หลักสตู รการฝึกบนิ เปล่ียนเปน็ เคร่ืองบินขบั ไล่ แบบ เอฟ–5 (พเิ ศษ) รุ่นท่ี 83 (พุทธศกั ราช 2526) เอ ที ดับเบลิ ยู และหลกั สูตรเครื่องบินขบั ไล่ชน้ั สงู ร่นุ ท่ี 83 (พุทธศักราช 2526) เอ วี ดับเบิลยู ณ ฐานทพั อากาศ วลิ เลียมส์ รฐั อริโซนา สหรฐั อเมรกิ า รวนชว่ั โมงบิน 2,000 ชัว่ โมง - พ.ศ. 2532 ทรงผา่ นการฝึกบินด้วยเครือ่ งบนิ ใบพดั แบบมาร์คเคตต้ีของฝูงขั้น ปลาย โรงเรียนการบิน กองทพั อากาศ และการฝกึ บนิ ด้วยเครอื่ งบินไอพน่ แบบ ที 33 และ หลักสูตรนกั บินขับไลไ่ อพ่นสมรรถนะสูงกบั เคร่อื งบิน ขบั ไล่ แบบ เอฟ 5 อี/เอฟ ของกองบนิ 1 ฝูงบนิ 102 โดยทรงทาชั่วโมงบิน 200 ชั่วโมง ในเบื้องตน้ และทรงทาช่วั โมงบนิ สงู สุด 1,000 ชัว่ โมง และทรงเข้าร่วมการแขง่ ขันการใชอ้ าวธุ ทางอากาศประจาปี ซึ่งทรงทาคะแนนไดส้ ูงตามกติกา กองทพั อากาศไดท้ ูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายเคร่ืองหมายความสามารถในการใช้อาวธุ ทางอากาศช้ันที่ 1 ประเภทอาวธุ ระเบิดส่ีดาว อาวุธจรวดสี่ดาว และอาวุธปนื ส่ดี าว ในศกเดียวกนั - เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2547 ทรงเข้ารับการฝกึ หลักสตู รการในฐานะนักบินโบอิ้ง 737– 400 จากบรษิ ทั การบนิ ไทย จากัด (มหาชน), และทรงผ่านการตรวจสอบจากการขนสง่ ทางอากาศ กับทรงไดร้ ับใบอนุญาตนกั บนิ พาณิชย์เอก- เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ทรงเขา้ รับการฝึกหลกั สตู ร กปั ตัน จากบริษัท การบินไทย จากดั และทรงรับการทลู เกล้าทลู กระหม่อม ถวายตาแหนง่ นักบนิ ท่ี 1 ใน พ.ศ. 2549 ทง้ั น้ี ทรงปฏิบัติหนา้ ที่นกั บินที่ 1 อยา่ งดีเย่ียมสมา่ เสมอ รวมช่ัวโมงบนิ 3,000 ชวั่ โมง - เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2552 กรมการขนส่งทางอากาศได้ทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวาย ใบรบั รองในตาแหน่งครฝู ึกภาคอากาศกับตาแหนง่ ครูฝึกเครอื่ งช่วยฝกึ บิน สาหรับเคร่ืองบนิ โบอิง 737–400 พระราชกรณียกจิ การแพทย์ และการสาธารณสขุ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงตระหนักว่าสุขภาพ พลานามัยอันดีของประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญของการสร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคล จึงทรงสนพระราช หฤทัยในการประกอบพระราชกณียกิจ ในด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เมื่อครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร โปรดให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึ้น เพ่ือให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยใน ถิ่นทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระองค์มีพระราชปณิธานให้เอาใจใส่รักษาพยาบาลพสกนิกรของพระองค์ให้ปลอดภัยจากค วามเจ็บไข้ โดยท่ัวหน้าเสมอกัน ทรงตระหนักว่า สุขภาพพลานามัยอันดีของประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญของการ สร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคลอันมีคุณภาพไว้เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ จึงทรงสนพระราชหฤทัยใน การประกอบพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น เม่ือรัฐบาลได้น้อมเกล้าฯถวาย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช เนื่องในพระราชพิธีอภิเษกสมรสจานวน 21 แห่ง ทั่วทุกภูมิภาคของ ประเทศ พระองค์ก็ได้ทรงพระอุตสาหะเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมโรงพยาบาลสม่าเสมอ พระราชทานพระราชทรัพย์สนับสนุนให้มีอุปกรณ์การแพทย์ เครื่องมือเคร่ืองใช้ท่ีทันสมัยเพื่อสามารถ ให้บริการท่ีดีแก่ประชาชนและเม่ือ พ.ศ. 2537 ทรงรับเป็นประธานกรรมการอานวยการจัดสร้าง อาคารศูนย์โรคหัวใจ สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ เปน็ ตน้ ด้านการศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลทหารมหาดเลก็ ราชวัลลภ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ฯเม่ือคร้ังยังเป็นสมเดจ็ พระบรม โอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร พระองคพ์ ระราชทานพระราชานญุ าตใหใ้ ช้อาคารของกรมทหาร มหาดเล็กราชวัลลภรกั ษาพระองค์ เปน็ ท่ตี ้งั ของโรงเรียนอนุบาลชื่อวา่ โรงเรยี นอนบุ าลทหารมหาดเล็ก ราชวัลลภ โดยในระยะแรกไดจ้ ัดการเรียนการสอนเฉพาะชน้ั อนบุ าล ต่อมา โรงเรียนได้ย้ายไปที่ จังหวดั นนทบุรี และได้รบั พระราชทานชอื่ ใหม่ว่า โรงเรียนอนรุ าชประสทิ ธ์ิ

ทรงจัดตงั้ โครงการทุนการศึกษาพระราชทานด้วยทรงมีพระราชปณธิ านในการสร้างโอกาสทาง การศึกษาแก่เยาวชนไทย และในปี 2553 มีพระราชดาริให้จัดตั้งมูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารข้ึน โดยทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการ ซึ่งท่ี ผ่านมานักเรียนทุนพระราชทานทุกรุ่นเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีอัตราสูงกว่า รอ้ ยละ 97 โดยผไู้ ด้รบั ทนุ พระราชทานไม่มีภาระผกู พนั ทต่ี อ้ งใช้ทนุ คืน และเมื่อจบการศึกษา ทรงเปิด โอกาสใหส้ มัครเขา้ ถวายงานเปน็ ข้าราชบรพิ ารในพระองค์ไดต้ ามความ นอกจากนี้ ทรงทราบดวี ่าเยาวชนในถิ่นทุรกันดารยงั ดอ้ ยโอกาสในการศึกษา ทรงพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สมทบเป็นค่าก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษา ท่ีตั้งอยู่ในชนบทห่างไกล คมนาคมไม่สะดวก กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)ได้สนองพระราชประสงค์ด้วยการน้อมเกล้าฯ ถวายโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาจานวน 6 โรงเรียน เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ ได้แก่ (1)

โรงเรยี นมัธยมพชั รกิตยิ าภา อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม (ปัจจุบันเปล่ียนช่ือเป็น โรงเรียนมัธยม พชั รกิตยิ าภา 1 นครพนม), (2) โรงเรียนมัธยมจฑุ าวัชร อาเภอลานกระลอื จังหวัดกาแพงเพชร (ปัจจุบันเปล่ียนช่ือเป็น โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 2 กาแพงเพชร), (3) โรงเรียนมัธยมวัชเรศร อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี), (4) โรงเรียนมัธยมจักรีวัชร อาเภอรัตนภูมิ จังหวัดสงขลา (ปัจจุบันเปล่ียนเป็นชื่อ โรงเรยี นมัธยมสิริวัณวรี 2 สงขลา), (5) โรงเรียนมัธยมวัชรวีร์ อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา (ปัจจุบนั เปลย่ี นชื่อเปน็ โรงเรยี นมัธยมสริ วิ ัณวรี 3 ฉะเชิงเทรา) และ (6) โรงเรียนมัธยมบุษย์น้าเพชร อาเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบันเปล่ียนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 1 อุดรธานี) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูฯร เม่ือครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมเยาวชนในตาบลต่าง ๆ ทรงสนับสนุน การจัดต้ังศูนย์เยาวชนตาบล รวมท้ังได้ทรงเป็นประธานงานวันเยาวชนแห่งชาติ วันที่ 20 กันยายน ของทุกปี และทรงเป็นประธานในพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามของลูกเสือและเนตรนารี และสมาชิก ผูท้ าประโยชน์ ทง้ั นีพ้ ระองค์ได้ทรงอปุ การะเด็กกาพร้า คอื จกั รกฤษณ์ และอนุเดช ชูศรี ที่ครอบครัว เสยี ชีวิตจากภเู ขาถลม่ เมอ่ื พ.ศ. 2554 รวมทัง้ ครอบครัวของบูรฮาน และบศุ รินทร์ หร่ายมณี ซ่ึงบิดา ถูกลอบสังหารจากเหตุความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจะทรงอุปการะจนกว่าจะสาเร็จ การศึกษาปรญิ ญาตรีหรอื จนกวา่ จะมอี าชพี สามารถเลี้ยงครอบครัวได้ เป็นต้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เม่ือครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มีพระราชดาริให้ดาเนินโครงการทุนการศึกษาสมเด็จพระบรม โอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร ข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2552 ด้วยพระราชปณิธานที่มุ่งสร้างความรู้ สร้าง โอกาสแก่เยาวชนไทยท่ีมีฐานะยากจน ยากลาบาก แต่ประพฤติดี มีความสามารถในการศึกษา ให้ ได้รับโอกาสทางการศึกษาทม่ี ่นั คงตอ่ เน่อื งในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสาเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี ตามความสามารถของแต่ละคน เป็นการลงทุนเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและ ศักยภาพแกเ่ ยาวชนไทย

ต่อมาใน พ.ศ. 2553 มีพระราชดารใิ หจ้ ัดตัง้ มูลนิธทิ นุ การศกึ ษาพระราชทานสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ.) ข้ึน โดยทรงเป็นองค์ประธานกรรมการ และทรงให้นา โครงการทุนการศึกษาสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มาอยู่ภายใต้การดาเนินงาน ของมูลนิธิฯ เพื่อให้เกิดความต่อเน่ืองและย่ังยืนสืบต่อไป ปัจจุบันมีนักเรียนทุนพระราชทานฯ ใน โครงการท้ังสิ้นจานวน 9 รุ่น เพ่ือให้เยาวชนใช้ความรู้ประกอบอาชีพเล้ียงตนและครอบครัวได้เม่ือจบ การศึกษา ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมโรงเรียนในพระบรมราชานุเคราะห์ ทรงติดตามผล การศึกษาและโปรดเกลา้ ฯให้พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์ เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ พระราชธิดาท้ังสองพระองค์ทรงร่วมกิจกรรมของโรงเรียนต่างๆ เสมอท้ังน้ีด้วย น้าพระหฤทยั ที่ทรงพระเมตตาหว่ งใยเยาวชนผู้ด้อยโอกาส ในด้านอดุ มศึกษา พระองคไ์ ด้ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดาเนินแทนพระองคไ์ ปพระราชทาน ปรญิ ญาบัตรแก่บณั ฑิตของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ปีละเป็นจานวนมากทกุ ปี พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา เม่ือวันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 260 บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) จัดงานแจก รางวัล “เซเว่นบุ๊คอวอร์ด” มีศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย เป็นประธาน ก่อนแจกรางวัล

คุณหมอเกษมได้อัญเชิญพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัววชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ซึ่งคุณหมอเกษมได้บันทึกไว้มาเสนอในท่ีประชุม เป็นพระบรมราโชบายที่ครู ทกุ คนควรทราบและน้อมนามาปฏิบัติ ดิฉันจึงขอนามาเผยแพร่ใหค้ รูทง้ั หลายได้ทราบดังน้ี การศึกษาต้องมงุ่ สร้างพืน้ ฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง ข้อนี้มีคา ขยายว่า ต้องมีความรู้ความเข้าใจท่ีมีต่อชาติบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา ม่ันคงในสถาบัน พระมหากษัตริย์ และมีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคง มี คุณธรรม ข้อนี้มีคาขยายว่า ให้รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ที่ถูก สิ่งชั่ว-สิ่งดี เพื่อปฏิบัติแต่ส่ิงที่ชอบที่ดีงาม ปฏิเสธสิ่งที่ผิดที่ช่ัว เพ่ือสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง มีงานทา มีอาชีพ ข้อน้ีมีคาขยายว่า ต้องให้เด็ก รักงาน สงู้ าน ทางานจนสาเร็จ อบรมให้เรียนรู้การทางาน ให้สามารถเล้ียงตัวและเลี้ยงครอบครัวได้ เป็นพลเมืองดี ข้อน้ีมีคาขยายว่า การเป็นพลเมืองดีเป็นหน้าที่ของทุกคน สถานศึกษาและสถาน ประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทาหน้าที่พลเมืองดี การเป็นพลเมืองดีหมายถึงการมีน้าใจ มีความเอื้ออาทร ตอ้ งทางานอาสาสมคั ร งานบาเพญ็ ประโยชน์ “เห็นอะไรท่ีจะทาเพื่อบ้านเมืองได้ ก็ตอ้ งทา” พระบรมราโชบายทัง้ หมดนี้ ไม่ใช่สง่ิ ท่ียากเกินกว่าครูจะทาและส่ังสอนศิษย์ให้ทาได้ หากครู ตง้ั ใจสร้างศิษย์ให้ได้ผลตามพระบรมราโชบายท้ัง 4 ข้อน้ีก็จะทาให้ชาติบ้านเมืองเจริญ ไม่มีคนท่ีนิ่ง ดูดายปลอ่ ยใหเ้ กิดความชวั่ ความไม่ดีในบ้านเมอื ง ท่ีสาคัญประการหนึ่งคือ การรู้จักแยกแยะส่ิงท่ีถูกที่ ผิด สิ่งที่ดีที่ช่ัว และเลือกรับเลือกทาแต่ทางที่ถูกที่ดี เด็กไทยควรรู้จักใช้วิจารณญาณของตน ไม่ ตามแฟชัน่ ตามสงั คมโดยไร้สติ. อีกประการหนึ่งที่ควรน้อมนามาใส่เกล้าฯ คือ พระบรมราโชบายท่ีว่า เห็นอะไรท่ีควรทาเพ่ือบ้านเมืองก็ต้องทา คนไทยเห็นอะไรท่ีควรทาเพ่ือบ้านเมืองก็ต้องลงมือทา ไม่ ปล่อยใหผ้ ่านไปด้วยความคดิ ว่า “ธรุ ะไม่ใช่” ดา้ นการพระศาสนา

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ได้ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธ มามกะท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงศกึ ษาตอ่ ทป่ี ระเทศอังกฤษ อีกท้ังเมื่อครัง้ ยงั เปน็ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงประเคนผ้า ไตร ประกาศนียบัตร และพัดยศ ในการต้ังภิกษุและสามเณรเปรียญ เน่ืองในการพระราชพิธีทรง บาเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง พ.ศ. 2551 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เม่ือคร้ังยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดาเนินไปทรงศึกษาต่อท่ีประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ มีพระราชศรัทธา ออกบวชในพระพทุ ธศาสนา โดยพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช โปรดให้จัดการพระ ราชพิธีผนวช ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 โดยมี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระ ญาณสงั วร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก) ถวาย อนุสาสน์ได้รับถวายพระสมณนามว่า \"วชิราลงฺกรโณ\" และได้ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศ วหิ าร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 นอกจากนั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ยังเสด็จพระราชดาเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯไปปฏิบัติพระราชกิจทางพระพุทธศาสนาอย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะเม่ือคร้ังยัง เป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เช่น เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรง เปล่ียนเคร่อื งทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระ ราชดาเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปทรงบาเพ็ญพระราชกุศลในวัน สาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่นวันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการถวายผ้าพระ กฐนิ หลวงตามวดั ต่าง ๆ เป็นตน้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ ด้านศาสนาหลังจากเสด็จข้ึนทรงราชย์แล้ว คือ ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน เนื่องในวัน คล้ายวนั เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ทรงพระราชอนุสรณ์คานึงถึงสมเด็จพระบรม ชนกนาถ และโปรดเกล้าฯ สถาปนาอิสริยยศ และเลื่อนอิสริยฐานันดรพระสงฆ์ท่ีดารงอยู่ในสมณคุณ และมีอุปการะยิ่งแก่การพระศาสนาดังกล่าวสูงข้ึน เพ่ือจักได้บริหารพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสถาพร ตามโบราณราชประเพณี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหา มุนีวงศ์ข้ึนเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ท่ี 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เม่ือวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม รวมทั้งยังทรงสถาปนาสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (อัมพร อมฺพโร) ข้ึนเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ท่ี 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้เสด็จพระราช ดาเนินไปประกอบพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 หลายคร้ังได้โดยเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมและมีพระราชปฏิสันถารพระภิกษุชั้นผู้ใหญ่ อาทิ เมื่อวันท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2526 โดยเสด็จไปเยี่ยมอาการอาพาธหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง ต.แม่ป๋ัง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ หรือเม่ือวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ มีพระราชปฏิสันถารกับพระเทพวิทยาคม (คูณ ปริสุทโธ) ในโอกาสเสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงเปิดวิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูน ปริสทุ โธ ต.ด่านขนุ ทด อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา นอกจากนั้นพระองค์ยังให้การสนับสนุนกิจกรรมของศาสนาอ่ืนอาทิศาสนาอิสลาม โดย พระองค์เสด็จฯไปเป็นประธานในพิธี พระราชทานรางวัลแก่ผู้ชนะ การทดสอบ การอัญเชิญพระมหา คัมภรี ์อลั กุรอานระดับประเทศ ดา้ นการกฬี า

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เมื่อครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร ทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจ ทั้งในฐานะผู้แทนพระองค์และในส่วน ของพระองค์เองนานัปการ เช่น การพระราชทานไฟพระฤกษ์ กีฬาเยาวชนแห่งชาติ พระราชทานพระ ราชวโรกาสให้นักกีฬาไทยผู้นาความสาเร็จนาเกียรติยศมาสู่ประเทศชาติ เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทรับ พระราชทานรางวัลนักกีฬายอดเยี่ยม รับพระราชทานพร และทรงแสดงความชื่นชมยินดี ซึ่งนักกีฬา ของไทยต่างสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ มีความปลาบปล้ืมในสิริมงคลและมีขวัญกาลังใจที่จะนา ความสาเร็จและนาเกียรติยศมาสู่ตนเอง สู่วงศ์ตระกูล และประเทศชาติต่อไป และเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 ได้เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงประกอบพิธีเปิดกีฬาเอเช่ียนเกมส์ ทาให้ นักกีฬามีขวัญและกาลังใจในการแข่งขัน ประสบชัยชนะนาเหรียญรางวัลมาสู่ประเทศไทยเป็นจานวน มาก สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ฯเมอื่ ครง้ั ยงั เป็นสมเดจ็ พระบรม โอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร ทรงปนั่ นาขบวน Bike for Mom ป่นั เพอื่ แม่ ในปี พ.ศ. 2558 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระราชปณิธาน ที่จัดกิจกรรมจักรยานถวายพระเกียรติ และถวายความจงรักภักดีเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระ ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยได้ทรงจักรยานพระท่ีนั่งนา ประชาชนทั่วประเทศปั่นจักรยานในกิจกรรม Bike for Mom - ปั่นเพ่ือแม่ จัดกิจกรรมวันท่ี 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 และกิจกรรม Bike for Dad – ปั่นเพื่อพ่อ จัดกิจกรรมวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ในกิจกรรมประชาชนได้ร่วมใจกันแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษตั รยิ ์ ตลอดเส้นทางมีพสกนิกรเฝา้ รบั เสดจ็ อยา่ งเนืองแน่น

ด้านสังคมสงเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ เม่ือคร้ังยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณาห่วงใยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะเยาวชนท่ีด้อยโอกาสและขาดแคลน ได้ทรงพระอุตสาหะเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียม ชุมชนแออัดในกรุงเทพฯหลายแห่ง เช่น ชุมชนแออัดเขตพระโขนง เขตคลองเตย เขตยานนาวา เป็น ต้น ทรงพระกรุณาพระราชทานเคร่ืองอุปโภคบริโภค เคร่ืองกีฬา เครื่องดับเพลิง โปรดเกล้าฯให้กรม ทหารในบังคับบัญชาของพระองค์ ร่วมกับประชาชนพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทั้งยังพระราชทานพระราช ทรัพย์สนับสนนุ โครงการของชมุ ชน เช่น โครงการพัฒนาเด็กเล็กท่ีขาดแคลน โครงการปราบปรามยา เสพติดในหมู่เยาวชนชุมชนแออัดคลองเตย เพ่ือให้เยาวชนผู้ด้อยโอกาสเหล่านั้นเติบโตเป็นพลเมืองดี และเป็นทรัพยากรบคุ คลทมี คี ุณค่าในพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต ดา้ นเกษตรกรรม

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯเม่ือคร้ังยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร สยามมกฎุ ราชกุมาร ได้ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อส่งเสริม ด้านการเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพหลัก ของปวงชนชาวไทยตลอดมา เช่น เสด็จพระราชดาเนินแทน พระองค์ในการพระราชพิธีพืชมงคล ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นประจา และ เมื่อวันท่ี 23 มีนาคม 2529 ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงทาปุ๋ยหมักเป็นปฐมฤกษ์จากผักตบชวาและพืชอ่ืน ๆ ณ บ้านแหลม สะแก ตาบลเดิมบาง อาเภอ บางนางบวช ทรงมีพระราชดาริให้จัดต้ังโครงการคลินิก เกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ต้ังแต่ พ.ศ. 2545 เพื่อช่วยเหลือราษฎรในท้องถิ่นให้ได้มี เทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ และนามาปรบั ปรงุ งานเกษตรกรรมของตนให้ได้ผลผลิตมากข้ึน และได้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเปน็ ประธานในการทานาสาธติ โดยใช้ปุ๋ยหมัก ณ ตาบลดอนโพธิ์ทองอาเภอ เมือง จังหวัด สุพรรณบุรี เมื่อวันท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2529 ในการนี้ ได้ทรงปฏิบัติการสาธิตการ ทานาด้วยพระองค์เอง เม่ือพระราชทานอุปกรณ์ การทานา พันธ์ข้าวปลูก และปุ๋ยหมักให้ข้าราชการ ผ้ใู หญไ่ ปดาเนนิ การสาธิตแล้ว ได้ทรงถอดฉลองพระบาท ถลกพระสนับเพลา ทรงพระดาเนินลุยโคลน หว่านพันธ์ข้าวปลูกและปุ๋ยหมักในแปลงนาสาธิต โดยมิได้มีกาหนดการไว้ก่อน ยังความชื่นชมโสมนัส ปลาบปลมื้ ปิติและซาบซง้ึ ในพระราชจริยวัตรแก่บรรดาข้า ราชการและประชาชนที่มาเฝ้าทูลละอองพระ บาทในพิธีการวันนั้นเป็นอย่างยิ่ง นอกจากน้ีพระองค์ยังมีพระราชดาริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนา แหล่งน้าใน หลายพื้นที่ เช่น ศูนย์การเรีนรู้และพัฒนาด้านการเกษตรกรรมเกษตรวิชญา บ้านกอง แหะ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พุทธศักราช 2545 ทรงมีพระชนมายุครบ 50 พรรษา ได้ทรง รับโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีไว้ในพระราชานุเคราะห์และทรงพระราชานุญาตให้อัญเชิญพระ นามาภิไธยยอ่ ไว้ในเคร่ืองหมายตราสัญลักษณ์โครงการ ด้วยทรงประสงค์จะให้บริการแก่เกษตรกร ใน การแก้ไขปัญหาด้านการผลิตทางการเกษตรได้อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ และมีประสิทธิภาพ ต่อมา ในปี 2549 ได้พระราชทาน ท่ีดินส่วนพระองค์ในพื้นท่ีสวนบ้านกองแห หมู่ท่ี 4 ตาบลโป่งแยง อาเภอแมร่ ิม จงั หวดั เชยี งใหมจ่ านวน 1,350 ไร่ ใหก้ บั กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เพ่ือพัฒนาเป็น ศูนย์เรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงบน พ้ืนท่ีสูงให้แก่เกษตรกรอย่างครบวงจรประจาภาคเหนือ ภายใต้ ชอ่ื โครงการเกษตรวชิ ญา อันเปน็ การสานตอ่ พระราชดาริในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 9 ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการตา่ งประเทศ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯเม่ือครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงตระหนักดีว่าการมีสัมพันธไมตรีอันดีกับมิตรประเทศ เป็น รากฐานสาคัญของความสงบสุขและความม่ันคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พระองค์ทรงพระวิริยะ อุตสาหะประกอบพระราชกรณียกิจสาคัญๆ ในการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ เสมอมา ได้ เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยือนมิตรประเทศทั่วทุกทวีปอย่างเป็นทางการเป็นประจาทุกปีปีละหลาย ครั้งเช่น เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยือนประเทศอิตาลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อิหร่าน เนปาล สาธารณรฐั สังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา สาธารณรัฐเปรู ออสเตรเลีย สิงคโปร์ นอกจาก จะมุ่งเจริญสัมพันธไมตรีแล้ว ยังทรงสนพระราชหฤทัยในการทอดพระเนตรและศึกษากิจการต่างๆ ที่ จะทรงนาประโยชน์มาใช้ในการพัฒนาประเทศไทย เช่น เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมชมกิจการทหาร ศิลปวัฒนธรรม อุตสาหกรรมและความเป็นอยู่ของประชาชน อีกทั้งทรงให้การต้อนรับราชอาคันตุกะ อาคนั ตกุ ะทม่ี าเย่ยี มเยอื นประเทศไทยอยา่ งสมพระเกียรติ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ฯ รบั เสดจ็ สมเดจ็ พระจกั รพรรดิอากฮิ ิโตและพระราชินี อย่างสมพระเกียรติ เมื่อวันท่ี 14 กันยายน พ.ศ. 2525 ระหว่างวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ ถึง 8 มีนาคม พ.ศ. 2530 เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ทรงพบนายเติ้ง เส่ียวผิง ณ มหาศาลาประชาคม กรุงปักกิ่ง เสด็จพระราชดาเนินทรงเยือนประเทศญ่ีปุ่น ทรงพบ สมเด็จพระจักรพรรดิ และสมเดจ็ พระจักรพรรดนิ ี เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2530ประเทศต่างๆที่ เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเจริญสัมพันธไมตรีในฐานะผู้แทนพระองค์และในส่วนของพระองค์เอง มีอีก เป็นจานวนมากเช่น ประเทศอิหร่าน ประเทศเนปาล สาธารณรัฐสังคมนิยมศรีลังกา สหพันธ์ เอกวาดอร์ สาธารณรัฐเฮอลนิก(กรีซ)ประเทศออสเตรเลีย และเม่ือวันท่ี 2-4 กรกฏคม พ.ศ. 2542 ได้เสดจ็ พระราชดาเนินพร้อมด้วยพระราชธิดาทั้งสองพระองค์ ไป ทรงเยือนประเทศสิงคโปร์อย่างเป็น ทางการในการเสดจ็ พระราชดาเนินไปทุกครัง้ ต้องทรงเตรียมพระองค์ด้วยการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ ประเทศที่จะทรงเสดจ็ ไปทรงเยือน และระหว่างประทับอยู่ในประเทศน้ันๆ นอกจากทรงมุ่งม่ันท่ีจะทรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook